SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่
ประวัติดนตรีไทย
จากการสันนิษฐานของท่านผู้รู้ทางด้านดนตรีไทยโดยการพิจารณาหาเหตุผลเกี่ยวกับกาเนิดหรือที่มาของดนตรีไทย
ก็ได้มีผู้เสนอแนวทัศนะในเรื่องนี้ไว้ 2ทัศนะ
ที่แตกต่างกันคือ
ทัศนะที่ 1 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยได้แบบอย่างมาจากอินเดียเนื่องจากอินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ
ที่สาคัญแห่งหนึ่งของโลกอารยธรรมต่างๆของอินเดีย
ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อประเทศต่างๆในแถบเอเชียอย่างมากทั้งในด้านศาสนาประเพณีความเชื่อตลอดจนศิลปแขนงต่าง ๆ
โดยเฉพาะทางด้านดนตรี ปรากฎรูปร่าง
ลักษณะเครื่องดนตรี ของประเทศต่างๆในแถบเอเชีย เช่นจีน เขมรพม่า อินโดนิเซีย และมาเลเซียมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
เป็นส่วนมากทั้งนี้เนื่องมาจากประเทศเหล่านั้นต่างก็
ยึดแบบฉบับดนตรี ของอินเดีย เป็นบรรทัดฐานรวมทั้งไทยเราด้วยเหตุผลสาคัญที่ท่านผู้รู้ได้เสนอทัศนะนี้ก็คือลักษณะของ
เครื่องดนตรีไทยสามารถจาแนกเป็น4ประเภทคือ
เครื่องดีด
เครื่องสี
เครื่องตี
เครื่องเป่า
ใกล้เคียงกับลักษณะเครื่องดนตรี อินเดียตามที่กล่าวไว้ในคัมภีร์ "สังคีตรัตนากร"ของอินเดียซึ่งจาแนกเป็น 4 ประเภท
เช่นกันคือ
ตะตะคือ เครื่องดนตรี ประเภทมีสาย
สุษิระคือ เครื่องเป่า
อะวะนัทธะหรืออาตตะ คือ เครื่องหุ้มหนังหรือ กลองต่าง ๆ
ฆะนะ คือเครื่องตี หรือเครื่องกระทบ
การสันนิษฐานเกี่ยวกับกาเนิดหรือที่มาของดนตรีไทยตามแนวทัศนะข้อนี้เป็นทัศนะที่มีมาแต่เดิมนับตั้งแต่ได้มีผู้สนใจและ
ได้ทาการค้นคว้าหาหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้นและนับว่าเป็นทัศนะที่ได้รับการนามากล่าวอ้างกันมากบุคคลสาคัญที่เป็น
ผู้เสนอแนะแนวทางนี้คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพพระบิดาแห่งวงการประวัติศาสตร์ของไทย
ทัศนะที่ 2 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยเกิดจากความคิดและสติปัญญาของคนไทยเกิดขึ้นมาพร้อมกับคนไทยตั้งแต่
สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีนแล้ว
ทั้งนี้เนื่องจากดนตรี เป็นมรดกของมนุษยชาติทุกชาติทุกภาษาต่างก็มีดนตรี ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ของตนด้วยกันทั้งนั้น
ถึงแม้ว่าในภายหลังจะมีการรับเอาแบบอย่างดนตรี ของต่างชาติเข้ามาก็ตามแต่ก็เป็นการนาเข้ามาปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับลักษณะและนิสัยทางดนตรีของคนในชาตินั้นๆไทยเราตั้งแต่สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้
ของประเทศจีนก็คงจะมีดนตรี ของเราเองเกิดขึ้นแล้วทั้งนี้จะสังเกตเห็นได้ว่าเครื่องดนตรีดั้งเดิมของไทยจะมีชื่อเรียกเป็นคาโดด
ซึ่งเป็นลักษณะของคาไทยแท้ เช่น
เกราะ,โกร่ง,กรับ
ฉาบ, ฉิ่ง
ปี่, ขลุ่ย
ฆ้อง, กลอง .. เป็นต้น
ต่อมาเมื่อไทยได้ อพยพ ลงมาตั้งถิ่นฐานในแถบแหลมอินโดจีนจึงได้มาพบ
วัฒนธรรมแบบอินเดียโดยเฉพาะเครื่องดนตรีอินเดียซึ่งชนชาติมอญและเขมร รับไว้ก่อนที่ไทยจะอพยพเข้ามาด้วยเหตุนี้
ชนชาติไทยซึ่งมีนิสัยทางดนตรีอยู่แล้วจึงรับเอาวัฒนธรรมทางดนตรีแบบอินเดียผสมกับแบบมอญและเขมรเข้ามาผสมกับดนตรี
ที่มีมาแต่เดิมของตนจึงเกิดเครื่องดนตรีเพิ่มขึ้นอีกได้แก่
พิณ
สังข์
ปี่ไฉน
บัณเฑาะว์
กระจับปี่ และจะเข้ เป็นต้น
ต่อมาเมื่อไทยได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในแหลมอินโดจีนอย่างมั่นคงแล้วได้มีการติดต่อสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านในแหลมอินโดจีน
หรือแม้แต่กับประเทศทางตะวันตก
บางประเทศที่เข้ามาติดต่อค้าขายทาให้ไทยรับเอาเครื่องดนตรีบางอย่างของประเทศต่างๆเหล่านั้นมาใช้เล่นในวงดนตรีไทยด้วยเช่น
กลองแขกปี่ชวา ของชวา (อินโดนิเซีย)กลองมลายูของมลายู(มาเลเซีย)เปิงมางตะโพนมอญปี่มอญ และฆ้องมอญของมอญ
กลองยาวของพม่าขิมม้าล่อของจีนกลองมริกัน(กลองของชาวอเมริกัน)เปียโนออร์แกนและ ไวโอลีนของประเทศทางตะวันตก
เป็นต้น
ประวัติดนตรีไทยในสมัยสุโขทัย
นับตั้งแต่ไทยได้มาตั้งถิ่นฐานในแหลมอินโดจีนและได้ก่อตั้งอาณาจักรไทยขึ้นจึงเป็นการเริ่มต้นยุคแห่งประวัติศาสตร์ไทย
ที่ปรากฎหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรกล่าวคือเมื่อไทยได้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นและหลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้แล้วนับตั้งแต่นั้นมาจึงปรากฎหลักฐานด้านดนตรีไทยที่เป็นลายลักษณ์อักษรทั้งในหลักศิลาจารึก
หนังสือวรรณคดีและเอกสารทางประวัติศาสตร์ ในแต่ละยุคซึ่งสามารถนามาเป็นหลักฐานในการพิจารณา
ถึงความเจริญและวิวัฒนาการของดนตรีไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นต้นมาจนกระทั่งเป็นแบบแผนดังปรากฎในปัจจุบัน
สมัยสุโขทัย ดนตรีไทยมีลักษณะเป็นการขับลานาและร้องเล่นกันอย่างพื้นเมืองเกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทย
ในสมัยนี้ปรากฎหลักฐานกล่าวถึงไว้ในหนังสือไตรภูมิพระร่วงซึ่งเป็นหนังสือวรรณคดีที่แต่งในสมัยนี้ได้แก่ แตร,สังข์,มโหระทึก,
ฆ้อง, กลอง,ฉิ่ง, แฉ่ง (ฉาบ),บัณเฑาะว์พิณ,ซอพุงตอ(สันนิษฐานว่าคือซอสามสาย)ปี่ไฉน, ระฆัง,และ กังสดาลเป็นต้น
ลักษณะการผสมวงดนตรี ก็ปรากฎหลักฐานทั้งในศิลาจารึกและหนังสือไตรภูมิพระร่วงกล่าวถึง"เสียงพาทย์เสียงพิณ"
ซึ่งจากหลักฐานที่กล่าวนี้สันนิษฐานว่าวงดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยมีดังนี้คือ
1. วงบรรเลงพิณมีผู้บรรเลง1 คนทาหน้าที่ดีดพิณและขับร้องไปด้วยเป็นลักษณะของการขับลานา
2. วงขับไม้ ประกอบด้วยผู้บรรเลง3 คนคือคนขับลานา1 คนคนสี ซอสามสายคลอเสียงร้อง1 คนและ คนไกวบัณเฑาะว์
ให้จังหวะ 1 คน
3. วงปี่พาทย์เป็นลักษณะของวงปี่พาทย์เครื่อง5มี 2 ชนิด คือ
3.1วงปี่พาทย์เครื่องห้าอย่างเบาประกอบด้วยเครื่องดนตรีชนิดเล็กๆจานวน5 ชิ้น คือ1. ปี่ 2. กลองชาตรี 3. ทับ (โทน) 4. ฆ้องคู่
และ 5. ฉิ่ง ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรี (เป็นละครเก่าแก่ที่สุดของไทย)
3.2วงปี่พาทย์เครื่องห้าอย่างหนักประกอบด้วยเครื่องดนตรีจานวน5ชิ้น คือ1. ปี่ใน 2. ฆ้องวง (ใหญ่) 3. ตะโพน4. กลองทัดและ
5. ฉิ่ง ใช้บรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลงประกอบการแสดงมหรสพต่างๆจะเห็นว่าวงปี่พาทย์เครื่องห้า
