SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
หลอดลมมีหน้าที่สาหรับเป็นทางผ่านของอากาศเข้าออกจากปอด ถ้าทางเดินนีถู้กอุดตันจะทาให้ขาดออกซิเจน 
เกิดอาการหน้าเขียว (Asphysia) และอาจถึงตายได้ 
หลอดลม เป็นส่วนหนึ่งของระบบทางเดินหายใจ มีหน้าทหี่ลัก คือ 
การนาส่งอากาศจากภายนอกร่างกายเข้าสู่ปอดเพื่อทา หน้าทใี่นการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนเข้าสู่เลือด และนาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่า 
งกาย หลอดลมของมนุษย์เริ่มตั้งแต่ส่วนที่ต่อจากกล่องเสียง (Larynx) ลงไปสิ้นสุดที่ถุงลม 
หลอดลม 
หลอดลม มีชอื่เรียกแตกต่างกนัตามขนาดและตา แหน่ง ได้แก่ 
1. หลอดลมใหญ่ (Trachea) เป็นส่วนทอี่ยู่ต่อจากกล่องเสียงยาวลงไปจนถึงจุดทแี่ยกเข้าสู่ปอดด้านซ้ายและด้านขวา 
2. หลอดลมของปอด (Bronchus) เป็นแขนงของหลอดลมใหญ่ ซงึ่อยู่ในแต่ละข้างของปอด เริ่มต้นต่อจากหลอดลมใหญ่ลึกเข้าไปในเนื้อปอด 
หลอดลมเหล่านี้เมื่ออยู่ลึกเข้าไป ก็จะมีการแตกแขนงแยกย่อยลงไปอีกตามตาแหน่งของเนื้อปอด เช่น หลอดลมของปอดกลีบบน (upper lobe 
bronchus) หลอดลมของปอดกลีบล่าง (lower lobe bronchus) หลอดลมแขนง (segmental bronchus) เป็นต้น 
3. หลอดลมฝอย (Bronchiole) เป็นแขนงย่อยของหลอดลมของปอด หลอดลมฝอยเหล่านี้บางส่วนนอกจากจะสามารถนาก๊าซเข้าสู่ปอดได้แล้ว 
ยังสามารถทา หน้าทใี่นการแลกเปลี่ยนก๊าซได้ด้วย แต่ไม่เป็นหน้าทหี่ลักเหมือนถุงลม 
เนื่องจากหลอดลมมีหน้าที่สาคัญในระบบทางเดินหายใจ ดังนั้น 
หากเกิดความผิดปกติของหลอดลมกจ็ะทา ให้การระบบการระบายก๊าซของร่างกายเสียไปด้วย โรคของหลอดลมทพี่บได้บ่อย ได้แก่ โรคหืด (Asthma) 
และโรคหลอดลมอุดก้นัเรื้อรัง (Chronic obstructive pulmonary disease) เป็นต้น 
หลอดลม เริ่มจากระดับ กระดูกสันหลังส่วนคอ ชิน้ที่ 6 ถึง ระดับกระดูกสันหลังส่วนอก ชิน้ที่ 5 
โดยตัง้อยู่ด้านหน้าของหลอดอาหาร หลอดลมมีความแข็งแรงเพราะโครงสร้างประกอบด้วย กระดูกอ่อนมีลักษณะเป็นวงแหวน 
รูปตัว C ประมาณ 16-20 อัน เรียงซ้อนกัน โดยกระดูกอ่อนจะอยู่ทางด้านหน้า ส่วนด้านหลังเป็นกล้ามเนือ้เรียบ 
Trachea มีความยาว 10-11 ซม. แล้วจะแยกไปยังปอดทัง้ 2 ข้าง (Bronchi) 
ผนังภายในบุด้วยเยื่อบุชนิด Pseudostratifiedcolumnar epithelium ซึ่งมี Goblet cell 
แทรกอยู่ และทาหน้าที่ในการหลั่งเยื่อเมือกออกมาดักจับฝุ่นละอองในทางเดินหายใจ 
และนอกจากนีใ้นชัน้เยื่อบุยังประกอบด้วย Cilia ที่จะโบกพัดฝุ่นละอองด้วย
ดนตรีสมยัคลาสสิก (THE CLASSICAL PERIOD) 
ตั้งแตป่ลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 มาจนถึงชว่งต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 19 
นับได้วา่เป็นชว่งเวลาที่ประชาชนส่วนใหญใ่นยุโรปมีความตื่นตัวในเรื่องประชาธิปไตยเหตุการณ์ที่ได้กระตุ้ 
นเรื่องนี้เป็นอยา่งมากก็คือการปฏิวัติครั้งใหญใ่นฝรั่งเศสซึ่งเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1879 
การรบครั้งสาคัญในสมยันี้คือ สงครามเจ็ดปี (ค.ศ.1756-1763) 
สงครามฝรั่งเศสและอินเดีย ในอเมริกาเกิดสงครามระหวา่งอังกฤษและอาณานิคมอเมริกนั 
ซึ่งนาไปสู่การประกาศอิสรภาพ ของอเมริกนัในปี 1776 และสงครามนโปเลียนใน ยุโรป 
ซึ่งเป็นผลให้เกิดคองเกรสแห่งเวียนนาขึ้นในปี ค.ศ. 1814 สมยันี้ในทางปรัชญาเรียนกวา่ “ยุคแห่งเหตุผล” 
Age of Reason (ไขแสง ศุขวฒันะ,2535:102)หลังการตายของ เจ.เอส.บาค (J. S. Bach) ในปี 1750 
ก็ไมมี่ผู้ประสบความสาเร็จในรูป 
แบบของดนตรีแบบบาโรก (Baroque style) อีก มีการเริ่มของ The (high) Classical era ในปี 1780 
เราเรียกชว่งเวลาหลังจากการตายของ เจ.เอส.บาค (J. S. Bach1730-1780) วา่ The early 
classical period ดนตรีในสมยับาโรกนั้นมีรูปพรรณ (Texture) ที่ยุง่ยากซับซ้อนส่วนดนตรีในสมยั 
คลาสสิกมีลักษณะเฉพาะคือมี โครงสร้าง (Structure) ที่ชัดเจนขึ้น การค้นหาความอิสระในด้าน 
วิชาการ 
เป็นหลักสาคัญที่ทา ให้เกิดสมยัใหมน่ี้ ลักษณะของดนตรีในสมยัคลาสสิกที่เปลี่ยนไปจากสมยับาโรกที่เห็นไ 
ด้ชัด คือ การไมนิ่ยมการสอดประสานของทา นองที่เรียกวา่เคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) 
หันมานิยมการเน้นทา นอง หลักเพียงทา นองเดียวโดยมีแนวเสียงอื่นประสานให้ทา นองไพเราะขึ้น 
คือการใส่เสียงประสาน ลักษณะของบาสโซ คอนตินูโอเลิกใช้ไปพร้อม ๆ
กบัการสร้างสรรค์แบบอิมโพรไวเซชั่น 
(Improvisation) ผู้ประพันธ์นิยมเขียนโน้ตทุกแนวไว้ไมมี่การปลอ่ยวา่งให้ผู้บรรเลงแตง่เติมเอง 
ลักษณะของบทเพลงก็เปลี่ยนไปเชน่กนั ศูนย์กลางของสมยัคลาสสิกตอนต้นคือเมืองแมนฮีมและกรุงเวียนน 
าโรงเรียนแมนฮีมจัดตั้งขึ้นโดย Johann Stamitz ซึ่งเป็นนักไวโอลิน และเป็นผู้ควบคุม Concert ของ The 
Mannheim 
orchestra เขาเป็นผู้พัฒนาสไตล์ใหมข่องการประพันธ์ดนตรี (Composition) และ 
การเรียบเรียงสาหรับวงออร์เคสตรา (Orchestration) และยังพัฒนา The sonata principle in 1st movement of 
symphonies, second theme of Stamitz ตรงกนัข้ามกบั 1st theme ซึ่ง Dramatic, striking หรือ Incisive 
(เชือดเฉือน) เขามกัเพิ่มการแสดงออกที่เป็นท่วงทา นองเพลงนาไปสู่บทเพลงใน ซิมโฟนี 
การเปลี่ยนความดัง - คอ่ย (Dynamic) อยา่งฉับพลันในชว่งสั้น ๆ ได้รับการแสดงครั้งแรกโดย Manheim 
orchestra เขายังขยาย Movement scheme of symphony จากเร็ว-ช้า-เร็ว เป็น เร็ว – ช้า – minuet – เร็ว (minuet 
คือดนตรีบรรเลงเพื่อการเต้นราคูใ่นจังหวะช้า 3 จังหวะ ) ใช้ครั้งแรกโดย GM Monn 
แบบแผนนี้กลายเป็นมาตรฐานในซิมโฟนีและ สตริงควอเตท (String quartet ) 
สมยัคลาสสิกนี้จัดได้วา่เป็นสมยัที่มีการสร้างกฎเกณฑ์รูปแบบในทุก ๆ อยา่งเกยี่วกบัการ 
ประพันธ์เพลงซึ่งในสมยัตอ่ ๆ มาได้นารูปแบบในสมยันี้มาใช้และพัฒนาให้ลึกซึ้งหรือแปรเปลี่ยนไป 
เพลงในสมยันี้เป็นดนตรีบริสุทธ์ิส่วนใหญ่กลา่วคือ 
เพลงที่ประพันธ์ขึ้นมาเป็นเพลงซึ่งแสดงออกถึงลักษณะของดนตรีแท้ ๆ 
มิได้มีลักษณะเป็นเพลงเพื่อบรรยายถึงเหตุการณ์หรือเรื่องราวใด ๆ ซึ่งเป็นลักษณะที่มีกฎเกณฑ์ 
ไมมี่การใส่หรือแสดงอารมณ์ของ ผู้ประพันธ์ลงในบทเพลงมากนัก ลักษณะของเสียงที่ดัง - คอ่ย คอ่ย ๆ ดัง 
และคอ่ย ๆ เบาลง ดนตรีสไตล์เบา ๆ และสง่างามของโรโคโค (Rococo Period ) 
ซึ่งตรงข้ามกบัสไตล์ที่เคร่งเครียดในสมยับาโรก โดยปกติมนัเป็น Lightly accompanied pleasing music ด้วย 
Phrasing ที่สมดุลย์กนั (JC Bach, Sammartini, Hasse, Pergolesi ) Galant เหมือนกบั โรโคโค (Rococo 
Period ) ในแนวคิดของ Heavy ornamentation 
แตต่า่งกนัตรงที่ลักษณะดนตรีมีโครงสร้างและประโยคเพลงที่มีแบบแผนและรูปแบบที่มีความออ่นไหวง่าย 
พยายามแสดงออกถึงความรู้สึกที่แท้จริงและเป็นธรรมชาติ แทรกความโรแมนติกของศตวรรษที่ 19 เข้าไป 
จุดหมายเพื่อแสดงความเป็นตัวของตัวเอง โดยเฉพาะอยา่งยิ่งดนตรีของ CPE Bach และ WF Bach ด้วย 
ความหมายของคา วา่ "คลาสสิกซิสซึ่ม" (Classicism) 
คา วา่ “คลาสสิก” (Classical) ในทางดนตรีนั้น 
มีความหมายไปในทางเดียวกนักบัความหมายของอุดมคติของลัทธิ Apollonian ในสมยัของกรีกโบราณ 
โดยจะมีความหมายที่มีแนวคิดเป็นไปในลักษณะของความนึกถึงแต่สิ่งที่เป็นภายนอกกาย
สภาพการเหนี่ยวรั้งทางอารมณ์ ความแจม่แจ้งในเรื่องของรูปแบบ 
และการผูกติดอยูก่บัหลักทางโครงสร้างอยา่งใดอยา่งหนึ่ง 
อุดมคติทางคลาสสิกในทางดนตรีนั้นมิได้จา กัดอยูแ่ตใ่นชว่งตอนปลายของศตวรรษที่ 18 เทา่นั้น 
อุดมคติ ทางคลาสสิกดังกลา่ว ยังเคยมีปรากฏมากอ่นในชว่งสมยัอาร์สอันติควา (Ars Antiqua) 
และมีเกิดขึ้นให้พบเห็นอีกในบางส่วนของงานประพันธ์การดนตรีในศตวรรษที่ 20 พวกคลาสสิกนิยม 
(Classicism) ก็มีในดนตรีในชว่งตอนปลาย ๆ ของสมยับาโรก ซึ่งเป็นดนตรีสไตล์ของบาค (J.S. Bach) 
และของฮัลเดล (Handel) เชน่กนั ในชว่งของความเป็นคลาสสิกนิยมนั้นมี 2 ชว่ง คือ 
ในตอนต้นและใช้ชว่งตอนปลายของศตวรรษที่ 18 และในชว่งตอนปลายของศตวรรษที่ 18 
มกัจะเรียกกนัโดยทั่ว ๆ ไปวา่ เป็นสมยัเวียนนิสคลาสสิก (Viennese Classical Period) 
เพื่อให้ง่ายตอ่การระบุความแตกตา่งระหวา่งคลาสสิกตอนต้นและตอนปลายนั้นเอง 
และที่เรียกวา่เป็นสมยัเวียนนิสคลาสสิก 
ก็เพราะเหตุวา่ชว่งเวลานั้นกรุงเวียนนาของออสเตรียถูกถือวา่เป็นเมืองศูนย์กลางหลักของการดนตรีในสมยันั้ 
น 
ลักษณะทั่วๆไปของการดนตรีในสมัยคลาสสิก 
โดยทั่วไปแล้วดนตรีคลาสสิกสามารถตีความหมายออกมาได้ คือ มองออกจากตัว(Objective) 
แสดงถึงการเหนี่ยวรั้งจิตใจทางอารมณ์ สละสลวย การขัดเกลาให้งดงามไพเราะ 
และสัมผัสที่ไมต่้องการความลึกล้า นัก นอกจากความหมายดังกลา่วแล้วคลาสสิกยังมีความหมาย 
ที่อาจกลา่วไปในเรื่องของประมวลผลงานก็ได้ กลา่วคือ ผลงานทางดนตรี 
บทบรรเลงที่เห็นได้ชัดวา่มีมากขึ้นกวา่ผลงานทางการประพันธ์โอเปร่าและฟอร์มอื่น ๆ 
สรุปลักษณะสาคัญของดนตรีสมัยคลาสสิก 
1. ฟอร์ม หรือคีตลักษณ์ (Forms) มีโครงสร้างที่ชัดเจนแน่นอน 
และยึดถือปฏิบัติมาเป็นธรรมเนียมนิยมอยา่งเคร่งครัดเห็นได้จากฟอร์มโซนาตาที่เกิดขึ้นในสมัยคลาสสิก 
2. สไตล์ทา นอง (Melodic Style) 
ได้มีการพัฒนาทา นองชนิดใหมข่ึ้นมีลักษณะที่เป็นตัวของตัวเองและรัดกุมกะทัดรัดมากขึ้น 
มีความแจม่แจ้งและความเรียบง่ายซึ่งมักจะทาตามกนัมา 
สไตล์ทา นองลักษณะนี้ได้เข้ามาแทนที่ทา นองที่มีลักษณะยาว 
ซึ่งมีสไตล์ใช้กลุม่จังหวะตัวโน้ตในการสร้างทา นอง (Figuration Style) ซึ่งนิยมกนัมากอ่นในสมยับาโรก 
ในดนตรีแบบ Polyphony 
3. สไตล์แบบโฮโมโฟนิค (Homophonic Style)
ความสาคัญอันใหมที่่เกิดขึ้นแนวทา นองพิเศษในการประกอบทานองหลัก (Theme) 
ก็คือลักษณะพื้นผิวที่ได้รับความนิยมมากกวา่สไตล์พื้นผิวแบบโพลี่โฟนีเดิม 
สิ่งพิเศษของลักษณะดังกลา่วนั่นก็คือ Alberti bass ซึ่งก็คือลักษณะการบรรเลงคลอประกอบแบบ Broken 
Chord ชนิดพิเศษ 
4. ในด้านการประสานเสียง (Harmony) นั้น 
การประสานเสียงของดนตรีสมยันี้ซับซ้อนน้อยกวา่การประสานเสียงของดนตรีสมยับาโรก 
ได้มีการใช้ตรัยแอ็คคอร์ด ซึ่งหมายถึง คอร์ด โทนิด (I) ดอมินันท์ (V) และ ซับโดมินันท์ (IV)มากยิ่งขึ้น 
และการประสานเสียงแบบเดียโทนิค (Diatonic harmony) 
ได้รับความนิยมมากกวา่การประสานเสียงแบบโครมาติค (Chromatic harmony) 
5. เคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) 
ในสมยัคลาสสิกยังคงมีการใช้อยู่โดยเฉพาะในทอ่น พัฒนาของฟอร์มโซนาตาในทอ่นใหญ่ 
การประพันธ์ดนตรีที่ใช้ฟอร์มทางเคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) ซึ่งเป็นฟอร์มที่มี Counterpoint 
เป็นวตัถุดิบสาคัญ โดยทั่ว ๆ ไปจะไมมี่อีกแล้วในสมยันี้ 
6. การใช้ความดัง - เบา (Dynamics) ได้มีการนาเอาเอฟเฟคของความดัง – เบา 
มาใช้สร้างเป็นองค์ประกอบของดนตรี ดังเห็นได้จากงานการประพันธ์ของนักประพันธ์หลาย ๆ คน 
ซึ่งความดัง - เบานั้นมีทั้งการทา เอฟเฟคจากเบาแล้วคอ่ยเพิ่มความดังขึ้นเรื่อย ๆ เรียกวา่เครสเซนโด 
(Crescendo) และ จากดังแล้วก็คอ่ย ๆ ลดลงจนเบาเรียกวา่ดิมินูเอ็นโด (Diminuendo) 
ประวตัิผู้ประพันธ์เพลง ในสมยัคลาสสิกได้มีผลงานซึ่งเป็นทั้งชีวิตและงานของนักประพันธ์สาคัญชั้นนาแ 
ละเป็นที่รู้จักจนถึงปัจจุบัน 4 ทา่น คือ
1. คริสโตฟ วิลลิบาล์ด กลุด (Christoph Willibald Gluck 1714-1798) 
เกิดเมอื่ วนัที่ 2 กรกฎาคม 1714 ที่เมืองอีราสบาค (Erasbach) ใกล้กบัเมืองไวเดนแวง (Weidenwang) 
ถึงแกก่รรมที่กรุงเวียนนา วนัที่ 15 พฤศจิกายน 1787 เขาเกิดในบาวาเรีย จากบ้านตั้งแตอ่ายุ 14 ปี 
และอยูที่่กรุงปร๊าคหลายปี เขาเดินทางและเรียนดนตรีในเวียนนาและอิตาลี เขาเริ่มคุ้นเคยกบัสไตล์ของ 
Baroque opera และประพันธ์ หลายโอเปร่าในสไตล์ที่มีอยูทั่่วไป ระหวา่งปี1745 – 
1760เขาเดินทางทั่วยุโรปเพื่อสารวจโอเปร่าในขณะนั้น ด้วยความเป็นนักทฤษฎีพอ ๆ 
กบัความเป็นนักประพันธ์ ในปี 1761เขาเห็นวา่สิ่งสาคัญในบัลเลต่์ (Ballet)และโอเปร่า 
(Opera)ควรเป็นเรื่องราวและอารมณ์ของผู้แสดงไมใ่ชก่ลอุบายในการกระตุ้นความสนใจด้วยเลห่์ 
ความโดดเดน่ที่ผิด ๆ และเค้าโครงเรื่องประกอบมากมายซึ่งเป็นในแง่การค้าของสมยับาโรก 
เขาตั้งใจแตง่โอเปร่าในปลายศตวรรษที่ 18 โดยยกเลิก Vocal virtuosity 
และทา ให้เกิดดนตรีที่สนองความต้องการของการละคร (Drama) งานชิ้นแรกของเขาได้แกโ่อเปร่า 
ที่เป็นที่นิยมที่สุดคือ Premiered in Vienna ในปี 1762 ซึ่งเป็นพื้นฐานของ ศิลปะแบบคลาสสิกของกรีก โดย 
Orpheus ( เทพเจ้าออฟีอูส เป็นนักดนตรียิ่งใหญที่่สุดในเทพนิยายโบราณ 
กลา่วถึงการสูญเสียภรรยาสุดที่รักของเขาแกโ่ลกใต้พิภพ ) 
สาธารณะชนในเวียนนายังไมไ่ด้ยอมรับผลงานของเขาในขณะนั้นจนกระทั่งปี 1770 
เขาย้ายไปปารีสตามคา ขอร้องของเจ้าหญิงมารี อังตัวเนตต์ ( Marie Antoinette) 
ซึ่งเขาได้ประสบความสาเร็จกับโอเปร่าของเขา Orfeo and Eurydice, Alceste ในปี 1774 และ Iphigenie en 
Tauride ในปี 1779 ซึ่งเป็นงานที่ยิ่งใหญแ่ละเป็นงานที่แขง่ขันกนัระหวา่งกลุดกบัพิชชินนี (Piccini 1728 – 
1800 ) ได้นาออกแสดงผลัดกนัคนละหนเพื่อพิสูจน์ความดีเดน่กนั ในที่สุดกลุดก็ได้รับชัยชนะอยา่งงดงาม 
พิชชินนีก็ยอมรับวา่งานของกลุดชิ้นนี้ดีเยี่ยมจริง ๆ 
ทา ให้สังคมส่วนรวมเกี่ยวกบัโอเปร่าและนักวิจารณ์ยอมรับเขามากขึ้นซึ่งงานของเขาเป็นที่นิยมมากในปารีส 
ขณะนั้น ด้วยการแตง่โอเปร่าครั้งสุดท้ายของเขาในปี 1779 
เขาไปที่เวียนนาที่ซึ่งเขาถูกเชิญให้เป็นนักประพันธ์ของราชสานักของจักรพรรด์ิโจเซฟที่ 2 เขาตายในปี 1787 
ถึงแมว้า่แนวดนตรีของเขาจะจบลงเมื่อเขาตาย แต่Operatic reform 
ของเขาได้เป็นแบบอยา่งแกนั่กประพันธ์รุ่นหลังต่อมาและมีอิทธิพลตอ่งานแสดงดนตรีบนเวทีของ Mozart, 
Berliozและ Wagner(ไพบูลย์ กิจสวสัด์ิ,2535 : 100)
2. ฟรานซ์ โจเซฟ ไฮเดิน (Franz joseph Haydn 1732-1809) 
ผู้ประพันธ์เพลงยิ่งใหญเ่กิดที่หมูบ่้านเล็ก ๆ แห่งหนึ่งชื่อโรห์เรา (Rohrau) อยูใ่นภาคใต้ของออสเตรีย 
เมอื่วนัที่ 1 เมษายน ค.ศ.1732 ถึงแกก่รรมที่กรุงเวียนนาเมอื่วนัที่ 31 พฤษภาคม 1809เขาเป็นบุตรคนที่ 2 
ในจา นวน 12 คนของครอบครัวชาวนายากจนที่รักดนตรี เมอื่เขาอายุได้ 8 ปี 
เขาได้เป็นนักร้องในวงประสานเสียงของโบสถ์เซนต์ สติเฟน ( St Stephen) แห่งเวียนนา หลังจากอยูที่่นั่น 9 
ปีในปี 1749 เขาออกจากที่นั่นเพราะเสียงแตกเขาไมมี่เงินไมมี่บ้านเขาเลี้ยงชีพด้วยการร้องเพลง 
เลน่ฮาร์ปสิคอร์ด (Harpsichord) และสอนดนตรี 
ตลอดเวลาเขาฝึกหัดและเรียนดนตรีอยา่งต่อเนื่องเขาเริ่มแตง่เพลงและได้เป็นผู้นาวงออร์เคสตราของเคานต์ 
มอร์ซิน (Count Morzin of Bohemia) ซิมโฟนีชิ้นแรกของเขานาไปสู่การรับรองในปี 1761 
ตอ่จากนั้นไฮเดินก็ต้องออกมาอยู่กบัเจ้าชายปอล แอนตัน อีสเตอร์ฮาซี่ (Prince Paul anton Esterhazy) 
เขาทา งานกบั ตระกูลอีสเตอร์ฮาซี่เป็นเวลา 30 ปี โดยความเป็นจริงเป็นเหมือนคนรับใช้ แตถึ่งอยา่งไรก็ดี 
เขาได้ประพันธ์ซิมโฟนี โอเปร่าและเชมเบอร์ มิวสิกเป็นจา นวนมากเขามีชื่อเสียงมากในยุโรปด้านดนตรี 
เขาพบ Mozart ตอนเด็ก ๆ ในปี 1781 และกลายเป็นเพื่อนสนิทกนัและชื่นชมในดนตรีของกนัและกนัมาก 
เมอื่เจ้าชาย นิโคลาส ‘The Magnificent' แห่งตระกูลอิสเตอร์ฮาซีได้สิ้นพระชนม์ลงในปี 1790 
เขาถูกปลดออกโดยผู้รับตา แหน่งตอ่เขาได้รับเงินบา นาญและรายได้เข้าจากสาธารณะชนและนักเรียนของเข 
า จากนั้นย้ายกลับเวียนนาและถูกเชิญไปลอนดอนโดย เจ.พี. ซาโลมอน (J.P. Salomon) 
เพื่อไปจัดแสดงคอนเสิร์ต ในระหวา่งการเดินทางนี้เป็นการเดินทางไปอังกฤษครั้งที่ 2 
โดยตกลงจะประพันธ์เพลงให้ 12 เพลง คือชุด London symphonies เพลงสุดท้าย เขาถูกเชิญให้ประพันธ์ 
ออราทอริโอ (Oratorio) ในสไตล์ของไฮเดิล (Handel) เขาประพันธ์ได้ 2 เรื่องและดนตรีของเขาเปลี่ยน the 
majesty of the Baroque ไปเป็นการเริ่มต้นของศตวรรษที่ 19 โดย Choruses เชน่ The Heavens are Telling 
from The Creation แสดงครั้งแรกในปี1798 ปัจจุบันรู้จักในชื่อวา่ The father of the Symphony and the 
String quartet ที่จริงแล้วเขาไมไ่ด้คิดค้นมนัขึ้นเองทั้ง 2 
เรื่องแตไ่ด้พัฒนามนัจากรูปแบบที่มีอยูก่อ่นแล้วทั่วยุโรป ไฮเดิลประพันธ์ Sonatas, quartets, symphonies, 
operas,concertos 
เป็นจา นวนหลายร้อย ดนตรีของเขาดูง่ายมีเสน่ห์มีการตอ่สู้ของแฟนซีและตลกที่แท้จริงผสมอยูใ่น Classical 
veneer ตัวอยา่งที่มีชื่อเสียงมากที่สุดได้แก่The Surprise ในทอ่น (movement) ที่ 2 ของซิมโฟนีของเขา No. 