ในสมัยนี้ยังไม่มีระนาดเอก
4. วงมโหรี เป็นลักษณะของวงดนตรีอีกแบบหนึ่งที่นาเอาวงบรรเลงพิณกับวงขับไม้ มาผสมกันเป็นลักษณะของวงมโหรีเครื่องสี่
เพราะประกอบด้วยผู้บรรเลง4คนคือ 1. คนขับลานาและตีกรับพวงให้จังหวะ2. คนสีซอสามสายคลอเสียงร้อง3. คนดีดพิณและ
4. คนตีทับ (โทน)ควบคุมจังหวะ
ประวัติดนตรีไทยในสมัยอยุธยา
ปรากฎหลักฐานเกี่ยวกับดนตรีไทยในสมัยนี้ในกฏมลเฑียรบาลซึ่งระบุชื่อเครื่องดนตรีไทยเพิ่มขึ้นจากที่เคยระบุไว้
ในหลักฐานสมัยสุโขทัยจึงน่าจะเป็นเครื่องดนตรี ที่เพิ่งเกิดในสมัยนี้ได้แก่ กระจับปี่ ขลุ่ย จะเข้ และ รามะนา
นอกจากนี้ในกฎมณเฑียรบาลสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(พ.ศ.1991-2031) ปรากฎข้อห้ามตอนหนึ่งว่า"...ห้ามร้องเพลงเรือ
เป่าขลุ่ยเป่าปี่ สีซอ ดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีโทนทับในเขตพระราชฐาน..."ซึ่งแสดงว่าสมัยนี้ดนตรีไทยเป็นที่นิยมกันมาก
แม้ในเขตพระราชฐานก็มีคนไปร้องเพลงและเล่นดนตรีกันเป็นที่เอิกเกริกและเกินพอดี
จนกระทั่งพระมหากษัตริย์ต้องทรงออกกฎมลเฑียรบาลดังกล่าวขึ้นไว้เกี่ยวกับลักษณะของวงดนตรีไทยในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลง
และพัฒนาขึ้นกว่าในสมัยสุโขทัยดังนี้คือ
1. วงปี่พาทย์ในสมัยนี้ก็ยังคงเป็นวงปี่พาทย์เครื่องห้าเช่นเดียวกับในสมัยสุโขทัยแต่มีระนาดเอกเพิ่มขึ้นดังนั้นวงปี่พาทย์เครื่องห้า
ในสมัยนี้ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ดังต่อไปนี้คือ
ระนาดเอก
ปี่ใน
ฆ้องวง (ใหญ่)
กลองทัดตะโพน
ฉิ่ง
2. วงมโหรี ในสมัยนี้พัฒนามาจากวงมโหรีเครื่องสี่ในสมัยสุโขทัยเป็นวงมโหรีเครื่องหกเพราะได้เพิ่มเครื่องดนตรี เข้าไปอีก 2 ชิ้น
คือ ขลุ่ยและ รามะนาทาให้ วงมโหรี ในสมัยนี้ประกอบด้วยเครื่องดนตรี จานวน 6 ชิ้นคือ
ซอสามสาย
กระจับปี่ (แทนพิณ)
ทับ (โทน)
รามะนา
ขลุ่ย
กรับพวง
ประวัติดนตรีไทยในสมัยธนบุรี
เนื่องจากในสมัยนี้เป็นช่วงระยะเวลาอันสั้นเพียงแค่15 ปี และประกอบกับเป็นสมัยแห่งการก่อร่างสร้างเมือง
และการป้องกันประเทศเสียโดยมากวงดนตรีไทย ในสมัยนี้จึงไม่ปรากฎหลักฐานไว้ว่าได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงขึ้นสันนิษฐานว่า
ยังคงเป็นลักษณะและรูปแบบของดนตรีไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง
ประวัติดนตรีไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
ในสมัยนี้เมื่อบ้านเมืองได้ผ่านพ้นจากภาวะศึกสงครามและได้มีการก่อสร้างเมืองให้มั่นคงเป็นปึกแผ่นเกิดความสงบร่มเย็น
โดยทั่วไปแล้วศิลปวัฒนธรรมของชาติก็ได้รับการฟื้นฟูทะนุบารุงและส่งเสริมให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นโดยเฉพาะทางด้านดนตรีไทย
ในสมัยนี้ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเจริญขึ้นเป็นลาดับดังต่อไปนี้คือ
สมัยรัชกาลที่1ดนตรีไทยในสมัยนี้ส่วนใหญ่ ยังคงมีลักษณะและรูปแบบตามที่มี
มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาที่พัฒนาขึ้นบ้างในสมัยนี้ก็คือการเพิ่มกลองทัดขึ้นอีก 1 ลูก ในวงปี่พาทย์ซึ่งแต่เดิมมามีแค่ 1 ลูก
พอมาถึงสมัยรัชกาลที่1วงปี่พาทย์มีกลองทัด 2 ลูก เสียงสูง(ตัวผู้)ลูกหนึ่งและเสียงต่า(ตัวเมีย)ลูกหนึ่งและการใช้กลองทัด 2ลูก
ในวงปี่พาทย์ก็เป็นที่นิยมกันมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้
สมัยรัชกาลที่2อาจกล่าวว่าในสมัยนี้เป็นยุคทองของดนตรีไทยยุคหนึ่งทั้งนี้เพราะองค์พระมหากษัตริย์
ทรงสนพระทัยดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่งพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถในทางดนตรีไทยถึงขนาดที่ทรงดนตรีไทย คือซอสามสายได้
มีซอคู่พระหัตถ์ชื่อว่า"ซอสายฟ้าฟาด"ทั้งพระองค์ได้พระราชนิพนธ์เพลงไทยขึ้นเพลงหนึ่งเป็นเพลงที่ไพเราะและอมตะ
มาจนบัดนี้นั่นก็คือเพลง"บุหลันลอยเลื่อน"
ประวัติดนตรีไทย
ทัศนะ ที่ 1 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยได้แบบอย่างมาจากอินเดียเนื่องจากอินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สาคั
ญแห่งหนึ่งของโลกอารยธรรมต่างๆของอินเดียได้เข้ามามีอิทธิพลต่อประเทศต่างๆในแถบเอเชียอย่างมากทั้งในด้านศาสนา
ประเพณีความเชื่อตลอดจนศิลปแขนงต่างๆ โดยเฉพาะทางด้านดนตรี ปรากฎรูปร่างลักษณะเครื่องดนตรี ของประเทศต่าง ๆ
ในแถบเอเชีย เช่นจีน เขมร พม่าอินโดนิเซีย และ มาเลเซียมีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นส่วนมากทั้งนี้เนื่องมาจาก
ประเทศเหล่านั้นต่างก็ยึดแบบฉบับดนตรี ของอินเดีย เป็นบรรทัดฐานรวมทั้งไทยเราด้วยเหตุผลสาคัญที่ท่านผู้รู้ได้เสนอทัศนะนี้ก็คือ
ลักษณะของเครื่องดนตรีไทยสามารถจาแนกเป็น4ประเภทคือ
เครื่องดีด
เครื่องสี
เครื่องตี
เครื่องเป่า
การสันนิษฐานเกี่ยวกับกาเนิดหรือที่มาของดนตรีไทยตามแนวทัศนะข้อนี้เป็นทัศนะที่มีมาแต่เดิมนับตั้งแต่ ได้มีผู้สนใจและ
ได้ทาการค้นคว้าหาหลักฐานเกีีี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้นและนับว่าเป็นทัศนะที่ได้รับการนามากล่าวอ้างกันมาก
บุคคลสาคัญที่เป็นผู้เสนอแนะแนวทางนี้คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ
พระบิดาแห่งวงการประวัติศาสตร์ของไทย
ทัศนะคติที่ 2 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยเกิดจากความคิดและสติปัญญาของคนไทยเกิดขึ้นมาพร้อมกับคนไทยตั้งแต่
สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ ของประเทศจีนแล้วทั้งนี้เนื่องจากดนตรี เป็นมรดกของมนุษยชาติทุกชาติทุกภาษาต่างก็มีดนตรี
ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ของตนด้วยกันทั้งนั้นถีึงแม้ว่าในภายหลังจะมีการรับเอาแบบอย่างดนตรี ของต่างชาติเข้ามาก็ตามแต่ก็เป็น
การนาเข้ามาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับลักษณะและนิสัยทางดนตรี ของคนในชาตินั้นๆไทยเราตั้งแต่สมัยที่ยังอยู่ทาง
ตอนใต้ของประเทศจีนก็คงจะมี ดนตรี ของเราเองเกิดขึ้นแล้วทั้งนี้จะสังเกตุเห็นได้ว่าเครื่องดนตรี ดั้งเดิมของไทย
จะมีชื่อเรียกเป็นคาโดดซึ่งเป็นลักษณะของคาไทยแท้ เช่น
เกราะ,โกร่ง,กรับ
ฉาบ,ฉิ่ง
ปี่, ขลุ่ย
ฆ้อง, กลอง .. เป็นต้น
ต่อมาเมื่อไทยได้ อพยพ ลงมาตั้งถิ่นฐานในแถบแหลมอินโดจีนจึงได้มาพบวัฒนธรรมแบบอินเดียโดยเฉพาะเครื่องดนตรี อินเดีย