94 in G major แตก่ารทา ตามความคิดของเขาจะพบได้ใน The finale of the Symphony no. 82
หรือเรียกอีกชื่อวา่ The bear เป็น The bass drone และ Chortling bassoons 
ซึ่งเป็นเรื่องของหมีที่เต้นรา เมอื่ถึงฤดูใบไมผ้ลิในปี 1809 กองทัพฝรั่งเศสภายใต้การนาของนโปเลียน 
ยกทัพเข้ายึดครองเวียนนา ออสเตรียไวไ้ด้ 
เขาเศร้าเสียใจมากกบัการเสื่อมอยา่งรวดเร็วและได้ถึงแกก่รรมด้วยอาการสงบในวนัที่ 31 พฤษภาคม 1809 
ทหารฝรั่งเศสที่กา ลังยึดครองเวียนนาอยูข่ณะนั้นได้ทา พิธีฝังศพให้แกเ่ขาอยา่งสมเกียรติ ณ 
โบสถ์แห่งหนึ่งในเวียนนา 
3. โมสาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart 1756-1791) 
ผู้ประพันธ์เพลงที่ยิ่งใหญอี่กผู้หนึ่งในสมยัคลาสสิกเป็นชาว ออสเตรีย กา เนิดในครอบครัวนักดนตรี 
เมืองซาลส์บวร์ก(Salzbutrg) เกิดเมอื่วนัที่ 27 มกราคม ค.ศ.1756 ถึงแกก่รรมที่ เวียนนา วนัที่ 5 ธันวาคม 
ค.ศ.1791 และมีชื่อเสียงในงานประพันธ์ดนตรีประเภทซิมโฟนีเชมเบอร์ มิวสิกและโอเปร่าเมอื่เขาอายุ 4 ปี 
เขาสามารถเรียนดนตรีได้ครั้งละครึ่งชั่วโมงเมื่ออายุ 5 ปี เขาสามารถเลน่คลาเวียร์ ได้ดีอยา่งไมน่่าเชื่อ 
เขาเขียนซิมโฟนีชิ้นแรกเมื่อเขาอายุ 8 ปี เขาเดินทางทั่วยุโรปกบัพอ่ของเขาชื่อ เลโอโปลด์ โมสาร์ท (Leopard 
Mozart 1719 –1787) ซึ่งเป็นนักไวโอลิน 
และบางครั้งเป็นนักประพันธ์เพลงและเป็นผู้กา กบันักร้องประสานเสียงหรือวงออร์เคสตราในราชสานักของ 
อาร์ชบิชอพที่ซาลส์บวร์ก(Archbishop of Salzburg) 
ทักษะทางคนตรีของเขาได้ปรากฏต่อราชสานักครั้งแรกที่เมืองมิวนิคในปี1762 
และปรากฏตอ่สาธารณะชนในระหวา่งอายุ 7ถึง 15 ปี 
เขาใช้เวลาครึ่งหนึ่งในชีวิตในการเดินทางทอ่งเที่ยวไปเขาจึงซึมซับและเรียนรู้สานวนดนตรีของยุโรปอยา่งห 
ลากหลาย สะสมจนเป็นสไตล์ของตัวเอง ในปี 1777 เขาทอ่งเที่ยวไปกบัมารดาของเขาที่เมืองมิวสิค แมนเฮม 
และปารีส และที่ ปารีส มารดาของเขาได้ถึงแกก่รรมอยา่งกะทันหันในเดือนมกราคม 1778 เขาตกงาน 
จึงกลับไปที่บ้านเกิดในปี1779และได้เป็นนักออร์แกนของราชสานักอาร์ชบิชอพ ที่ซาลส์บวร์ก (Archship of 
Salzburg)และถูก ปลดออกในปี 1781 
หลังจากนั้นเขากลายเป็นนักดนตรีอิสระคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ดาเนินชีวิต
โดยไมข่ึ้นกบัราชสานักหรือโบสถ์หรือผู้อุปถัมถ์ใด ๆ เขาย้ายไปที่เวียนนาและได้อยูก่บัครอบครัว เวเบอร์ 
(The Webers) ซึ่งเป็นครอบครัวที่เขาพบในปี 1777 เขาแตง่งานกบัคอนสตันซ์ เวเบอร์ 
(Constanze Weber) ในเดือนสิงหาคม 1782 หลังจากนั้นไมน่านทุกอยา่งเริ่มดีขึ้น ในปี 1782 เริ่มด้วยผลงาน 
The Singspiel Die Entfuhrung ans dem Serail (The Abduction from the Seraglio) 
โมสาร์ทอาจจะเป็นนักประพันธ์คนเดียวในประวัติศาสตร์ที่เขียนเพลงอยา่งประณีตทุกรูปแบบของดนตรีตล 
อดชีวิตของเขา ผลงาน ประเภทเซเรเนด (Serenades), Divertimenti,Dances 
ที่เขาเขียนขึ้นเพื่อความบันเทิงและงานปาร์ตี้ของขุนนาง ล้วนเป็นความยิ่งใหญข่องสมยัคลาสสิก (Classical 
age of elegance)และถูกดัดแปลงโดยนักประพันธ์ชื่อ Eine Kleine Nachtmusik เป็น Serenade in G 
major ในเวียนนาเขาเป็นคนสาคัญในราชสานักของจักรพรรด์ิโจเซฟที่ 2 (Joseph1741 – 1790) 
ทซี่ึ่งเขาได้เขียนดนตรีที่ยิ่งใหญม่ากมาย 
ตัวอยา่งเชน่ The last string quartets, The string quintets, The quintet for clarinet and strings, The mass in C 
major, Requiem (ซึ่งเขาเขียนยังไมเ่สร็จ), The Serenade for thirteen wind instruments, The Clarinet 
connect, และ The late piano concerto นอกจากนี้ Piano concerto ของเขายังคงมีรูปแบบของ The classic 
concerto form เขาปรับปรุงพัฒนามาเป็นงานของ Symphonic breadth and scope, Concerto 
ของเขามกัเริ่มต้นด้วยรูปแบบโซนาตาในท่อนที่ 1 ตามด้วยทอ่นที่ 2 
ที่นุ่มนวลและเป็นทา นองเพลงโดยปกติมีเพลงที่มีชีวิตชีวารวมอยู่ด้วยพร้อมทั้งมี รอนโด (Rondo) 
หมายถึงเพลงที่บรรเลงโดยการย้อน ที่ดึงดูดความสนใจ เชน่ The piano concerto no.22 in E flat ในซิมโฟนี 
3 ชิ้นสุดท้าย ชิ้นที่ 2 คือ Symphony no.40 in G minor เขาได้ใส่ passion 
และการแสดงออกซึ่งไมเ่คยมีมากอ่นในการเขียนซิมโฟนีจนกระทั่งถึงสมยัของ เบโธเฟน 
(Beethoven) งานด้านอุปรากรนั้นในปี ค.ศ. 1786 โมสาร์ทได้ร่วมมือกบัลอเรนโซ ดา พอนเต้ (Lorenzo 
Da Ponte) ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญประจา โรงละครหลวงในกรุงเวียนนาเขียน The marriage of Figaro
ขึ้น อุปรากรเรื่องนี้เมื่อแสดงครั้งแรกไมป่ระสบความสาเร็จดังที่ตั้งใจไวแ้ต่ตอ่มามีคนนาไปแสดงที่ 
กรุงปร๊าค นครหลวงของโบเฮเมีย ประเทศเชคโกสโลวาเกีย ได้รับความสาเร็จอยา่งงดงาม ค.ศ. 1787 
เขียนอุปรากรเรื่อง ดอน โจวนันี (Don Giovanni) ซึ่งเป็นเรื่องราวเกยี่วกบัการผจญภัยของชายหนุ่มนัก 
รักที่ชื่อวา่ ดอน จิโอวนันี หรือดอน ฮวน (Don Juan) 
ได้สาเร็จ ในระหวา่งที่เขาอยูที่่เวียนนาได้เป็นเพื่อนสนิทกบัไฮเดิล (Franz Joseph Haydn) 
ซึ่งมีอิทธิพลตอ่ผลงานของเขาในระหวา่งปี 1782 – 1785 โมสาร์ท (Mozart) ได้ประพันธ์ Six string quartets 
ซึ่งอุทิศให้ ไฮเดิล 
บางส่วนเขาทั้งสองเลน่ด้วยกนัด้วยการจัดการการเงินที่ผิดพลาดและด้วยความไมมี่ประสบการณ์ชีวิตขาดกา 
รไตร่ตรอง และความประพฤติที่เหมือนเด็กที่ปีกกล้าขาแข็งและใช้ชีวิตอยา่งเจ้านายทา ให้เขาตกระกา ลา บาก 
ในการดา เนินชีวิตภายในปี 1790 เขาได้เขียนจดหมายถึงเพื่อนหลายคนบรรยายถึงเขาและครอบครัว ( 
เขาและภรรยามีลูกด้วยกนั 6 คน มีชีวิตรอดอยูเ่พียง 2 คน ) ความลา บากจนต้องขอ ทานเพื่อยังชีพ 
และในระหวา่งนี้เอง เขาก็ป่วยหนักด้วยโรคไตแต่ด้วยความสาเร็จของ The Magic Flute 
เขาได้รับเงินจา่ยประจา ปี 
เขาจึงเริ่มต้นมีความมนั่คงทางการเงินอีกครั้งในขณะที่โรคของเขานาเขาไปสู่ความตายเมื่อเขาอายุได้ 36 ปี 
เขาถูกฝังเหมือนชาวเวียนนาทั่วไปโดยคา บัญชาของจักรพรรด์ิโจเซฟในหลุมศพสามญัทั่วไปซึ่งที่ฝังศพแน่น 
อนจนปัจจุบันก็ยังไมท่ราบนักประพันธ์ในปลายศตวรรษที่ 19 ที่บูชาและยกยอ่งเขามากได้แก่Richard 
Wagner และ Peter Tchaikovsky และดนตรีของเขามีอิทธิพลตอ่ The neo – classical compositions ของ Igor 
Stravinsky และ Sergei Prokofiev ในศตวรรษที่ 20 
4 . เบโธเฟน (Ludwig van Beethoven 1770-1827) 
ผู้ประพันธ์เพลงชาวเยอรมนัผู้ยิ่งใหญใ่นโลกของดนตรีตะวนัตก เกิดเมอื่วนัที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1770 
ที่กรุงบอนน์ เป็นผู้นาดนตรีในรูปแบบใหมจ่ากสมยัคลาสสิกมาสู่สมัยโรแมนติก 
และมีชื่อเสียงในงานประพันธ์ดนตรีประเภทซิมโฟนี เชมเบอร์ มิวสิก ดนตรีสาหรับเปียโน แมส โอเปร่า 
และออราทอริโอ ในชว่งของเบโธเฟน แสดงถึงจุดสูงสุด ในการพัฒนาฟอร์มและสไตล์ดนตรีแบบคลาสสิก 
แบบตา่ง ๆ ลุดวิก ฟาน เบโธเฟน ได้ประพันธ์ซิมโฟนีไว้9 บท 
แตล่ะบทล้วนได้รับความชื่นชอบจากผู้ฟังเป็นอยา่งสูงและตา่งก็มีคุณสมบัติเฉพาะตัวไมซ่้า แบบกนั 
เขาได้เริ่มแตง่ซิมโฟนีหมายเลข 1 เมอื่อายุ 27 ปี (ค.ศ.1797) และแตง่ซิมโฟนีหมายเลข 9 เสร็จลงเมอื่อายุ 53
ปี (ค.ศ. 1823 กอ่นถึงมรณกรรม 4 ปี) รวมชว่งเวลาของเขาในการประพันธ์ซิมโฟนี 25 ปี 
ซึ่งนับวา่เป็นระยะเวลานานพอที่จะทา ให้ซิมโฟนีทั้ง 9 
บทมีความแตกตา่งกนั เบโธเฟนได้ประเดิมความตื่นเต้นให้เกิดขึ้นทันทีในตอนเริ่มต้นซิมโฟนีบทแรกของเ 
ขาด้วยเสียงที่กระด้างหู จนทา ให้นักวิจารณ์ดนตรีร่วมสมยัเดียวกนักับเขาถึงกับตะลึงและกลา่วออกมาวา่ 
“ถึงแมว้า่เขา (เบโธเฟน) พยายามจะเคร่งครัดในแบบแผนคลาสสิกแตเ่ขาก็อดที่จะแหวกแนวไมไ่ด้” 
อีก 5 ปีหลังจากซิมโฟนีหมายเลข 1 ได้เริ่มขึ้นเขาก็ได้แตง่ซิมโฟนีหมายเลข 2 
ในชว่งเวลาที่เขาได้รับความทรมานอยา่งหนักทั้งกายและทางใจ 
ประจักษ์พยานในเรื่องนี้เราจะทราบเมอื่ได้อา่น “ไฮลิเก็นช์ตัดท์ เทสตาเมนท์” 
อันเป็นที่มาของบทประพันธ์สั้น Fur Elise 
ซึ่งตัวเขาเองได้บันทึกไวอ้ยา่งชวนให้น่าเห็นใจในซิมโฟนีบทนี้ปรากฏวา่ไมมี่ร่องรอยของความทุกข์หมน่ห 
มองแฝงอยูเ่ลยตรงกนัข้ามบทเพลงกลัเพียบพร้อมไปด้วยความงดงามและความสง่าผา่เผยและเบโธเฟนยังคง 
ยึดมนั่ แบบแผนคลาสสิก เชน่เดียวกบัซิมโฟนีบทแรกเบโธเฟนได้ให้ชื่อซิมโฟนีหมายเลข 3 ของเขาวา่ 
"Eroica" ซึ่งแสดงให้เห็นวา่เขาเป็นคนที่ยกยอ่งเทิดทูนวีรบุรุษ 
ขณะที่เขาประพันธ์งานชิ้นนี้เขาเริ่มเป็นตัวของตัวเองแล้ว บทเพลงนี้ประกอบด้วยความโศกสลด 
ความมีพลังอา นาจ อีกทั้งความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว ซึ่งคุณลักษณะเหลา่นี้ 
ปรากฏอยา่งน่าทึ่งด้วยภาษาของดนตรี 
ซิมโฟนีหมายเลข 4 มีบางสิ่งบางอยา่งคล้ายคลึงกับซิมโฟนีหมายเลข 2 ผลงานชิ้นนี้ 
ได้สะท้อนอารมณ์อันออ่นโยนละมุนละไมของเบโธเฟนออกมามากกวา่บทใด ๆ เขาแตง่ขึ้น 
ขณะที่จิตใจกา ลังอิ่มเอมด้วยความรัก ซิมโฟนีบทนี้ได้กอ่ให้เกิดการตัดกนัอยา่งเดน่ชัดของซิมโฟนีทั้งสอง
ที่อยูข่้างเคียง คือ ซิมโฟนีหมายเลข 3 อันห้าวหาญ และซิมโฟนีหมายเลข 5 ที่เต็มไปด้วยการต่อสู้ดิ้นรน 
ซึ่งโรเบ์ิรท ชูมนัน์ คีตกวีผู้มีชื่อเสียงโดง่ดังในสมยัโรแมนติกกลา่ววา่ "... ดุจสาวกรีกที่มีโฉมสคราญยืนอยู่ 
ระหวา่งยักษ์ใหญไ่วคิงสองตน ..."ในปี ค.ศ.1807 
ความพิการของหูทั้งสองข้างของเขาซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ปีค.ศ.1800 ได้กา เริบหนักขึ้น 
และส่ออาการวา่จะไมไ่ด้ยินอะไรอีกตอ่ไป ได้ ขอให้ทา่นลองคิดดูวา่ 
ศิลปินที่ใช้กระแสเสียงเป็นสื่อกลางในการสร้างสรรค์ผลงานจะระทมทุกข์เพียงใด 
เมอื่รู้วา่ความยอ่ยยับนี้กา ลัง มาสู่เขาอยา่งหลีกเลี่ยงไมไ่ด้ จากเสียงของตัวโน้ต 4 ตัว "สั้น-สั้น-สั้น- 
ยาว" ที่ผู้ฟังส่วนมากคนุ้หูในทอ่นแรก 
ไปจนกระทั่งเสียงแห่งความมีชัยชนะ เคราะห์กรรมในทอ่นสุดท้ายของซิมโฟนีหมายเลข 5 
ยอ่มจะไมเ่ป็นที่สงสัยเลย 
ซิมโฟนีบทนี้ได้กลายเป็นซิมโฟนีที่มีชื่อเสียง โดง่ดังที่สุดของเบโธเฟนหรือแมแ้ต่ของคีตกวีทั้งปวงที่ได้แตง่ 
ซิมโฟนีขึ้น เบโธเฟนได้ใช้ธรรมชาติเป็นสิ่งปลอบประโลมใจในยามทุกข์ เขามกัจะออกไปสู่ชนบทเสมอ 
เพื่อสัมผัสกบัท้องทุง่ที่เขียวชอุ่ม อากาศสดชื่น แสงแดดออ่น ๆ เสียงของกระแสน้าในลา ธาร 
เสียงนกตามกิ่งไม้พายุฝน ความชุม่ฉ่าภายหลังฝนตก ฯลฯ 
สิ่งและสภาวะเหลา่นี้ ได้นามาบรรจุลงอยา่งสมบูรณ์แล้วในซิมโฟนีหมายเลข 6 ซึ่งผู้ฟังรู้จักกนัดีชื่อวา่ 
"Pastoral" เบโธเฟนนั้นไมเ่พียงแตจ่ะเป็นนักธรรมชาตินิยม ที่ยิ่งใหญค่นหนึ่ง 
หากเขายังเป็นผู้ให้แนวคิดใหม่ๆ กบัคีตกวีโรแมนติกในสมยัตอ่มาอีกด้วย เขาได้เริ่มวางเค้าโครง 
ซิมโฟนีหมายเลข 7 เมอื่ปี ค.ศ. 1811 และได้แตง่เสร็จเรียบร้อยในปีตอ่มา ซิมโฟนีบทนี้ ริชาร์ด วากเนอร์ 
ได้ให้ฉายาวา่ "The apotheosis of the Dance" 
ทั้งนี้เพราะวากเนอร์ได้ฟังบทบรรเลงนี้เขารู้สึกเหมือนวา่ได้ร่วมสนุกกบัแบ็คคัส เทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่น 
และเหลา่บริวารในงานเลี้ยงฉลองกนัอยา่งครึกครื้นกอ่นที่ความโอฬารตามแบบฉบับของเบโธเฟนจะได้ปรา 
กฏแกผู่้ฟังในเวลาตอ่มา เบโธเฟนได้ถูกนักวิจารณ์ร่วมสมยั ประนามเขาอยา่งไมไ่วห้น้าวา่ 
เป็นคนป่าเถื่อนและมีสติไมส่มบูรณ์
ในซิมโฟนีหมายเลข 8 เบโธเฟนได้สอดแทรกการมองโลกในแง่ดีและอารมณ์ขันของเขาลงไปอยา่งได้ผล 
ซิมโฟนีบทนี้ก็เชน่เดียวกบัซิมโฟนีหมายเลข 4 กลา่วคือ มนัเปรียบดุจดอกกุหลาบอันบอบบาง 
อยูร่ะหวา่งผาหินทั้งสอง (คือซิมโฟนีหมายเลข 7 และหมายเลข 9) ซิมโฟนีหมายเลข 9 "Choral" 
ได้อุบัติขึ้นหลังจากหูทั้งสองของเขาไมส่ามารถจะรับเสียงอะไร ๆ ได้อีกตอ่ไป 
เบโธเฟนได้แสดงความปรารถนาอยา่งแรงกล้าในอันที่จะเห็นมนุษย์อยูร่่วมกนัอยา่งสันติ 
เขาได้กา หนดให้มีการขับร้องบทกวีของซิลเลอร์ในทอ่นสุดท้ายของซิมโฟนีที่ยิ่งใหญที่่สุดบทนี้เบโธเฟนได้ 
มีความคิดที่ประพันธ์บทเพลงที่มีการขับร้องเดี่ยวและประสานเสียงมาตั้งแตปี่ ค.ศ.1808 
ซึ่งจะพบได้จากการทดลองใน Choral Fatasia โอปุส 80 ของเขาจากนั้นมาเขาก็ได้ให้ความสนใจกบั Missa 
solemnis อันเป็นผลงานยิ่งใหญท่างด้านศาสนาเสียหลายปี 
จนได้มาแตง่ซิมโฟนีบทนี้และสาเร็จลงเมอื่เดือนสิงหาคม ปี ค.ศ.1823 เขาได้ทิ้งชว่งเวลาห่างถึง 11 ปี 
(ค.ศ.1812-1823) หลังจากได้แตง่ซิมโฟนีหมายเลข 8 เสร็จ ซิมโฟนีหมายเลข 9 นี้ได้ออกแสดงครั้งแรกที่ 
Karnthner theater ในนครเวียนนาเมอื่วนัที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ.1824 โดย Gesselschaft der Musikfreunde 
การแสดงครั้งแรกปรากฏวา่เต็มไปด้วยความทะลักทุเลกนัเนื่องมาจากวงดนตรีอ่อนซ้อม 
และความสับสนในหมูนั่กร้อง อยา่งไรก็ดี การแสดงครั้งนั้นได้มีเหตุการณ์อันน่าสะเทือนใจเกิดขึ้น 
เมอื่ซิมโฟนีจบลง ผู้ฟังได้ปรบมือพร้อมกับโห่ร้องอยา่งกึกก้องเป็นระยะเวลานาน 
จนแทบจะทา ให้โรงละครนั้นพังลงแตเ่บโธเฟนผู้ซึ่งยืนอยูใ่นกลุ่มนักดนตรีเป็นผู้เดียวเทา่นั้นที่ไมส่ามารถไ 
ด้ยินเสียงแห่งความปิติยินดี สายตาของเขายังคงจับจ้องอยู่ที่โน้ตเพลง 
จนกระทั่งนักร้องสาวเสียงโซปราโนนามวา่ คาโรลิน อุงเกอรี เกิดสงสารเขาจนน้าตาคลอได้ค่อย ๆ 
หันตัวเขาอยา่งเบา ๆ ไปสู่ผู้ฟัง เขาจึงได้เห็นทุกคนในที่นั้นตา่งแสดงความปลาบปลื้มตอ่ความสาเร็จของเขา 
แตก่็เป็ความสาเร็จที่เขาไมส่ามารถสัมผัสได้ด้วยโสตประสาทตราบสุดท้ายแห่งชีวิต ในระยะเวลา 57 ปี 
ของชีวิตเบโธเฟนกลา่วได้วา่ 
เป็นชว่งเวลาแห่งการสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีในรูปแบบใหมจ่ากคลาสสิกมาสู่สมัยโรแมนติกด้วย ความ
ตั้งใจจริงผนวกกบัความมีอัจฉริยะทา ให้เบโธเฟนเป็นผู้ประพันธ์เพลงที่ยิ่งใหญต่ลอดกาล 
ยากที่จะหาผู้ประพันธ์คนอื่นมาเทียบเทียมได้ 
จึงไมน่่าแปลกใจที่เพลงของเบโธเฟนยังคงเป็นที่นิยมฟังและนิยมบรรเลงกนัตลอดมาจนกระทั่งปัจจุบัน

More Related Content

Similar to หลอดลม

สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxpinglada1
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfpinglada
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตกE learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตกบ.บีม ลพบุรี
 
ประวัติศิลปินดนตรีและข้อสอบการจัดนิทรรศการ
ประวัติศิลปินดนตรีและข้อสอบการจัดนิทรรศการประวัติศิลปินดนตรีและข้อสอบการจัดนิทรรศการ
ประวัติศิลปินดนตรีและข้อสอบการจัดนิทรรศการpeter dontoom
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมืองAniwat Suyata
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docpinglada1
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 

Similar to หลอดลม (13)

วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
สมัยรีเนซองส์ Renaissance
สมัยรีเนซองส์ Renaissanceสมัยรีเนซองส์ Renaissance
สมัยรีเนซองส์ Renaissance
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตกE learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
 
ประวัติศิลปินดนตรีและข้อสอบการจัดนิทรรศการ