ซึ่งชนชาติมอญ และเขมร รับไว้ก่อนที่ไทยจะอพยพเข้ามาด้วยเหตุนี้ชนชาติไทยซึ่งมีนิสัยทางดนตรีอยู่แล้ว
จึงรับเอาวัฒนธรรมทางดนตรีแบบอินเดียผสมกับแบบมอญและเขมรเข้ามาผสมกับดนตรีที่มีมาแต่เดีิมของตน
จึงเกิดเครื่องดนตรีเพิ่มขึ้นอีกได้แก่
พิณ
สังข์
ปี่ไฉน
บัณเฑาะว์
กระจับปี่ และจะเข้ เป็นต้น
ต่อมาเมื่อไทยได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในแหลมอินโดจีนอย่างมั่นคงแล้วได้มีการติดต่อสัมพันธ์กับประเทศเพืี่อนบ้านในแหลมอินโดจีน
หรือแม้แต่กับประเทศทางตะวันตกบางประเทศที่เข้ามาติดต่อค้าขายทาให้ไทยรับเอาเครื่องดนตรีบางอย่างของประเทศต่างๆ
เหล่านั้นมาใช้ เล่นในวงดนตรีไทยด้วยเช่นกลองแขกปี่ชวา ของชวา (อินโดนิเซีย)กลองมลายูของมลายู(มาเลเซีย)เปิงมาง
ตะโพนมอญปี่มอญ และฆ้องมอญ ของมอญ กลองยาวของพม่าขิมม้าล่อของจีนกลอง มริกัน(กลองของชาวอเมริกัน)เปียโน
ออร์แกนและ ไวโอลีนของประเทศทางตะวันตกเป็นต้น
วิวัฒนาการของวงดนตรีไทย
นับตั้งแต่ไทยได้มาตั้งถิ่นฐานในแหลมอินโดจีนและได้ก่อตั้งอาณาจักรไทยขึ้นจึงเป็นการเริ่มต้นยุคแห่งประวัติศาสตร์ไทยที่ปรากฎ
หลั กฐานเป็นลายลักษณ์อักษรกล่าวคือเมื่อไทยได้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นและหลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้แล้วนับตั้งแต่นั้นมาจึงปรากฎหลักฐานด้านดนตรีไทยที่เป็นลายลักษณ์อักษรทั้งในหลักศิลาจารึก
หนังสือวรรณคดีและเอกสารทางประวัติศาสตร์ ในแต่ละยุคซึ่งสามารถนามาเป็นหลักฐานในการพิจารณา
ถึงความเจริญและวิวัฒนาการของดนตรีไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นต้นมาจนกระทั่งเป็นแบบแผนดีังปรากฎในปัจจุบัน
พอสรุปได้ดังต่อไปนี้
สมัยสุโขทัยดนตรีไทย
มีลักษณะเป็นการขับลานาและร้องเล่นกันอย่างพื้นเมืองเกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทยในสมัยนี้ปรากฎหลักฐานกล่าวถึงไว้ในหนังสือ
ไตรภูมิพระร่วงซึ่งเป็นหนังสือวรรณคดีที่แต่งในสมัยนี้ได้แก่ แตร,สังข์,มโหระทึก,ฆ้อง, กลอง,ฉิ่ง,แฉ่ง (ฉาบ),บัณเฑาะว์พิณ,
ซอพุงตอ (สันนิษฐานว่าคือซอสามสาย)ปี่ไฉน,ระฆัง,และ กังสดาลเป็นต้นลักษณะการผสมวงดนตรี
ก็ปรากฎหลักฐานทั้งในศิลาจารึกและหนังสือไตรภูมิพระร่วงกล่าวถึง"เสียงพาทย์เสียงพิณ"ซึ่งจากหลักฐานที่กล่าวนี้สันนิษฐานว่า
วงดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยมีดังนี้คือ
1. วงบรรเลงพิณมีผู้บรรเลง1คนทาหน้าทีีี่ดีดพิณและขับร้องไปด้วยเป็นลักษณะของการขับลานา
2. วงขับไม้ ประกอบด้วยผู้บรรเลง3คนคือ ค นขับลานา1 คนคนสี ซอสามสายคลอเสียงร้อง1คนและ คนไกวบัณเฑาะว์
ให้จังหวะ 1 คน
3. วงปี่พาทย์เป็นลักษณะของวงปี่พาทย์เครื่อง5มี 2 ชนิด คือ
วงปี่พาทย์เครื่องห้าอย่างเบาประกอบด้วยเครื่องดนตรีชนิดเล็กๆจานวน5 ชิ้น คือ1. ปี่ 2.กลองชาตรี 3.ทับ (โทน) 4. ฆ้องคู่ และ
5. ฉิ่งใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรี (เป็นละครเก่าแก่ที่สุดของไทย)
วงปี่พาทย์เครื่องห้าอย่างหนักประกอบด้วยเครื่องดนตรีจานวน5ชิ้น คือ1. ปี่ใน 2. ฆ้องวง (ใหญ่) 3.ตะโพน4. กลองทัดและ 5.
ฉิ่ง ใช้บรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลงประกอบการแสดงมหรสพ ต่างๆจะเห็นว่าวงปี่พาทย์เครื่องห้า
ในสมัยนี้ยังไม่มีระนาดเอก
4. วงมโหรี เป็นลักษณะของวงดนตรีอีกแบบหนึ่งที่นาเอาวงบรรเลงพิณกับวงขับไม้ มาผสมกันเป็นลักษณะของวงมโหรีเครื่องสี่
เพราะประกอบด้วยผู้บรรเลง4คนคือ1. คนขับลานาและตีกรับพวงให้จังหวะ2.คนสี ซอสามสายคลอเสียงร้อง3.คนดีดพิณและ
4. คนตีทับ(โทน)ควบคุมจังหวะ
สมัยกรุงศรีอยุธยา
ในสมัยนี้ในกฏมลเฑียรบาลซึ่งระบุชื่อเครื่องดนตรีไทยเพิ่มขึ้นจากที่เคยระบุไว้ ในหลักฐานสมัยสุโขทัยจึงน่าจะเป็นเครื่องดนตรี
ที่เพิ่งเกิดในสมัยนี้ได้แก่ กระจับปี่ ขลุ่ยจะเข้ และ รามะนานอกจากนี้ในกฎมณเฑียรบาลสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(พ.ศ.
1991-2031)ปรากฎข้อห้ามตอนหนึ่งว่า"...ห้ามร้องเพลงเรือเป่าขลุ่ย เป่าปี่ สีซอดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีโทนทับ
ในเขตพระราชฐาน..."ซึ่งแสดงว่าสมัยนี้ดนตรีไทยเป็นที่นิยมกันมากแม้ในเขตพระราชฐาน
ก็มีคนไปร้องเพลงและเล่นดนตรีกันเป็นที่เอิกเกริกและเกินพอดีจนกระทั่งพระมหากษัตริย์ต้องทรงออกกฎมลเฑียรบาล
ดังกล่าวขึ้นไว้เกี่ยวกับลักษณะของวงดนตรีไทยในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาขึ้นกว่าในสมัยสุโขทัยดังนี้คือ1.วงปี่พาทย์
ในสมัยนี้ก็ยังคงเป็นวงปี่พาทย์เครื่องห้าเช่นเดียวกับในสมัยสุโขทัยแต่มีระนาดเอกเพิ่มขึ้นดังนั้นวงปี่พาทย์เครื่องห้า
ในสมัยนี้ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ดังต่อไปนี้คือ
1. ระนาดเอก
2. ปี่ใน
3. ฆ้องวง (ใหญ่)
4. กลองทัดตะโพน
5. ฉิ่ง
2. วงมโหรี ในสมัยนี้พัฒนามาจากวงมโหรีเครื่องสี่ในสมัยสุโขทัยเป็นวงมโหรีเครื่องหกเพราะได้เพิ่มเครื่องดนตรี เข้าไปอีก 2 ชิ้น
คือ ขลุ่ยและ รามะนาทาให้ วงมโหรี ในสมัยนี้ประกอบด้วยเครื่องดนตรี จานวน 6 ชิ้น คือ
1. ซอสามสาย
2. กระจับปี่ (แทนพิณ)
3. ทับ(โทน)
4. รามะนา
5. ขลุ่ย
6. กรับพวง
สมัยกรุงธนบุรี
เนื่องจากในสมัยนี้เป็นช่วงระยะเวลาอันสั้นเพียงแค่15ปี และประกอบกับเป็นสมัยแห่งการก่อร่างสร้างเมือง
และการป้องกันประเทศเสียโดยมากวงดนตรีไทยในสมัยนี้จึงไม่ปรากฎหลักฐานไว้ว่าได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงขึ้นสันนิษฐานว่า
ยังคงเป็นลักษณะและรูปแบบของดนตรีไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ในสมัยนี้เมื่อบ้านเมืองได้ผ่านพ้นจากภาวะศึกสงครามและได้มีการก่อสร้างเมืองให้มั่นคงเป็นปึกแผ่นเกิดความสงบร่มเย็น
โดยทั่วไปแล้วศิลปวัฒนธรรมของชาติก็ได้รับการฟื้นฟูทะนุบารุงและส่งเสริมให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นโดยเฉพาะทางด้านดนตรีไทย
ในสมัยนี้ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเจริญขึ้นเป็นลาดับดังต่อไปนี้
รัชกาลที่1
ดนตรีไทยในสมัยนี้ส่วนใหญ่ ยังคงมีลักษณะและรูปแบบตามที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาที่พัฒนาขึ้นบ้างในสมัยนี้ก็คือการเพิ่ม
กลองทัดขึ้นอีก 1 ลูกใน วงปี่พาทย์ซึ่ง แต่เดิมมามีแค่ 1 ลูกพอมาถึง สมัยรัชกาลที่1วงปี่พาทย์มี กลองทัด2 ลูกเสียงสูง(ตัวผู้)
ลูกหนึ่งและ เสียงต่า(ตัวเมีย)ลูกหนึ่งและการใช้ กลองทัด 2 ลูกในวงปี่พาทย์ก็เป็นที่นิยมกันมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้
รัชกาลที่2
อาจกล่าวว่าในสมัยนี้เป็นยุคทองของดนตรีไทยยุ คหนึ่ง ทั้งนี้เพราะองค์พระมหากษัตริย์ทรงสนพระทัยดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่ง
พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถในทางดนตรีไทยถึงขนาดที่ทรงดนตรีไทยคือซอสามสายได้ มีซอคู่พระหัตถ์ชื่อว่า"ซอสายฟ้าฟาด"
ทั้งพ ระองค์ได้ พระราชนิพนต์เพลงไทยขึ้นเพลงหนึ่งเป็นเพลงที่ไพเราะและอมตะมาจนบัดนี้นั่นก็คือเพลง"บุหลันลอยเลื่อน"
การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของดนตรีไทยในสมัยนี้ก็คือได้มีการนาเอาวงปี่พาทย์มาบรรเลงประกอบการขับเสภาเป็นครั้งแรก
นอกจากนี้ยังมีกลองชนิดหนึ่งเกิดขึ้นโดยดัดแปลงจาก"เปิงมาง"ของมอญ ต่อมาเรียกกลองชนิดนี้ว่า"สองหน้า"
ใช้ตีกากับจังหวะแทนเสียงตะโพนในวงปี่พาทย์ประกอบการขับเสภาเนื่องจากเห็นว่าตะโพนดังเกินไปจนกระทั่งกลบเสียงขับ
กลองสองหน้านี้ปัจจุบันนิยมใช้ตีกากับจัง หวะหน้าทับในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง
รัชกาลที่3
วงปี่พาทย์ได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่เพราะได้มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้มมาคู่กับระนาดเอกและประดิษฐ์ฆ้องวงเล็กมาคู่กับ
ฆ้องวงใหญ่
รัชกาลที่4
วงปี่พาทย์ได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ เพราะได้มีการประดิษฐ์เครื่องดนตรี เพิ่มขึ้นอีก 2ชนิด เลียนแบบระนาดเอก
และระนาดทุ้มโดยใช้โลหะทาลูกระนาดและทารางระนาดให้แตกต่างไปจากรางระนาดเอกและระนาดทุ้ม(ไม้)เรียกว่า
ระนาดเอกเหล็กและระนาดทีุี้มเหล็กนามาบรรเลงเพิ่มในวงปี่พาทย์เครื่องคู่ทาให้ ขนาดของวงปี่พาทย์ขยายใหญ่ขึ้นจึงเรียกว่า
ว งปี่พาทย์เครื่องใหญ่ อนึ่งในสมัยนี้วงการดนตรีไทยนิยมการร้องเพลงส่งให้ดนตรีรับหรือที่เรียกว่า"การร้องส่ง"กันมากจนกระทั่ง
การขับเสภาซึ่งเคยนิยมกันมาก่อนค่อยๆหายไปและการร้องส่งก็เป็นแนวทางให้มีผู้คิดแต่งขยายเพลง2ชั้นของเดิมให้เป็นเพลง3
ชั้น และตัดลงเป็นชั้นเดียวจนกระทั่งกลายเป็นเพลงเถาในที่สุด(นับว่าเพลงเถาเกิดขึ้นมากมายในสมัยนี้)นอกจากนี้วงเครื่องสาย
ก็เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลนี้เช่นกัน
รัชกาลที่5
ได้มีการปรับปรุงวงปี่พาทย์ขึ้นใหม่ชนิดหนึ่งซึ่งต่อมาเรียกว่า"วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์"โดยสมเด็จกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
สาหรับใช้บรรเลงประกอบการแสดง"ละครดึกดาบรรพ์"ซึ่งเป็นละครที่เพิ่งปรับปรุงขึ้นในสมัยรัชกาลนี้เช่นกัน
หลักการปรับปรุงของท่านก็โดยการตัดเครื่องดนตรีชนิดเสียงเล็กแหลมหรือดังเกินไปออกคงไว้แต่เครื ี่องดนตรีที่มีเสียงทุ้มนุ่มนวล
กับเพิ่มเครื่องดนตรีบางอย่างเข้ามาใหม่เครื่องดนตรี ในวงปี่พาทย์ดึกดีาบรรพ์จึงประกอบด้วยระนาดเอกฆ้องวงใหญ่ ระนาดทุ้ม
ระนาดทุ้มเหล็กขลุ่ยซออู้ ฆ้องหุ่ย (ฆ้อง 7 ใบ) ตะโพนกลองตะโพนและเครื่องกากับจังหวะ
รัชกาลที่6
ได้การปรับปรุงวงปี่พาทย์ขึ้นมาอีกชนิดหนึ่งโดยนาวงดนตรีของมอญมาผสมกับวงปี่พาทย์ของไทยต่อมาเรียกวงดนตรีผสมนี้ว่า
"วงปี่พาทย์มอญ"โดยหลวงประดิษฐไพเราะ(ศรศิลปบรรเลง)เป็นผู้ปรับปรุงขึ้นวงปี่พาทย์มอญดังกล่าวนี้
ก็มีทั้งวงปี่พาทย์มอญเครื่องห้าเครื่องคู่และเครื่องใหญ่ เช่นเดียวกับวงปี่พาทย์ของไทยและกลายเป็นที่นิยมใช้บรรเลงประโคมในง
านศพมาจนกระทั่งบัดนี้นอกจากนี้ยังได้มีการนาเครื่องดนตรีของต่างชาติเข้ามาบรรเลงผสมกับวงดนตรีไทยบางชนิ
ดก็นามาดัดแปลงเป็นเครื่องดนตรีของไทยทาให้รูปแบบของวงดนตรีไทยเปลี่ยนแปลงพัฒนาดังนี้คือ
1. การนาเครื่องดนตรีของชวาหรืออินโดนีเซียคือ"อังกะลุง"มาเผยแพร่ในเมืองไทยเป็นครั้งแรกโดยหลวงประดิษฐไพเราะ(ศร
ศิลปบรรเลง)ทั้งนี้โดยนามาดัดแปลงปรับปรุงขึ้นใหม่ให้มีเสียงครบ7เสียง(เดิมมี 5 เสียง)ปรับปรุง วิธีการเล่นโดยถือเขย่าคนละ 2
เสียงทาให้เครื่องดนตรีชนิดนี้กลายเป็นเครื่องดนตรีไทยอีกอย่างหนึ่งเพราะคนไทยสามารถทาอังกะลุงได้เอง
อีกทั้งวิธีการบรรเลงก็เป็นแบบเฉพาะของเราแตกต่างไปจากของชวาโดยสิ้นเชิง
2. การนาเครื่องดนตรีของต่างชาติเขี้ามาบรรเลงผสมในวงเครื่องสายได้แก่ ขิมของจีนและออร์แกนของฝรั่ง
ทาให้วงเครื่องสายพัฒนารูปแบบของวงไปอีกลักษณะหนึ่งคือ"วงเครื่องสายผสม"
รัชกาลที่7
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจี้าอยู่หัวได้ทรงสนพระทัยทางด้านดนตรีไทยมากเช่นกันพระองค์ได้พระราชนิพนธ์
เพลงไทยที่ไพเราะไว้ถึง3เพลงคือเพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง3ชั้นเพลงเขมรลอยองค์(เถา)และเพลงราตรีประดับดาว(เถา)
พระองค์และพระราชินีได้โปรดให้ครูดนตรีเข้าไปถวายการสอนดนตรีในวังแต่เป็นที่น่าเสียดายที่ระยะเวลาแห่งการครอง
ราชย์ของพระองค์ไม่นานเนื่องมาจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองและพระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ หลังจากนั้นได้ 2ปี
มิฉะนั้นแล้วดนตรีไทยก็คงจะเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยแห่งพระองค์อย่างไรก็ตามดนตรีไทยในสมัยรัชกาลนี้นับว่าได้พัฒนารูปแบบ
และลักษณะมาจนกระทั่งสมบูรณ์ เป็นแบบแผนดังเช่นในปัจจุบันนี้แล้ว ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชมีผู้นิยมดนตรีไทยกันมาก
และมีผู้มีฝีมือทางดนตรี ตลอดจนมีความคิดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้พัฒนาก้าวหน้ามาตามลาดับพระมหากษัตริย์เจ้านาย
ตลอดจนขุนนางผู้ใหญ่ ได้ให้ความอุปถัมภ์และทานุบารุงดนตรีไทยในวังต่างๆมักจะมีวงดนตรีประจาวังเช่นวงวังบูรพา
วงวังบางขุนพรหมวงวังบางคอแหลมและวงวังปลายเนินเป็นต้นแต่ละวงต่างก็ขวนขวายหาครูดนตรี
และนักดนตรีที่มีฝีมือเข้ามาประจาวงมีการฝึกซ้อมกีันอยู่เนืองนิจบางครั้งก็มีการประกวดประชันกัน
จึงทาให้ดนตรีไทยเจริญเฟื่องฟูมากต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475 เป็นต้นมา ดนตรีไทยเริ่มซบเซาลง
อาจกล่าวได้ว่าเป็นสมัยหัวเลี้ยวหัวต่อที่ดนตรีไทยเกือบจะถึงจุดจบเนื่องจากรัฐบาลในสมัยหนึ่งมีนโยบายทีเรียกว่า"รัฐนิยม"