ประวัติศิลปินดนตรีและข้อสอบการจัดนิทรรศการประวัติศิลปินดนตรีและข้อสอบการจัดนิทรรศการ
ประวัติศิลปินดนตรีและข้อสอบการจัดนิทรรศการ
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 

หลอดลม

  • 1. หลอดลมมีหน้าที่สาหรับเป็นทางผ่านของอากาศเข้าออกจากปอด ถ้าทางเดินนีถู้กอุดตันจะทาให้ขาดออกซิเจน เกิดอาการหน้าเขียว (Asphysia) และอาจถึงตายได้ หลอดลม เป็นส่วนหนึ่งของระบบทางเดินหายใจ มีหน้าทหี่ลัก คือ การนาส่งอากาศจากภายนอกร่างกายเข้าสู่ปอดเพื่อทา หน้าทใี่นการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนเข้าสู่เลือด และนาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่า งกาย หลอดลมของมนุษย์เริ่มตั้งแต่ส่วนที่ต่อจากกล่องเสียง (Larynx) ลงไปสิ้นสุดที่ถุงลม หลอดลม หลอดลม มีชอื่เรียกแตกต่างกนัตามขนาดและตา แหน่ง ได้แก่ 1. หลอดลมใหญ่ (Trachea) เป็นส่วนทอี่ยู่ต่อจากกล่องเสียงยาวลงไปจนถึงจุดทแี่ยกเข้าสู่ปอดด้านซ้ายและด้านขวา 2. หลอดลมของปอด (Bronchus) เป็นแขนงของหลอดลมใหญ่ ซงึ่อยู่ในแต่ละข้างของปอด เริ่มต้นต่อจากหลอดลมใหญ่ลึกเข้าไปในเนื้อปอด หลอดลมเหล่านี้เมื่ออยู่ลึกเข้าไป ก็จะมีการแตกแขนงแยกย่อยลงไปอีกตามตาแหน่งของเนื้อปอด เช่น หลอดลมของปอดกลีบบน (upper lobe bronchus) หลอดลมของปอดกลีบล่าง (lower lobe bronchus) หลอดลมแขนง (segmental bronchus) เป็นต้น 3. หลอดลมฝอย (Bronchiole) เป็นแขนงย่อยของหลอดลมของปอด หลอดลมฝอยเหล่านี้บางส่วนนอกจากจะสามารถนาก๊าซเข้าสู่ปอดได้แล้ว ยังสามารถทา หน้าทใี่นการแลกเปลี่ยนก๊าซได้ด้วย แต่ไม่เป็นหน้าทหี่ลักเหมือนถุงลม เนื่องจากหลอดลมมีหน้าที่สาคัญในระบบทางเดินหายใจ ดังนั้น หากเกิดความผิดปกติของหลอดลมกจ็ะทา ให้การระบบการระบายก๊าซของร่างกายเสียไปด้วย โรคของหลอดลมทพี่บได้บ่อย ได้แก่ โรคหืด (Asthma) และโรคหลอดลมอุดก้นัเรื้อรัง (Chronic obstructive pulmonary disease) เป็นต้น หลอดลม เริ่มจากระดับ กระดูกสันหลังส่วนคอ ชิน้ที่ 6 ถึง ระดับกระดูกสันหลังส่วนอก ชิน้ที่ 5 โดยตัง้อยู่ด้านหน้าของหลอดอาหาร หลอดลมมีความแข็งแรงเพราะโครงสร้างประกอบด้วย กระดูกอ่อนมีลักษณะเป็นวงแหวน รูปตัว C ประมาณ 16-20 อัน เรียงซ้อนกัน โดยกระดูกอ่อนจะอยู่ทางด้านหน้า ส่วนด้านหลังเป็นกล้ามเนือ้เรียบ Trachea มีความยาว 10-11 ซม. แล้วจะแยกไปยังปอดทัง้ 2 ข้าง (Bronchi) ผนังภายในบุด้วยเยื่อบุชนิด Pseudostratifiedcolumnar epithelium ซึ่งมี Goblet cell แทรกอยู่ และทาหน้าที่ในการหลั่งเยื่อเมือกออกมาดักจับฝุ่นละอองในทางเดินหายใจ และนอกจากนีใ้นชัน้เยื่อบุยังประกอบด้วย Cilia ที่จะโบกพัดฝุ่นละอองด้วย
  • 2. ดนตรีสมยัคลาสสิก (THE CLASSICAL PERIOD) ตั้งแตป่ลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 มาจนถึงชว่งต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 19 นับได้วา่เป็นชว่งเวลาที่ประชาชนส่วนใหญใ่นยุโรปมีความตื่นตัวในเรื่องประชาธิปไตยเหตุการณ์ที่ได้กระตุ้ นเรื่องนี้เป็นอยา่งมากก็คือการปฏิวัติครั้งใหญใ่นฝรั่งเศสซึ่งเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1879 การรบครั้งสาคัญในสมยันี้คือ สงครามเจ็ดปี (ค.ศ.1756-1763) สงครามฝรั่งเศสและอินเดีย ในอเมริกาเกิดสงครามระหวา่งอังกฤษและอาณานิคมอเมริกนั ซึ่งนาไปสู่การประกาศอิสรภาพ ของอเมริกนัในปี 1776 และสงครามนโปเลียนใน ยุโรป ซึ่งเป็นผลให้เกิดคองเกรสแห่งเวียนนาขึ้นในปี ค.ศ. 1814 สมยันี้ในทางปรัชญาเรียนกวา่ “ยุคแห่งเหตุผล” Age of Reason (ไขแสง ศุขวฒันะ,2535:102)หลังการตายของ เจ.เอส.บาค (J. S. Bach) ในปี 1750 ก็ไมมี่ผู้ประสบความสาเร็จในรูป แบบของดนตรีแบบบาโรก (Baroque style) อีก มีการเริ่มของ The (high) Classical era ในปี 1780 เราเรียกชว่งเวลาหลังจากการตายของ เจ.เอส.บาค (J. S. Bach1730-1780) วา่ The early classical period ดนตรีในสมยับาโรกนั้นมีรูปพรรณ (Texture) ที่ยุง่ยากซับซ้อนส่วนดนตรีในสมยั คลาสสิกมีลักษณะเฉพาะคือมี โครงสร้าง (Structure) ที่ชัดเจนขึ้น การค้นหาความอิสระในด้าน วิชาการ เป็นหลักสาคัญที่ทา ให้เกิดสมยัใหมน่ี้ ลักษณะของดนตรีในสมยัคลาสสิกที่เปลี่ยนไปจากสมยับาโรกที่เห็นไ ด้ชัด คือ การไมนิ่ยมการสอดประสานของทา นองที่เรียกวา่เคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) หันมานิยมการเน้นทา นอง หลักเพียงทา นองเดียวโดยมีแนวเสียงอื่นประสานให้ทา นองไพเราะขึ้น คือการใส่เสียงประสาน ลักษณะของบาสโซ คอนตินูโอเลิกใช้ไปพร้อม ๆ
  • 3. กบัการสร้างสรรค์แบบอิมโพรไวเซชั่น (Improvisation) ผู้ประพันธ์นิยมเขียนโน้ตทุกแนวไว้ไมมี่การปลอ่ยวา่งให้ผู้บรรเลงแตง่เติมเอง ลักษณะของบทเพลงก็เปลี่ยนไปเชน่กนั ศูนย์กลางของสมยัคลาสสิกตอนต้นคือเมืองแมนฮีมและกรุงเวียนน าโรงเรียนแมนฮีมจัดตั้งขึ้นโดย Johann Stamitz ซึ่งเป็นนักไวโอลิน และเป็นผู้ควบคุม Concert ของ The Mannheim orchestra เขาเป็นผู้พัฒนาสไตล์ใหมข่องการประพันธ์ดนตรี (Composition) และ การเรียบเรียงสาหรับวงออร์เคสตรา (Orchestration) และยังพัฒนา The sonata principle in 1st movement of symphonies, second theme of Stamitz ตรงกนัข้ามกบั 1st theme ซึ่ง Dramatic, striking หรือ Incisive (เชือดเฉือน) เขามกัเพิ่มการแสดงออกที่เป็นท่วงทา นองเพลงนาไปสู่บทเพลงใน ซิมโฟนี การเปลี่ยนความดัง - คอ่ย (Dynamic) อยา่งฉับพลันในชว่งสั้น ๆ ได้รับการแสดงครั้งแรกโดย Manheim orchestra เขายังขยาย Movement scheme of symphony จากเร็ว-ช้า-เร็ว เป็น เร็ว – ช้า – minuet – เร็ว (minuet คือดนตรีบรรเลงเพื่อการเต้นราคูใ่นจังหวะช้า 3 จังหวะ ) ใช้ครั้งแรกโดย GM Monn แบบแผนนี้กลายเป็นมาตรฐานในซิมโฟนีและ สตริงควอเตท (String quartet ) สมยัคลาสสิกนี้จัดได้วา่เป็นสมยัที่มีการสร้างกฎเกณฑ์รูปแบบในทุก ๆ อยา่งเกยี่วกบัการ ประพันธ์เพลงซึ่งในสมยัตอ่ ๆ มาได้นารูปแบบในสมยันี้มาใช้และพัฒนาให้ลึกซึ้งหรือแปรเปลี่ยนไป เพลงในสมยันี้เป็นดนตรีบริสุทธ์ิส่วนใหญ่กลา่วคือ เพลงที่ประพันธ์ขึ้นมาเป็นเพลงซึ่งแสดงออกถึงลักษณะของดนตรีแท้ ๆ มิได้มีลักษณะเป็นเพลงเพื่อบรรยายถึงเหตุการณ์หรือเรื่องราวใด ๆ ซึ่งเป็นลักษณะที่มีกฎเกณฑ์ ไมมี่การใส่หรือแสดงอารมณ์ของ ผู้ประพันธ์ลงในบทเพลงมากนัก ลักษณะของเสียงที่ดัง - คอ่ย คอ่ย ๆ ดัง และคอ่ย ๆ เบาลง ดนตรีสไตล์เบา ๆ และสง่างามของโรโคโค (Rococo Period ) ซึ่งตรงข้ามกบัสไตล์ที่เคร่งเครียดในสมยับาโรก โดยปกติมนัเป็น Lightly accompanied pleasing music ด้วย Phrasing ที่สมดุลย์กนั (JC Bach, Sammartini, Hasse, Pergolesi ) Galant เหมือนกบั โรโคโค (Rococo Period ) ในแนวคิดของ Heavy ornamentation แตต่า่งกนัตรงที่ลักษณะดนตรีมีโครงสร้างและประโยคเพลงที่มีแบบแผนและรูปแบบที่มีความออ่นไหวง่าย พยายามแสดงออกถึงความรู้สึกที่แท้จริงและเป็นธรรมชาติ แทรกความโรแมนติกของศตวรรษที่ 19 เข้าไป จุดหมายเพื่อแสดงความเป็นตัวของตัวเอง โดยเฉพาะอยา่งยิ่งดนตรีของ CPE Bach และ WF Bach ด้วย ความหมายของคา วา่ "คลาสสิกซิสซึ่ม" (Classicism) คา วา่ “คลาสสิก” (Classical) ในทางดนตรีนั้น มีความหมายไปในทางเดียวกนักบัความหมายของอุดมคติของลัทธิ Apollonian ในสมยัของกรีกโบราณ โดยจะมีความหมายที่มีแนวคิดเป็นไปในลักษณะของความนึกถึงแต่สิ่งที่เป็นภายนอกกาย