ซึ่งนโยบายนี้มีผลกระทบต่อดนตรีไทยด้วยกล่าวคือมีการห้ามบรรเลงดนตรีไทยเพราะเห็นว่าไม่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ
ให้ทัดเทียมกับอารยประเทศใครจะจัดให้มีการบรรเลงดนตรีไทยต้องขออนุญาตจากทางราชการก่อนอีกทั้ง
นักดนตรีไทยก็จะต้องมีบัตรนักดนตรีที่ทางราชการออกให้ จนกระทั่งต่อมาอีกหลายปี เมื่อได้มีการสั่งยกเลิก"รัฐนิยม"ดังกล่าวเสีย
แต่ถึงกระนั้นก็ตามดนตรีไทยก็ไม่รุ่งเรืองเที่าแต่ก่อนยังล้มลุกคลุกคลานมาจนกระทั่งบัดนี้เนื่องจากวิถีชีวิต
และสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมวัฒนธรรมทางดนตรีของต่างชาติได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของคนไทยเป็นอันมาก
ดนตรีที่เราได้ยินได้ฟังและไดี้เห็นกันทางวิทยุโทรทัศน์หรือที่บรรเลงตามงานต่างๆโดยมากก็เป็นดนตรีของต่างชาติหาใช่
"เสียงพาทย์เสียงพิณ"ดังแต่ก่อนไม่ถึงแม้ว่าจะเป็นที่น่ายินดีที่เราได้มีโอกาสฟังดนตรีนานาชาตินานาชนิดแต่ถ้าดนตรีไทย
ถูกทอดทิ้งและไม่มีใครรู้จักคุณค่าก็นับว่าเสียดายที่จะต้องสูญเสียสิ่งที่ดีงามซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติอย่างหนึ่งไปดังนั้น
จึงควรที่คนไทยทุกคนจะได้ตระหนักถึงคุณค่าของดนตรีไทยและช่วยกันทะนุบารุงส่งเสริมและรักษาไว้
เพื่อเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติสืบต่อไป
การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของดนตรีไทยในสมัยนี้ก็คือได้มีการนาเอาวงปี่พาทย์มาบรรเลงประกอบการขับเสภาเป็นครั้งแรก
นอกจากนี้ยังมีกลองชนิดหนึ่งเกิดขึ้นโดยดัดแปลงจาก"เปิงมาง"ของมอญ ต่อมาเรียกกลองชนิดนี้ว่า"สองหน้า"
ใช้ตีกากับจังหวะแทนเสียงตะโพนในวงปี่พาทย์ประกอบการขับเสภา เนื่องจากเห็นว่าตะโพนดังเกินไป จนกระทั่งกลบเสียงขับ
กลองสองหน้านี้ปัจจุบันนิยมใช้ตีกากับจังหวะหน้าทับในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง
องค์ประกอบของดนตรีไทย
1.เสียงของดนตรีไทย
เสียงดนตรีไทยประกอบด้วยระดับเสียง7เสียงแต่ละเสียงมีช่วงห่างเท่ากันทุกเสียงเสียงดนตรีไทยแต่ละเสียงเรียกชื่อแตกต่างกันไป
ในดนตรีไทยเรียกระดับเสียงว่า“ทาง”ในที่นี้ก็คือ
ระดับเสียงของเพลงที่บรรเลงซึ่งกาหนดชื่อเรียกเป็นที่หมายรู้กันทุกๆเสียง จาแนกเรียงลาดับขึ้นไปทีละเสียง
2. จังหวะของดนตรีไทย
“จังหวะ” มีความหมายถึงมาตราส่วนของระบบดนตรีที่ดาเนินไปในช่วงของการบรรเลงเพลงอย่างสม่าเสมอ
เป็นตัวกาหนดให้ผู้บรรเลงจะต้องใช้เป็นหลักในการ บรรเลงเพลง
จังหวะของดนตรีไทยจาแนกได้ 3 ประเภท คือ
1. จังหวะสามัญ
หมายถึงจังหวะทั่วไปที่นักดนตรียึดเป็นหลักสาคัญในการบรรเลงและขับร้องโดยปกติจังหวะสามัญที่ใช้กันในวงดนตรีจะมี 3ระดับ
คือ
จังหวะช้า ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สามชั้น
จังหวะปานกลาง ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สองชั้น
จังหวะเร็ว ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ ชั้นเดียว
2. จังหวะฉิ่งหมายถึง จังหวะที่ใช้ฉิ่งเป็นหลักในการตีโดยปกติจังหวะฉิ่งจะตี“ฉิ่ง…ฉับ”สลับกันไปตลอดทั้งเพลง
แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ“ฉิ่ง”ตลอดเพลงบางเพลงตี“ฉิ่ง ฉิ่ง ฉับ” ตลอดทั้งเพลงหรืออาจจะตีแบบอื่นๆก็ได้ จังหวะฉิ่งนี้
นักฟังเพลงจะใช้เป็นแนวในการพิจารณาว่าช่วงใดเป็นอัตราจังหวะสามชั้นสองชั้นหรือชั้นเดียวก็ได้
เพราะฉิ่งจะตีเพลงสามชั้นให้มีช่วงห่างตามอัตราจังหวะของเพลง หรือตีเร็วกระชั้นจังหวะในเพลงชั้นเดียว
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
สามชั้น - - - - - - - ฉิ่ง - - - - - - - ฉับ
สองชั้น - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ
ชั้นเดียว - ฉิ่ง- ฉับ - ฉิ่ง-ฉับ - ฉิ่ง- ฉับ - ฉิ่ง-ฉับ
3. จังหวะหน้าทับหมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที่ใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีประเภทหนังซึ่งเลียนเสียงการตีมาจาก
“ทับ” เป็นเครื่องกาหนดจังหวะเครื่องดนตรีเหล่านี้ได้แก่ ตะโพนกลองแขกสองหน้าโทน -รามะนาหน้าทับ
3. ทานองดนตรีไทย
ลักษณะทานองเพลงที่มีเสียงสูงๆต่าๆสั้นๆยาวๆสลับคละเคล้ากันไป
ตามจินตนาการของคีตกวีที่ประพันธ์ บทเพลงซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้เหมือนกันทุกชาติภาษา จะมีความแตกต่างกันตรงลักษณะประจา
ชาติที่มีพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรมไม่เหมือนกัน
เช่นเพลงของอเมริกันอินโดนีเซีย อินเดียจีน ไทย ย่อมมีโครงสร้างของทานองที่
แตกต่างกัน ทานองของดนตรีไทยประกอบด้วยระบบของเสียง การเคลื่อนที่ของเสียงความยาว ความกว้างของเสียง
และระบบหลักเสียงเช่นเดียวกับทานองเพลงทั่วโลก
1. ทานองทางร้อง เป็นทานองที่ประดิษฐ์เอื้อนไปตามทานองบรรเลงของเครื่องดนตรี และมีบทร้องซึ่งเป็นบทร้อยกรอง
ทานองทางร้องคลอเคล้าไปกับทานองทางรับหรือร้องอิสระได้ การร้องนี้ต้องถือทานองเป็นสาคัญ
2. ทานองการบรรเลงหรือทางรับเป็นการบรรเลงของเครื่องดนตรีในวงดนตรี ซึ่งคีตกวีแต่งทานองไว้สาหรับบรรเลง
ทานองหลักเรียกลูกฆ้อง“BasicMelody”เดิมนิยมแต่งจากลูกฆ้องของฆ้องวงใหญ่
และแปรทางเป็นทางของเครื่องดนตรีชนิดต่างๆดนตรีไทยนิยมบรรเลงเพลงในแต่ละท่อน2 ครั้งซ้ากัน
ภายหลังได้มีการแต่งทานองเพิ่มใช้บรรเลงในเที่ยวที่สองแตกต่างไปจากเที่ยวแรกเรียกว่า “ทางเปลี่ยน”
4. การประสานเสียง
เป็นการทาเสียงดนตรีพร้อมกัน2เสียงพร้อมกันเป็นคู่ขนานหรือเหลื่อมล้ากันตามลีลาเพลงก็ได้
1. การประสานเสียงในเครื่องดนตรีเดียวกันเครื่องดนตรีบางชนิดสามารถบรรเลง
สอดเสียงพร้อมกันได้ โดยเฉพาะทาเสียงขั้นคู่ (คู่2 คู่3 คู่4 คู่5 คู่6 และ คู่7)
2. การประสานเสียงระหว่างเครื่องดนตรี คือการบรรเลงดนตรีด้วยเครื่องดนตรีต่างชนิดกันสุ้มเสียง
และความรู้สึกของเครื่องดนตรีเหล่านั้นก็ออกมาไม่เหมือนกันแม้ว่าจะบรรเลงเหมือนกันก็ตาม
3.การประสานเสียงโดยการทาทาง การแปรทานองหลักคือลูกฆ้อง“Basic
Melody”ให้เป็นทานองของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดเรียกว่า “การทาทาง”
ทางของเครื่องดนตรี (ทานอง)แต่ละชนิดไม่เหมือนกันดังนั้นเมื่อบรรเลงเป็นวงเครื่องดนตรีต่างเครื่องก็จะบรรเลงตามทางหรือทานองข
องตนโดยถือทานองหลักเป็นสาคัญของการบรรเลง
การแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีไทย
การแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีนั้นย่อมจะแตกต่างกันไปได้ตามพื้นภูมิหรือความนิยมของแต่ละชาติ
การแบ่งประเภทของเครื่อดนตรีตามแบบตะวันตกนั้นแบ่งเป็นเครื่องสาย เครื่องลมและเครื่องตี เครื่องสายจะต้องแยกออกเป็นเครื่อง
ดีดและเครื่องสี เครื่องลมก็แยกออกเป็นเครื่องไม้และเครื่องโลหะ และเครื่องตีก็แยกได้เป็นเครื่องบรรเลงทานองและเครื่องประกอบจั
งหวะ
ส่วนการแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีไทยนั้นถือเอากิริยาที่บรรเลงให้เกิดเป็นเสียงขึ้นอย่างเดียวเป็นเครื่องแบ่งประเภท คือเครื่อ
งที่ดีดเป็นเสียงเป็นเครื่องที่มีสาย ใช้มือหรือวัตถุใดๆดีดที่สายแล้วก็เกิดเสียงขึ้นเช่นกระจับปี่ จะเข้ อย่างนี้เรียกว่า
เครื่องดีดเครื่องที่สีเป็นเสียงเป็นเครื่องที่มีสายใช้หางม้าหลายๆเส้นสีที่สายให้เกิดเสียงเช่นซอสามสายซอด้วงซออู้
อย่างนี้เรียกว่าเครื่องสีี เครื่องที่ตีเป็นเสียงมีทั้งตีด้วยไม้ เช่นฆ้อง ระนาดกับตีด้วยมือเช่นตะโพนโทน
หรือของสิ่งเดียวกันสองอันตีกันเองเช่นกรับและฉิ่ง
เหล่านี้เรียกว่าเครื่องตี เครื่องที่เป่าเป็นเสียงเป็นเครื่องที่ต้องใช้ลมเป่าเข้าไปในเครื่องนั้นๆเช่นปี่ ขลุ่ย
ก็เรียกว่าเครื่องเป่ ารวมแล้วดนตรีไทยมี๔ประเภท คือ ดีด สี ตี เป่า
การแบ่งหน้าที่ของการบรรเลงการแบ่งประเภทเป็นดีดสีตี เป่า นั้นเป็นการแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีแต่เครื่องดนตรีนั้นๆ
ย่อมมีหน้าที่ในการบรรเลงซึ่งแบ่งออกได้เป็น๒ พวก
๑. บรรเลงทํานองเพลง
พวกที่๑ เป็นพวกที่มีเสียงสูงต่าเรียงลาดับกันไม่น้อยกว่า ๗เสียงดนตรีพวกนี้มีหน้าที่บรรเลงเป็นทานองเพลงเช่นระนาดเอก
ระนาดทุ้มฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็กปี่ ขลุ่ย และซอต่างๆ
๒. บรรเลงประกอบจังหวะ
พวกที่๒เป็นพวกที่มีเสียงสูงต่าไม่ถึง๗เสียงเครื่องดนตรีพวกนี้มีหน้าที่บรรเลงเป็นเครื่องประกอบจังหวะเช่นฉิ่งฉาบตะโพน
กลองทัดโทนรามะนาเป็นต้น
เอกลักษณ์ดนตรีไทย
สัญลักษณ์ของดนตรีไทยมีเอกลักษณ์ประจาชาติซึ่งจะพิจารณาได้ ๓ประการคือ
1.วัสดุที่สร้าง
เครื่องดนตรีของทุกๆชาติในยุคเริ่มแรกก็มักจะใช้วัสดุที่มีอยู่ในถิ่นของตนมาสรรค์์สร้างขึ้นแล้วจึงค่อยวิวัฒนาการต่อไป ภูมิประ
เทศของไทยตั้งแต่สมัยโบราณนั้นอุดมไปด้วยไม้ไผ่ไม้เนื้อแข็ง
หนังและกระดูกสัตว์ที่ใช้งานและใช้เนื้อเป็นอาหาร เครื่องดนตรีของไทยมักจะสร้างจากสิ่งเหล่านี้โดยมาก
เช่นซอด้วงขั้นแรกกระบอก
ซอด้วงก็ใช้ทาด้วยไม้ไผ่แล้วเปลี่ยนเป็นไม้เนื้อแข็ง ต่อมาคนไทยมาอยู่ในตอนใต้ลงไปและใช้ช้างเป็นพาหนะและใช้แรงงาน กระบอก
ซอด้วงจึงทาด้วยงาช้างซึ่งเป็นสิ่งที่สวยงามมาก ซออู้ ซอสามสายกะโหลกนั้นทาด้วยกะลามะพร้าวซึ่งอุดมมากในดินแดน
ของไทยตอนใต้นี้ ระนาดของไทยแม้จะมาเริ่มใช้เอาในตอนหลังก็ยังทาด้วยไม้ไี่ผ่่ซึ่งมีเสียงไพเราะนุ่มนวลกว่าทาด้วยไม้เนื้อแข็งมา
ก เพราะไม้ไผ่บงในจังหวัดตราดทาลูกระนาดมีเสียงไพเราะดีไม่มีที่ไหนสู้ ต่างกับระนาดของชาติใกล้เคียงที่ทาด้วยู้ไม้เนื้อแข็งที่มีเสีย
งกระด้างกว่า ส่วนกลองตัวกลองทาด้วยไม้เนื้อแข็งและขึงหน้าด้วยหนังสัตว์เฉพาะกลองที่ขึงหนังสองหน้าตรึงด้วยหมุดที่เราเรียกกั
นว่า “กลองทัด” นั้นจีนได้เอาอย่างไปใช้แล้วเรียกชื่อว่า “น่านตังกู๊” ซึ่งแปลว่า“กลองของชาวใต้”ส่วนฆ้องทั้งฆ้องโหม่งฆ้องวงทาด้วย
ทองเหลือง ซึ่งชาวไทยเราสามารถในเรื่องหล่อทองเหลืองมากยิ่งกว่าชาติอื่นในถิ่นแถบนี้
2.รูปร่างลักษณะ
ในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆรูปร่างลักษณะที่จะเห็นว่างดงามนั้น
ย่อมเป็นไปตามจิตใจ นิสัยและสัญชาตญาณที่เห็นงามของชาตินั้นๆชนชาติไทยป็นผู้ที่มีจิตใจและนิสัยอ่อนโยนมีเมตตากรุณายิ้มแย้
มแจ่มใส ศิลปะต่างๆของไทยจึงมักจะเป็นรูปที่เป็นเส้นโค้งอ่อนช้อย
ที่จะหักมุม ๔๕ องศานั้นน้อยที่สุดและทุกๆสิ่งมักจะเป็นปลายเรียวแหลม ขอให้พิจารณาดูศิลปะต่างๆของไทยเพื่อเปรียบเทียบเช่น
บ้านไทย จั่วและปั้นลมอ่อนช้อยจนถึงปลายเรียวแหลม
ช่อฟ้าใบระกาของปราสาทราชวังและโบสถ์วิหารล้วนแต่อ่อนช้อย่น่าชมสมส่วนลายไทยซึ่งเต็มไปด้วยกระหนกต่างๆ
กระหนกทุกตัวจะเป็นเส้นโค้งอ่อนสลวยและสะบัดสะบิ้งจนถึงปลายแหลม
เครื่องแต่งตัวละครราเป็นละครของไทยแท้มีมงกุฎและชฎาเรียวและยอดแหลม
อินทรธนูที่ประดับบ่าก็โค้งและปลายแหลมท่าราของละครแขนและมือเมื่อจะงอหรือจะเหยียดล้วนเป็นเส้นโค้งตลอดจนปลายนิ้วมือซึ่
งอ่อนช้อยน่าดูมาก
ทีนี้มาดูลักษณะรูปร่างของเครื่องดนตรีไทยโทนระนาดเอกระนาดทุ้มส่วนสัดเป็นเส้นโค้งและมีปลายแหลมทั้งนั้น
โขนของฆ้องวงใหญ่และฆ้องเล็กโอนสลวยขึ้นไป
คล้ายหลังคาบ้านไทยส่วนโขนของคันซอด้วงที่เรียกว่า “ทวนบน”ก็โค้งอ่อนขึ้นไปจนปลายคล้ายกับโขนเรือพระราชพิธีของไทยโบราณ
นี่คือรูปลักษณะของดนตรีไทย
3.เสียงของดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยที่สร้างขึ้นนั้นล้วนแต่มีเจตนาให้ไพเราะแต่ว่าเป็นเสียงไพเราะ อย่างนุ่มนวลอ่อนหวานไม่เอะอะหรือเกรี้ยวกราด
ซึ่งเป็นไปตามลักษณะนิสัยของชนชาติไทย เสียงซอเสียงขลุ่ยเสียงปี่ เสียงฆ้องและเสียงพิณล้วนเป็นสิ่งที่ มีเสียงนุ่มนวล
มีกังวานไพเราะอย่างอ่อนหวาน แม้จะมีสิ่งที่มีเสียงดังมากเช่นกลองทัดผสมอยู่บางเวลาก็เป็นสิ่งจาเป็น
โดยการบรรเลงเพลงที่มีกลองนั้นมักจะเป็นเพื่อโฆษณาให้ผู้ที่อยู่ไกลได้ยินได้รู้กิจกรรมที่กระทา
อีกสิ่งหนึ่งที่เห็นเจตนาของผู้สร้างเครื่องดนตรีไทยว่าต้องการความไพเราะอย่างนุ่มนวลไม่แกร่งกร้าวก็คือการที่จะเทียบเสียงระนาดแล
ะฆ้องวงให้มีเสียงสูงต่าตามประสงค์นั้นได้ใช้ขี้ผึ้งผสมกับผงตะกั่วเป็นเครื่องถ่วงเสียงสาหรับระนาด
จะติดขี้ผึ้งตรงเบื้องล่างหัวลูกระนาดด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้าน ส่วนฆ้องวงจะติดขี้ผึ้งตรงใต้ปุ่มฆ้องผลของการติดด้วยขี้ผึ้งผสม
ผงตะกั่วนี้ยิ่งติดมากก็ยิ่งทาให้เสียงต่า
ถ้าเอาออกก็จะเป็นเสียงสูงนอกจากทาให้เสียงสูงต่าแล้วยังจะทาให้สิ่งที่เทียบด้วยติดขี้ผึ้งนี้มีเสียงนุ่มนวลไพเราะไม่โฉ่งฉ่าง ฆ้องที่ท
าสาเร็จเป็นเสียงสูงต่าตามต้องการโดยไม่ต้องติดขี้ผึ้งกับผงตะกั่วนั้นเสียงจะแกร่งกร้าวไม่นุ่มนวลเช่นฆ้องของพม่าและชวา