  • 4. สภาพการเหนี่ยวรั้งทางอารมณ์ ความแจม่แจ้งในเรื่องของรูปแบบ และการผูกติดอยูก่บัหลักทางโครงสร้างอยา่งใดอยา่งหนึ่ง อุดมคติทางคลาสสิกในทางดนตรีนั้นมิได้จา กัดอยูแ่ตใ่นชว่งตอนปลายของศตวรรษที่ 18 เทา่นั้น อุดมคติ ทางคลาสสิกดังกลา่ว ยังเคยมีปรากฏมากอ่นในชว่งสมยัอาร์สอันติควา (Ars Antiqua) และมีเกิดขึ้นให้พบเห็นอีกในบางส่วนของงานประพันธ์การดนตรีในศตวรรษที่ 20 พวกคลาสสิกนิยม (Classicism) ก็มีในดนตรีในชว่งตอนปลาย ๆ ของสมยับาโรก ซึ่งเป็นดนตรีสไตล์ของบาค (J.S. Bach) และของฮัลเดล (Handel) เชน่กนั ในชว่งของความเป็นคลาสสิกนิยมนั้นมี 2 ชว่ง คือ ในตอนต้นและใช้ชว่งตอนปลายของศตวรรษที่ 18 และในชว่งตอนปลายของศตวรรษที่ 18 มกัจะเรียกกนัโดยทั่ว ๆ ไปวา่ เป็นสมยัเวียนนิสคลาสสิก (Viennese Classical Period) เพื่อให้ง่ายตอ่การระบุความแตกตา่งระหวา่งคลาสสิกตอนต้นและตอนปลายนั้นเอง และที่เรียกวา่เป็นสมยัเวียนนิสคลาสสิก ก็เพราะเหตุวา่ชว่งเวลานั้นกรุงเวียนนาของออสเตรียถูกถือวา่เป็นเมืองศูนย์กลางหลักของการดนตรีในสมยันั้ น ลักษณะทั่วๆไปของการดนตรีในสมัยคลาสสิก โดยทั่วไปแล้วดนตรีคลาสสิกสามารถตีความหมายออกมาได้ คือ มองออกจากตัว(Objective) แสดงถึงการเหนี่ยวรั้งจิตใจทางอารมณ์ สละสลวย การขัดเกลาให้งดงามไพเราะ และสัมผัสที่ไมต่้องการความลึกล้า นัก นอกจากความหมายดังกลา่วแล้วคลาสสิกยังมีความหมาย ที่อาจกลา่วไปในเรื่องของประมวลผลงานก็ได้ กลา่วคือ ผลงานทางดนตรี บทบรรเลงที่เห็นได้ชัดวา่มีมากขึ้นกวา่ผลงานทางการประพันธ์โอเปร่าและฟอร์มอื่น ๆ สรุปลักษณะสาคัญของดนตรีสมัยคลาสสิก 1. ฟอร์ม หรือคีตลักษณ์ (Forms) มีโครงสร้างที่ชัดเจนแน่นอน และยึดถือปฏิบัติมาเป็นธรรมเนียมนิยมอยา่งเคร่งครัดเห็นได้จากฟอร์มโซนาตาที่เกิดขึ้นในสมัยคลาสสิก 2. สไตล์ทา นอง (Melodic Style) ได้มีการพัฒนาทา นองชนิดใหมข่ึ้นมีลักษณะที่เป็นตัวของตัวเองและรัดกุมกะทัดรัดมากขึ้น มีความแจม่แจ้งและความเรียบง่ายซึ่งมักจะทาตามกนัมา สไตล์ทา นองลักษณะนี้ได้เข้ามาแทนที่ทา นองที่มีลักษณะยาว ซึ่งมีสไตล์ใช้กลุม่จังหวะตัวโน้ตในการสร้างทา นอง (Figuration Style) ซึ่งนิยมกนัมากอ่นในสมยับาโรก ในดนตรีแบบ Polyphony 3. สไตล์แบบโฮโมโฟนิค (Homophonic Style)
  • 5. ความสาคัญอันใหมที่่เกิดขึ้นแนวทา นองพิเศษในการประกอบทานองหลัก (Theme) ก็คือลักษณะพื้นผิวที่ได้รับความนิยมมากกวา่สไตล์พื้นผิวแบบโพลี่โฟนีเดิม สิ่งพิเศษของลักษณะดังกลา่วนั่นก็คือ Alberti bass ซึ่งก็คือลักษณะการบรรเลงคลอประกอบแบบ Broken Chord ชนิดพิเศษ 4. ในด้านการประสานเสียง (Harmony) นั้น การประสานเสียงของดนตรีสมยันี้ซับซ้อนน้อยกวา่การประสานเสียงของดนตรีสมยับาโรก ได้มีการใช้ตรัยแอ็คคอร์ด ซึ่งหมายถึง คอร์ด โทนิด (I) ดอมินันท์ (V) และ ซับโดมินันท์ (IV)มากยิ่งขึ้น และการประสานเสียงแบบเดียโทนิค (Diatonic harmony) ได้รับความนิยมมากกวา่การประสานเสียงแบบโครมาติค (Chromatic harmony) 5. เคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) ในสมยัคลาสสิกยังคงมีการใช้อยู่โดยเฉพาะในทอ่น พัฒนาของฟอร์มโซนาตาในทอ่นใหญ่ การประพันธ์ดนตรีที่ใช้ฟอร์มทางเคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) ซึ่งเป็นฟอร์มที่มี Counterpoint เป็นวตัถุดิบสาคัญ โดยทั่ว ๆ ไปจะไมมี่อีกแล้วในสมยันี้ 6. การใช้ความดัง - เบา (Dynamics) ได้มีการนาเอาเอฟเฟคของความดัง – เบา มาใช้สร้างเป็นองค์ประกอบของดนตรี ดังเห็นได้จากงานการประพันธ์ของนักประพันธ์หลาย ๆ คน ซึ่งความดัง - เบานั้นมีทั้งการทา เอฟเฟคจากเบาแล้วคอ่ยเพิ่มความดังขึ้นเรื่อย ๆ เรียกวา่เครสเซนโด (Crescendo) และ จากดังแล้วก็คอ่ย ๆ ลดลงจนเบาเรียกวา่ดิมินูเอ็นโด (Diminuendo) ประวตัิผู้ประพันธ์เพลง ในสมยัคลาสสิกได้มีผลงานซึ่งเป็นทั้งชีวิตและงานของนักประพันธ์สาคัญชั้นนาแ ละเป็นที่รู้จักจนถึงปัจจุบัน 4 ทา่น คือ
  • 6. 1. คริสโตฟ วิลลิบาล์ด กลุด (Christoph Willibald Gluck 1714-1798) เกิดเมอื่ วนัที่ 2 กรกฎาคม 1714 ที่เมืองอีราสบาค (Erasbach) ใกล้กบัเมืองไวเดนแวง (Weidenwang) ถึงแกก่รรมที่กรุงเวียนนา วนัที่ 15 พฤศจิกายน 1787 เขาเกิดในบาวาเรีย จากบ้านตั้งแตอ่ายุ 14 ปี และอยูที่่กรุงปร๊าคหลายปี เขาเดินทางและเรียนดนตรีในเวียนนาและอิตาลี เขาเริ่มคุ้นเคยกบัสไตล์ของ Baroque opera และประพันธ์ หลายโอเปร่าในสไตล์ที่มีอยูทั่่วไป ระหวา่งปี1745 – 1760เขาเดินทางทั่วยุโรปเพื่อสารวจโอเปร่าในขณะนั้น ด้วยความเป็นนักทฤษฎีพอ ๆ กบัความเป็นนักประพันธ์ ในปี 1761เขาเห็นวา่สิ่งสาคัญในบัลเลต่์ (Ballet)และโอเปร่า (Opera)ควรเป็นเรื่องราวและอารมณ์ของผู้แสดงไมใ่ชก่ลอุบายในการกระตุ้นความสนใจด้วยเลห่์ ความโดดเดน่ที่ผิด ๆ และเค้าโครงเรื่องประกอบมากมายซึ่งเป็นในแง่การค้าของสมยับาโรก เขาตั้งใจแตง่โอเปร่าในปลายศตวรรษที่ 18 โดยยกเลิก Vocal virtuosity และทา ให้เกิดดนตรีที่สนองความต้องการของการละคร (Drama) งานชิ้นแรกของเขาได้แกโ่อเปร่า ที่เป็นที่นิยมที่สุดคือ Premiered in Vienna ในปี 1762 ซึ่งเป็นพื้นฐานของ ศิลปะแบบคลาสสิกของกรีก โดย Orpheus ( เทพเจ้าออฟีอูส เป็นนักดนตรียิ่งใหญที่่สุดในเทพนิยายโบราณ กลา่วถึงการสูญเสียภรรยาสุดที่รักของเขาแกโ่ลกใต้พิภพ ) สาธารณะชนในเวียนนายังไมไ่ด้ยอมรับผลงานของเขาในขณะนั้นจนกระทั่งปี 1770 เขาย้ายไปปารีสตามคา ขอร้องของเจ้าหญิงมารี อังตัวเนตต์ ( Marie Antoinette) ซึ่งเขาได้ประสบความสาเร็จกับโอเปร่าของเขา Orfeo and Eurydice, Alceste ในปี 1774 และ Iphigenie en Tauride ในปี 1779 ซึ่งเป็นงานที่ยิ่งใหญแ่ละเป็นงานที่แขง่ขันกนัระหวา่งกลุดกบัพิชชินนี (Piccini 1728 – 1800 ) ได้นาออกแสดงผลัดกนัคนละหนเพื่อพิสูจน์ความดีเดน่กนั ในที่สุดกลุดก็ได้รับชัยชนะอยา่งงดงาม พิชชินนีก็ยอมรับวา่งานของกลุดชิ้นนี้ดีเยี่ยมจริง ๆ ทา ให้สังคมส่วนรวมเกี่ยวกบัโอเปร่าและนักวิจารณ์ยอมรับเขามากขึ้นซึ่งงานของเขาเป็นที่นิยมมากในปารีส ขณะนั้น ด้วยการแตง่โอเปร่าครั้งสุดท้ายของเขาในปี 1779 เขาไปที่เวียนนาที่ซึ่งเขาถูกเชิญให้เป็นนักประพันธ์ของราชสานักของจักรพรรด์ิโจเซฟที่ 2 เขาตายในปี 1787 ถึงแมว้า่แนวดนตรีของเขาจะจบลงเมื่อเขาตาย แต่Operatic reform ของเขาได้เป็นแบบอยา่งแกนั่กประพันธ์รุ่นหลังต่อมาและมีอิทธิพลตอ่งานแสดงดนตรีบนเวทีของ Mozart, Berliozและ Wagner(ไพบูลย์ กิจสวสัด์ิ,2535 : 100)
  • 7. 2. ฟรานซ์ โจเซฟ ไฮเดิน (Franz joseph Haydn 1732-1809) ผู้ประพันธ์เพลงยิ่งใหญเ่กิดที่หมูบ่้านเล็ก ๆ แห่งหนึ่งชื่อโรห์เรา (Rohrau) อยูใ่นภาคใต้ของออสเตรีย เมอื่วนัที่ 1 เมษายน ค.ศ.1732 ถึงแกก่รรมที่กรุงเวียนนาเมอื่วนัที่ 31 พฤษภาคม 1809เขาเป็นบุตรคนที่ 2 ในจา นวน 12 คนของครอบครัวชาวนายากจนที่รักดนตรี เมอื่เขาอายุได้ 8 ปี เขาได้เป็นนักร้องในวงประสานเสียงของโบสถ์เซนต์ สติเฟน ( St Stephen) แห่งเวียนนา หลังจากอยูที่่นั่น 9 ปีในปี 1749 เขาออกจากที่นั่นเพราะเสียงแตกเขาไมมี่เงินไมมี่บ้านเขาเลี้ยงชีพด้วยการร้องเพลง เลน่ฮาร์ปสิคอร์ด (Harpsichord) และสอนดนตรี ตลอดเวลาเขาฝึกหัดและเรียนดนตรีอยา่งต่อเนื่องเขาเริ่มแตง่เพลงและได้เป็นผู้นาวงออร์เคสตราของเคานต์ มอร์ซิน (Count Morzin of Bohemia) ซิมโฟนีชิ้นแรกของเขานาไปสู่การรับรองในปี 1761 ตอ่จากนั้นไฮเดินก็ต้องออกมาอยู่กบัเจ้าชายปอล แอนตัน อีสเตอร์ฮาซี่ (Prince Paul anton Esterhazy) เขาทา งานกบั ตระกูลอีสเตอร์ฮาซี่เป็นเวลา 30 ปี โดยความเป็นจริงเป็นเหมือนคนรับใช้ แตถึ่งอยา่งไรก็ดี เขาได้ประพันธ์ซิมโฟนี โอเปร่าและเชมเบอร์ มิวสิกเป็นจา นวนมากเขามีชื่อเสียงมากในยุโรปด้านดนตรี เขาพบ Mozart ตอนเด็ก ๆ ในปี 1781 และกลายเป็นเพื่อนสนิทกนัและชื่นชมในดนตรีของกนัและกนัมาก เมอื่เจ้าชาย นิโคลาส ‘The Magnificent' แห่งตระกูลอิสเตอร์ฮาซีได้สิ้นพระชนม์ลงในปี 1790 เขาถูกปลดออกโดยผู้รับตา แหน่งตอ่เขาได้รับเงินบา นาญและรายได้เข้าจากสาธารณะชนและนักเรียนของเข า จากนั้นย้ายกลับเวียนนาและถูกเชิญไปลอนดอนโดย เจ.พี. ซาโลมอน (J.P. Salomon) เพื่อไปจัดแสดงคอนเสิร์ต ในระหวา่งการเดินทางนี้เป็นการเดินทางไปอังกฤษครั้งที่ 2 โดยตกลงจะประพันธ์เพลงให้ 12 เพลง คือชุด London symphonies เพลงสุดท้าย เขาถูกเชิญให้ประพันธ์ ออราทอริโอ (Oratorio) ในสไตล์ของไฮเดิล (Handel) เขาประพันธ์ได้ 2 เรื่องและดนตรีของเขาเปลี่ยน the majesty of the Baroque ไปเป็นการเริ่มต้นของศตวรรษที่ 19 โดย Choruses เชน่ The Heavens are Telling from The Creation แสดงครั้งแรกในปี1798 ปัจจุบันรู้จักในชื่อวา่ The father of the Symphony and the String quartet ที่จริงแล้วเขาไมไ่ด้คิดค้นมนัขึ้นเองทั้ง 2 เรื่องแตไ่ด้พัฒนามนัจากรูปแบบที่มีอยูก่อ่นแล้วทั่วยุโรป ไฮเดิลประพันธ์ Sonatas, quartets, symphonies, operas,concertos เป็นจา นวนหลายร้อย ดนตรีของเขาดูง่ายมีเสน่ห์มีการตอ่สู้ของแฟนซีและตลกที่แท้จริงผสมอยูใ่น Classical veneer ตัวอยา่งที่มีชื่อเสียงมากที่สุดได้แก่The Surprise ในทอ่น (movement) ที่ 2 ของซิมโฟนีของเขา No. 94 in G major แตก่ารทา ตามความคิดของเขาจะพบได้ใน The finale of the Symphony no. 82
  • 8. หรือเรียกอีกชื่อวา่ The bear เป็น The bass drone และ Chortling bassoons ซึ่งเป็นเรื่องของหมีที่เต้นรา เมอื่ถึงฤดูใบไมผ้ลิในปี 1809 กองทัพฝรั่งเศสภายใต้การนาของนโปเลียน ยกทัพเข้ายึดครองเวียนนา ออสเตรียไวไ้ด้ เขาเศร้าเสียใจมากกบัการเสื่อมอยา่งรวดเร็วและได้ถึงแกก่รรมด้วยอาการสงบในวนัที่ 31 พฤษภาคม 1809 ทหารฝรั่งเศสที่กา ลังยึดครองเวียนนาอยูข่ณะนั้นได้ทา พิธีฝังศพให้แกเ่ขาอยา่งสมเกียรติ ณ โบสถ์แห่งหนึ่งในเวียนนา 3. โมสาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart 1756-1791) ผู้ประพันธ์เพลงที่ยิ่งใหญอี่กผู้หนึ่งในสมยัคลาสสิกเป็นชาว ออสเตรีย กา เนิดในครอบครัวนักดนตรี เมืองซาลส์บวร์ก(Salzbutrg) เกิดเมอื่วนัที่ 27 มกราคม ค.ศ.1756 ถึงแกก่รรมที่ เวียนนา วนัที่ 5 ธันวาคม ค.ศ.1791 และมีชื่อเสียงในงานประพันธ์ดนตรีประเภทซิมโฟนีเชมเบอร์ มิวสิกและโอเปร่าเมอื่เขาอายุ 4 ปี เขาสามารถเรียนดนตรีได้ครั้งละครึ่งชั่วโมงเมื่ออายุ 5 ปี เขาสามารถเลน่คลาเวียร์ ได้ดีอยา่งไมน่่าเชื่อ เขาเขียนซิมโฟนีชิ้นแรกเมื่อเขาอายุ 8 ปี เขาเดินทางทั่วยุโรปกบัพอ่ของเขาชื่อ เลโอโปลด์ โมสาร์ท (Leopard Mozart 1719 –1787) ซึ่งเป็นนักไวโอลิน และบางครั้งเป็นนักประพันธ์เพลงและเป็นผู้กา กบันักร้องประสานเสียงหรือวงออร์เคสตราในราชสานักของ อาร์ชบิชอพที่ซาลส์บวร์ก(Archbishop of Salzburg) ทักษะทางคนตรีของเขาได้ปรากฏต่อราชสานักครั้งแรกที่เมืองมิวนิคในปี1762 และปรากฏตอ่สาธารณะชนในระหวา่งอายุ 7ถึง 15 ปี เขาใช้เวลาครึ่งหนึ่งในชีวิตในการเดินทางทอ่งเที่ยวไปเขาจึงซึมซับและเรียนรู้สานวนดนตรีของยุโรปอยา่งห ลากหลาย สะสมจนเป็นสไตล์ของตัวเอง ในปี 1777 เขาทอ่งเที่ยวไปกบัมารดาของเขาที่เมืองมิวสิค แมนเฮม และปารีส และที่ ปารีส มารดาของเขาได้ถึงแกก่รรมอยา่งกะทันหันในเดือนมกราคม 1778 เขาตกงาน จึงกลับไปที่บ้านเกิดในปี1779และได้เป็นนักออร์แกนของราชสานักอาร์ชบิชอพ ที่ซาลส์บวร์ก (Archship of Salzburg)และถูก ปลดออกในปี 1781 หลังจากนั้นเขากลายเป็นนักดนตรีอิสระคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ดาเนินชีวิต
  • 9. โดยไมข่ึ้นกบัราชสานักหรือโบสถ์หรือผู้อุปถัมถ์ใด ๆ เขาย้ายไปที่เวียนนาและได้อยูก่บัครอบครัว เวเบอร์ (The Webers) ซึ่งเป็นครอบครัวที่เขาพบในปี 1777 เขาแตง่งานกบัคอนสตันซ์ เวเบอร์ (Constanze Weber) ในเดือนสิงหาคม 1782 หลังจากนั้นไมน่านทุกอยา่งเริ่มดีขึ้น ในปี 1782 เริ่มด้วยผลงาน The Singspiel Die Entfuhrung ans dem Serail (The Abduction from the Seraglio) โมสาร์ทอาจจะเป็นนักประพันธ์คนเดียวในประวัติศาสตร์ที่เขียนเพลงอยา่งประณีตทุกรูปแบบของดนตรีตล อดชีวิตของเขา ผลงาน ประเภทเซเรเนด (Serenades), Divertimenti,Dances ที่เขาเขียนขึ้นเพื่อความบันเทิงและงานปาร์ตี้ของขุนนาง ล้วนเป็นความยิ่งใหญข่องสมยัคลาสสิก (Classical age of elegance)และถูกดัดแปลงโดยนักประพันธ์ชื่อ Eine Kleine Nachtmusik เป็น Serenade in G major ในเวียนนาเขาเป็นคนสาคัญในราชสานักของจักรพรรด์ิโจเซฟที่ 2 (Joseph1741 – 1790) ทซี่ึ่งเขาได้เขียนดนตรีที่ยิ่งใหญม่ากมาย ตัวอยา่งเชน่ The last string quartets, The string quintets, The quintet for clarinet and strings, The mass in C major, Requiem (ซึ่งเขาเขียนยังไมเ่สร็จ), The Serenade for thirteen wind instruments, The Clarinet connect, และ The late piano concerto นอกจากนี้ Piano concerto ของเขายังคงมีรูปแบบของ The classic concerto form เขาปรับปรุงพัฒนามาเป็นงานของ Symphonic breadth and scope, Concerto ของเขามกัเริ่มต้นด้วยรูปแบบโซนาตาในท่อนที่ 1 ตามด้วยทอ่นที่ 2 ที่นุ่มนวลและเป็นทา นองเพลงโดยปกติมีเพลงที่มีชีวิตชีวารวมอยู่ด้วยพร้อมทั้งมี รอนโด (Rondo) หมายถึงเพลงที่บรรเลงโดยการย้อน ที่ดึงดูดความสนใจ เชน่ The piano concerto no.22 in E flat ในซิมโฟนี 3 ชิ้นสุดท้าย ชิ้นที่ 2 คือ Symphony no.40 in G minor เขาได้ใส่ passion และการแสดงออกซึ่งไมเ่คยมีมากอ่นในการเขียนซิมโฟนีจนกระทั่งถึงสมยัของ เบโธเฟน (Beethoven) งานด้านอุปรากรนั้นในปี ค.ศ. 1786 โมสาร์ทได้ร่วมมือกบัลอเรนโซ ดา พอนเต้ (Lorenzo Da Ponte) ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญประจา โรงละครหลวงในกรุงเวียนนาเขียน The marriage of Figaro
  • 10. ขึ้น อุปรากรเรื่องนี้เมื่อแสดงครั้งแรกไมป่ระสบความสาเร็จดังที่ตั้งใจไวแ้ต่ตอ่มามีคนนาไปแสดงที่ กรุงปร๊าค นครหลวงของโบเฮเมีย ประเทศเชคโกสโลวาเกีย ได้รับความสาเร็จอยา่งงดงาม ค.ศ. 1787 เขียนอุปรากรเรื่อง ดอน โจวนันี (Don Giovanni) ซึ่งเป็นเรื่องราวเกยี่วกบัการผจญภัยของชายหนุ่มนัก รักที่ชื่อวา่ ดอน จิโอวนันี หรือดอน ฮวน (Don Juan) ได้สาเร็จ ในระหวา่งที่เขาอยูที่่เวียนนาได้เป็นเพื่อนสนิทกบัไฮเดิล (Franz Joseph Haydn) ซึ่งมีอิทธิพลตอ่ผลงานของเขาในระหวา่งปี 1782 – 1785 โมสาร์ท (Mozart) ได้ประพันธ์ Six string quartets ซึ่งอุทิศให้ ไฮเดิล บางส่วนเขาทั้งสองเลน่ด้วยกนัด้วยการจัดการการเงินที่ผิดพลาดและด้วยความไมมี่ประสบการณ์ชีวิตขาดกา รไตร่ตรอง และความประพฤติที่เหมือนเด็กที่ปีกกล้าขาแข็งและใช้ชีวิตอยา่งเจ้านายทา ให้เขาตกระกา ลา บาก ในการดา เนินชีวิตภายในปี 1790 เขาได้เขียนจดหมายถึงเพื่อนหลายคนบรรยายถึงเขาและครอบครัว ( เขาและภรรยามีลูกด้วยกนั 6 คน มีชีวิตรอดอยูเ่พียง 2 คน ) ความลา บากจนต้องขอ ทานเพื่อยังชีพ และในระหวา่งนี้เอง เขาก็ป่วยหนักด้วยโรคไตแต่ด้วยความสาเร็จของ The Magic Flute เขาได้รับเงินจา่ยประจา ปี เขาจึงเริ่มต้นมีความมนั่คงทางการเงินอีกครั้งในขณะที่โรคของเขานาเขาไปสู่ความตายเมื่อเขาอายุได้ 36 ปี เขาถูกฝังเหมือนชาวเวียนนาทั่วไปโดยคา บัญชาของจักรพรรด์ิโจเซฟในหลุมศพสามญัทั่วไปซึ่งที่ฝังศพแน่น อนจนปัจจุบันก็ยังไมท่ราบนักประพันธ์ในปลายศตวรรษที่ 19 ที่บูชาและยกยอ่งเขามากได้แก่Richard Wagner และ Peter Tchaikovsky และดนตรีของเขามีอิทธิพลตอ่ The neo – classical compositions ของ Igor Stravinsky และ Sergei Prokofiev ในศตวรรษที่ 20 4 . เบโธเฟน (Ludwig van Beethoven 1770-1827) ผู้ประพันธ์เพลงชาวเยอรมนัผู้ยิ่งใหญใ่นโลกของดนตรีตะวนัตก เกิดเมอื่วนัที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1770 ที่กรุงบอนน์ เป็นผู้นาดนตรีในรูปแบบใหมจ่ากสมยัคลาสสิกมาสู่สมัยโรแมนติก และมีชื่อเสียงในงานประพันธ์ดนตรีประเภทซิมโฟนี เชมเบอร์ มิวสิก ดนตรีสาหรับเปียโน แมส โอเปร่า และออราทอริโอ ในชว่งของเบโธเฟน แสดงถึงจุดสูงสุด ในการพัฒนาฟอร์มและสไตล์ดนตรีแบบคลาสสิก แบบตา่ง ๆ ลุดวิก ฟาน เบโธเฟน ได้ประพันธ์ซิมโฟนีไว้9 บท แตล่ะบทล้วนได้รับความชื่นชอบจากผู้ฟังเป็นอยา่งสูงและตา่งก็มีคุณสมบัติเฉพาะตัวไมซ่้า แบบกนั เขาได้เริ่มแตง่ซิมโฟนีหมายเลข 1 เมอื่อายุ 27 ปี (ค.ศ.1797) และแตง่ซิมโฟนีหมายเลข 9 เสร็จลงเมอื่อายุ 53
  • 11. ปี (ค.ศ. 1823 กอ่นถึงมรณกรรม 4 ปี) รวมชว่งเวลาของเขาในการประพันธ์ซิมโฟนี 25 ปี ซึ่งนับวา่เป็นระยะเวลานานพอที่จะทา ให้ซิมโฟนีทั้ง 9 บทมีความแตกตา่งกนั เบโธเฟนได้ประเดิมความตื่นเต้นให้เกิดขึ้นทันทีในตอนเริ่มต้นซิมโฟนีบทแรกของเ ขาด้วยเสียงที่กระด้างหู จนทา ให้นักวิจารณ์ดนตรีร่วมสมยัเดียวกนักับเขาถึงกับตะลึงและกลา่วออกมาวา่ “ถึงแมว้า่เขา (เบโธเฟน) พยายามจะเคร่งครัดในแบบแผนคลาสสิกแตเ่ขาก็อดที่จะแหวกแนวไมไ่ด้” อีก 5 ปีหลังจากซิมโฟนีหมายเลข 1 ได้เริ่มขึ้นเขาก็ได้แตง่ซิมโฟนีหมายเลข 2 ในชว่งเวลาที่เขาได้รับความทรมานอยา่งหนักทั้งกายและทางใจ ประจักษ์พยานในเรื่องนี้เราจะทราบเมอื่ได้อา่น “ไฮลิเก็นช์ตัดท์ เทสตาเมนท์” อันเป็นที่มาของบทประพันธ์สั้น Fur Elise ซึ่งตัวเขาเองได้บันทึกไวอ้ยา่งชวนให้น่าเห็นใจในซิมโฟนีบทนี้ปรากฏวา่ไมมี่ร่องรอยของความทุกข์หมน่ห มองแฝงอยูเ่ลยตรงกนัข้ามบทเพลงกลัเพียบพร้อมไปด้วยความงดงามและความสง่าผา่เผยและเบโธเฟนยังคง ยึดมนั่ แบบแผนคลาสสิก เชน่เดียวกบัซิมโฟนีบทแรกเบโธเฟนได้ให้ชื่อซิมโฟนีหมายเลข 3 ของเขาวา่ "Eroica" ซึ่งแสดงให้เห็นวา่เขาเป็นคนที่ยกยอ่งเทิดทูนวีรบุรุษ ขณะที่เขาประพันธ์งานชิ้นนี้เขาเริ่มเป็นตัวของตัวเองแล้ว บทเพลงนี้ประกอบด้วยความโศกสลด ความมีพลังอา นาจ อีกทั้งความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว ซึ่งคุณลักษณะเหลา่นี้ ปรากฏอยา่งน่าทึ่งด้วยภาษาของดนตรี ซิมโฟนีหมายเลข 4 มีบางสิ่งบางอยา่งคล้ายคลึงกับซิมโฟนีหมายเลข 2 ผลงานชิ้นนี้ ได้สะท้อนอารมณ์อันออ่นโยนละมุนละไมของเบโธเฟนออกมามากกวา่บทใด ๆ เขาแตง่ขึ้น ขณะที่จิตใจกา ลังอิ่มเอมด้วยความรัก ซิมโฟนีบทนี้ได้กอ่ให้เกิดการตัดกนัอยา่งเดน่ชัดของซิมโฟนีทั้งสอง
  • 12. ที่อยูข่้างเคียง คือ ซิมโฟนีหมายเลข 3 อันห้าวหาญ และซิมโฟนีหมายเลข 5 ที่เต็มไปด้วยการต่อสู้ดิ้นรน ซึ่งโรเบ์ิรท ชูมนัน์ คีตกวีผู้มีชื่อเสียงโดง่ดังในสมยัโรแมนติกกลา่ววา่ "... ดุจสาวกรีกที่มีโฉมสคราญยืนอยู่ ระหวา่งยักษ์ใหญไ่วคิงสองตน ..."ในปี ค.ศ.1807 ความพิการของหูทั้งสองข้างของเขาซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ปีค.ศ.1800 ได้กา เริบหนักขึ้น และส่ออาการวา่จะไมไ่ด้ยินอะไรอีกตอ่ไป ได้ ขอให้ทา่นลองคิดดูวา่ ศิลปินที่ใช้กระแสเสียงเป็นสื่อกลางในการสร้างสรรค์ผลงานจะระทมทุกข์เพียงใด เมอื่รู้วา่ความยอ่ยยับนี้กา ลัง มาสู่เขาอยา่งหลีกเลี่ยงไมไ่ด้ จากเสียงของตัวโน้ต 4 ตัว "สั้น-สั้น-สั้น- ยาว" ที่ผู้ฟังส่วนมากคนุ้หูในทอ่นแรก ไปจนกระทั่งเสียงแห่งความมีชัยชนะ เคราะห์กรรมในทอ่นสุดท้ายของซิมโฟนีหมายเลข 5 ยอ่มจะไมเ่ป็นที่สงสัยเลย ซิมโฟนีบทนี้ได้กลายเป็นซิมโฟนีที่มีชื่อเสียง โดง่ดังที่สุดของเบโธเฟนหรือแมแ้ต่ของคีตกวีทั้งปวงที่ได้แตง่ ซิมโฟนีขึ้น เบโธเฟนได้ใช้ธรรมชาติเป็นสิ่งปลอบประโลมใจในยามทุกข์ เขามกัจะออกไปสู่ชนบทเสมอ เพื่อสัมผัสกบัท้องทุง่ที่เขียวชอุ่ม อากาศสดชื่น แสงแดดออ่น ๆ เสียงของกระแสน้าในลา ธาร เสียงนกตามกิ่งไม้พายุฝน ความชุม่ฉ่าภายหลังฝนตก ฯลฯ สิ่งและสภาวะเหลา่นี้ ได้นามาบรรจุลงอยา่งสมบูรณ์แล้วในซิมโฟนีหมายเลข 6 ซึ่งผู้ฟังรู้จักกนัดีชื่อวา่ "Pastoral" เบโธเฟนนั้นไมเ่พียงแตจ่ะเป็นนักธรรมชาตินิยม ที่ยิ่งใหญค่นหนึ่ง หากเขายังเป็นผู้ให้แนวคิดใหม่ๆ กบัคีตกวีโรแมนติกในสมยัตอ่มาอีกด้วย เขาได้เริ่มวางเค้าโครง ซิมโฟนีหมายเลข 7 เมอื่ปี ค.ศ. 1811 และได้แตง่เสร็จเรียบร้อยในปีตอ่มา ซิมโฟนีบทนี้ ริชาร์ด วากเนอร์ ได้ให้ฉายาวา่ "The apotheosis of the Dance" ทั้งนี้เพราะวากเนอร์ได้ฟังบทบรรเลงนี้เขารู้สึกเหมือนวา่ได้ร่วมสนุกกบัแบ็คคัส เทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่น และเหลา่บริวารในงานเลี้ยงฉลองกนัอยา่งครึกครื้นกอ่นที่ความโอฬารตามแบบฉบับของเบโธเฟนจะได้ปรา กฏแกผู่้ฟังในเวลาตอ่มา เบโธเฟนได้ถูกนักวิจารณ์ร่วมสมยั ประนามเขาอยา่งไมไ่วห้น้าวา่ เป็นคนป่าเถื่อนและมีสติไมส่มบูรณ์
  • 13. ในซิมโฟนีหมายเลข 8 เบโธเฟนได้สอดแทรกการมองโลกในแง่ดีและอารมณ์ขันของเขาลงไปอยา่งได้ผล ซิมโฟนีบทนี้ก็เชน่เดียวกบัซิมโฟนีหมายเลข 4 กลา่วคือ มนัเปรียบดุจดอกกุหลาบอันบอบบาง อยูร่ะหวา่งผาหินทั้งสอง (คือซิมโฟนีหมายเลข 7 และหมายเลข 9) ซิมโฟนีหมายเลข 9 "Choral" ได้อุบัติขึ้นหลังจากหูทั้งสองของเขาไมส่ามารถจะรับเสียงอะไร ๆ ได้อีกตอ่ไป เบโธเฟนได้แสดงความปรารถนาอยา่งแรงกล้าในอันที่จะเห็นมนุษย์อยูร่่วมกนัอยา่งสันติ เขาได้กา หนดให้มีการขับร้องบทกวีของซิลเลอร์ในทอ่นสุดท้ายของซิมโฟนีที่ยิ่งใหญที่่สุดบทนี้เบโธเฟนได้ มีความคิดที่ประพันธ์บทเพลงที่มีการขับร้องเดี่ยวและประสานเสียงมาตั้งแตปี่ ค.ศ.1808 ซึ่งจะพบได้จากการทดลองใน Choral Fatasia โอปุส 80 ของเขาจากนั้นมาเขาก็ได้ให้ความสนใจกบั Missa solemnis อันเป็นผลงานยิ่งใหญท่างด้านศาสนาเสียหลายปี จนได้มาแตง่ซิมโฟนีบทนี้และสาเร็จลงเมอื่เดือนสิงหาคม ปี ค.ศ.1823 เขาได้ทิ้งชว่งเวลาห่างถึง 11 ปี (ค.ศ.1812-1823) หลังจากได้แตง่ซิมโฟนีหมายเลข 8 เสร็จ ซิมโฟนีหมายเลข 9 นี้ได้ออกแสดงครั้งแรกที่ Karnthner theater ในนครเวียนนาเมอื่วนัที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ.1824 โดย Gesselschaft der Musikfreunde การแสดงครั้งแรกปรากฏวา่เต็มไปด้วยความทะลักทุเลกนัเนื่องมาจากวงดนตรีอ่อนซ้อม และความสับสนในหมูนั่กร้อง อยา่งไรก็ดี การแสดงครั้งนั้นได้มีเหตุการณ์อันน่าสะเทือนใจเกิดขึ้น เมอื่ซิมโฟนีจบลง ผู้ฟังได้ปรบมือพร้อมกับโห่ร้องอยา่งกึกก้องเป็นระยะเวลานาน จนแทบจะทา ให้โรงละครนั้นพังลงแตเ่บโธเฟนผู้ซึ่งยืนอยูใ่นกลุ่มนักดนตรีเป็นผู้เดียวเทา่นั้นที่ไมส่ามารถไ ด้ยินเสียงแห่งความปิติยินดี สายตาของเขายังคงจับจ้องอยู่ที่โน้ตเพลง จนกระทั่งนักร้องสาวเสียงโซปราโนนามวา่ คาโรลิน อุงเกอรี เกิดสงสารเขาจนน้าตาคลอได้ค่อย ๆ หันตัวเขาอยา่งเบา ๆ ไปสู่ผู้ฟัง เขาจึงได้เห็นทุกคนในที่นั้นตา่งแสดงความปลาบปลื้มตอ่ความสาเร็จของเขา แตก่็เป็ความสาเร็จที่เขาไมส่ามารถสัมผัสได้ด้วยโสตประสาทตราบสุดท้ายแห่งชีวิต ในระยะเวลา 57 ปี ของชีวิตเบโธเฟนกลา่วได้วา่ เป็นชว่งเวลาแห่งการสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีในรูปแบบใหมจ่ากคลาสสิกมาสู่สมัยโรแมนติกด้วย ความ
  • 14. ตั้งใจจริงผนวกกบัความมีอัจฉริยะทา ให้เบโธเฟนเป็นผู้ประพันธ์เพลงที่ยิ่งใหญต่ลอดกาล ยากที่จะหาผู้ประพันธ์คนอื่นมาเทียบเทียมได้ จึงไมน่่าแปลกใจที่เพลงของเบโธเฟนยังคงเป็นที่นิยมฟังและนิยมบรรเลงกนัตลอดมาจนกระทั่งปัจจุบัน