เป็นต้น แต่ในสมัยปัจจุบันได้มีการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมระหว่างประเทศแลกเปลี่ยนความรู้
ความบันเทิงกัน เมื่อเครื่องดนตรีของไทยที่มีระนาดเอกและฆ้องวงต้องไปบรรเลงในประเทศที่มีอากาศ หนาวความเย็น
อาจจะทาให้ขี้ผึ้งกับผงตะกั่วที่ถ่วงเสียงนั้นหลุดได้ง่าย
ซึ่งเป็นอุปสรรคแก่การบรรเลงเป็นอันมาก เมื่อเป็นเช่นนี้ต่อไปอาจต้องยอมให้เสียงดนตรีขาดความนุ่มนวลลงไปโดยสร้างระนาดและ
ฆ้องวงที่สาเร็จรูปมีเสียงสูงต่าตามประสงค์โดยไม่ต้องติดขี้ผึ้งถ่วงเสียงก็เป็นได้
ประเภทของเพลงไทย
เพลงไทยหมายถึงเพลงที่แต่งขึ้นตามหลักของดนตรีไทยมีลีลาในการขับร้องและบรรเลงแบบไทย
โดยเฉพาะและแตกต่างจากเพลงของชาติอื่นๆ
เพลงไทยแต่เดิมมักจะมีประโยคสั้นๆและมีจังหวะค่อนข้างเร็ว ส่วนใหญ่มีต้นกาเนิดมาจากเพลงพื้นบ้านหรือเพลงสาหรับประกอบกา
รราเต้นเพื่อความสนุกสนานรื่นเริงต่อมาเมื่อต้องการจะใช้ เป็นเพลงสาหรับร้องขับกล่อมและ
ประกอบการแสดงละครก็จาเป็นต้องประดิษฐ์ทานองให้มีจังหวะช้ากว่าเดิมและมีประโยคยาวกว่าเดิมให้เหมาะสมที่จะร้อง
ประเภทของเพลงไทย อาจแบ่งออกได้เป็นพวกๆ คือ
๑.เพลงสาหรับบรรเลงดนตรีล้วนๆไม่มีการขับร้อง เป็นเพลงที่ใช้บรรเลงประโคมพิธีต่างๆเพลงโหมโรงและเพลงหน้าพาทย์
จะเป็นเพลงสาหรับใช้ประกอบกิริยาอาการและแสดงอารมณ์ต่างๆของการรา
๒. เพลงสาหรับขับร้อง คือเพลงซึ่งร้องแล้วรับด้วยการบรรเลงเรียกว่าร้องส่งดนตรีเช่นเพลงประกอบการขับเสภา(ร้องส่งเสภา)
เพลงที่ร้องส่งเพื่อฟังไพเราะทั่วไปส่วนมากจะเป็นเพลงเถาและเพลงตับ
๓. เพลงประกอบการรา คือเพลงร้องตามบทร้องให้ผู้ราได้ราตามบทหรือเนื้อร้องส่วนมากจะเป็นเพลง
สองชั้นเพื่อให้เหมาะกับการราไม่ช้าไปไม่เร็วไปนอกจากนั้นก็ยังใช้เพลงหน้าพาทย์ประกอบการแสดงกิริยาอาการของผู้แสดงอีกด้วย
ลักษณะเพลงไทยประเภทต่างๆ
เพลงชั้นเดียว
เพลงชั้นเดียวหมายถึงเพลงที่มีจังหวะเร็วหรือเรียกว่าเพลงเร็วจะสังเกตได้จากเสียงฉิ่ง ปกติแล้วการตีฉิ่งจะเริ่มด้วยเสียงฉิ่ง
และจบด้วยเสียงฉับตีสลับกันไปจนกว่าจะจบการบรรเลงถ้าช่วงระหว่างเสียงฉิ่งและฉับเร็วกระชับติดกัน
ก็แสดงว่าเป็นเพลงชั้นเดียวหรือสังเกตได้จากทานองร้องเพลงชั้นเดียวจะร้องเอื้อนน้อยหรือไม่มีการร้องเอื้อนเลยก็ได้
เพลงชั้นเดียวใช้ขับร้องและบรรเลงประกอบการแสดงมหรสพต่างๆ
เพลงสองชั้น
เพลงสองชั้นหมายถึงเพลงที่มีจังหวะปานกลางไม่ช้าหรือเร็วจนเกินไปส่วนใหญ่เป็นเพลงสั้นๆที่ร้องและจาทานองง่าย
มีความยาวกว่าเพลงชั้นเดียวหนึ่งเท่าตัวหรือสังเกตจากเสียงฉิ่งช่วงระหว่างเสียงฉิ่งและฉับห่างกันปานกลางมีทานองร้อง
การร้องเอื้อนไม่มากไม่น้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของเพลง
เพลงสองชั้นใช้ขับร้องและบรรเลงเพื่อเป็นการขับกล่อมและประกอบการแสดงมหรสพต่างๆ
เพลงสามชั้น
เพลงสามชั้นหมายถึงเพลงที่มีจังหวะช้าต้องใช้เวลาบรรเลงและขับร้องนานกว่าเพลงในอัตราอื่นๆ ถ้าจะสังเกตเสียงฉิ่ง
ช่วงระหว่างเสียงฉิ่งและฉาบห่างกันมากทานองร้องจะมีการร้องเอื้อนยาวๆเพลงสามชั้นใช้ขับร้องและบรรเลงในโอกาสทั่วไป
เพลงเถา
เพลงเถาหมายถึงเพลงขนาดยาวที่มีเพลง๓ชนิดติดต่ออยู่ในเพลงเดียวกันโดยการบรรเลงเพลงสามชั้นก่อน
แล้วเป็นเพลงสองชั้นลงมาจนถึงเพลงชั้นเดียวเรียกว่าเพลงเถา ตัวอย่างเพลงเขมรพวงเถาเดิมเป็นเพลงสองชั้นต่อมา
หลวงประดิษฐ์ไพเราะได้คิดแต่งขึ้นเป็นสามชั้นดาเนินทานองเป็นคู่กันกับเพลงเขมรเลียบพระนครเมื่อราวพ.ศ. ๒๔๖๐
แล้วหมื่นประคมเพลงประสาน(ใจนิตยผลิน)ได้ตัดลงเป็นชั้นเดียวเมื่อพ.ศ.๒๔๖๔ และมีทานองชั้นเดียวโดยนายเหมือน
ดุริยะประกิตเป็นผู้แต่งเพลงเถา
นิยมใช้บรรเลงและขับร้องในรูปของเพลงรับร้องคือเมื่อร้องจบท่อนดนตรีก็บรรเลงรับ ไม่นิยมนาเพลงเถามาร้องให้ดนตรีบรรเลงคลอ
หรือบรรเลงลาลองแต่อย่างใด
เพลงเกร็ด
เพลงเกร็ดเป็นเพลงขนาดย่อมนามาขับร้องและบรรเลงเป็นเพลงๆไปอาจเป็นอัตราจังหวะใดจังหวะหนึ่งในชุดของเพลงเถา
หรือเป็นเพลงใดเพลงหนึ่งจากชุดเพลงตับหรือเพลงเรื่องก็ได้ เพลงเกร็ดที่ขับร้องและบรรเลงกันอยู่โดยทั่วๆไป
มักจะมีบทร้องที่มีความหมายมีคติมีความซาบซึ้งประทับใจและมีช่วงทานองที่มีความไพเราะเป็นพิเศษ ตัวอย่างเพลงเกร็ดเช่น
เพลงแป๊ ะ(สามชั้น)เพลงแขกสาหร่าย(สองชั้น)และเพลงเต่าเห่(สองชั้น)
เพลงละคร
เพลงละครหมายถึงเพลงที่ใช้ขับร้องและบรรเลงในการแสดงโขนละครและมหรสพต่างๆมีทั้งร้องแล้วดนตรีรับ
ทั้งร้องคลอดนตรี เคล้าและลาลองขึ้นอยู่กับลักษณะการแสดงนั้นๆ
ตัวอย่างเพลงละครได้แก่ เพลงอัตราสองชั้นเช่นเพลงสร้อยเพลงเพลงเวสสุกรรมเพลงพญาโศกหรือเพลงในอัตราเดียวเช่น
เพลงนาคราชเพลงหนีเสือเพลงลิงโลด และเพลงพิเศษที่ใช้เฉพาะละครแท้ๆเช่นเพลงช้าปี่ เพลงโอ้ชาตรี เพลงโอ้โลมเพลงโอ้ร่าย
เพลงยานีเพลงชมตลาดเป็นต้น
เพลงที่ใช้ร้องประกอบละครหรือมหรสพอื่นๆจะต้องใช้ให้ถูกต้องตามอารมณ์ของตัวละครเช่นเพลงพญาโศกเพลงสร้อยเพลง
ใช้สาหรับอารมณ์โศก เพลงนาคราชเพลงลิงโลดใช้สาหรับอารมณ์โกรธเพลงโอ้โลมเพลงโอ้ชาตรี
ใช้สาหรับอารมณ์รักหรือเวลาเกี้ยวพาราสีเป็นต้น
เพลงลา
เพลงลาหมายถึงเพลงที่ผู้ขับร้องและบรรเลงแสดงเป็นอันดับสุดท้ายก่อนที่การแสดงจะจบลง
ซึ่งเป็นไปตามแบบแผนของการแสดงกิจกรรมการบรรเลงดนตรีไทยที่โบราณจารย์ได้กาหนดไว้ กล่าวคือ
เพลงแรกที่บรรเลงคือเพลงโหมโรงและเพลงสุดท้ายต้องบรรเลงเพลงลาเพื่อเป็นการร่าลาให้ศีลให้พรแก่เจ้าของงานหรือผู้ชมผู้ฟัง
เนื้อร้องมีความหมายในทางร่าลาอาลัยอาวรณ์ และให้ศีลให้พรแล้วมักจะมีสร้อยคือมีการร้องว่า"ดอกเอ๋ยเจ้าดอก..."
และจะมีเครื่องดนตรีชิ้นใดชิ้นหนึ่งบรรเลงเลียนเสียงร้องให้คล้ายคลึงกันมากที่สุดซึ่งเรียกกันเป็นทางภาษาสามัญว่า"ว่าดอก"
เครื่องดนตรีที่ใช้ก็อาจใช้ ซออู้
เพลงลาที่นิยมใช้บรรเลงกันเช่นเพลงเต่ากินผักบุ้งเพลงพระอาทิตย์ชิงดวงเพลงอกทะเลเป็นต้น
เพลงเรื่อง
เพลงเรื่องคือเพลงที่โบราณาจารย์ประดิษฐ์ขึ้นโดยนาเอาเพลงที่มีลักษณะใกล้เคียงกันหลายๆ
เพลงมาบรรเลงติดต่อกันเป็นชุดเป็นเรื่องเพื่อความสะดวกในการใช้บรรเลงในโอกาสต่างๆกันเช่นเพลงเรื่องนางหงส์
สาหรับใช้บรรเลงประกอบพิธีศพเพลงเรื่องฉิ่งพระฉันสาหรับใช้บรรเลงประกอบพระฉันภัตตาหารและเพลงเรื่องสร้อยสน
สาหรับใช้บรรเลงในโอกาสทั่วๆไป นอกจากนั้นยังเป็นการรวบรวมเพลงที่มีลักษณะคล้ายๆกันมาไว้ด้วยกัน
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx

More Related Content

Similar to โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx

ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
kruood
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
Tor Jt
 

Similar to โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx (10)

ม.6 หน่วย1_ดนตรีกับวัฒนธรรม.pdf
ม.6 หน่วย1_ดนตรีกับวัฒนธรรม.pdfม.6 หน่วย1_ดนตรีกับวัฒนธรรม.pdf
ม.6 หน่วย1_ดนตรีกับวัฒนธรรม.pdf
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
Art
ArtArt
Art
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from pinglada1

Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdfAvicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
pinglada1
 
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdfAvicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
pinglada1
 

More from pinglada1 (20)

Avicii_Heaven_WIP.pdf
Avicii_Heaven_WIP.pdfAvicii_Heaven_WIP.pdf
Avicii_Heaven_WIP.pdf
 
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdfAvicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
 
Avicii_Medley.pdf
Avicii_Medley.pdfAvicii_Medley.pdf
Avicii_Medley.pdf
 
avicii_levels.pdf
avicii_levels.pdfavicii_levels.pdf
avicii_levels.pdf
 
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdfAvicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
 
08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdf08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdf
 
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docxหนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
 
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdfสารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
 
ลิเก.doc
ลิเก.docลิเก.doc
ลิเก.doc
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
 
ศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docx
 
หอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docหอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.doc
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxเรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.doc
 
ละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docx
 

โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่.docx

  • 1. โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่ ประวัติดนตรีไทย จากการสันนิษฐานของท่านผู้รู้ทางด้านดนตรีไทยโดยการพิจารณาหาเหตุผลเกี่ยวกับกาเนิดหรือที่มาของดนตรีไทย ก็ได้มีผู้เสนอแนวทัศนะในเรื่องนี้ไว้ 2ทัศนะ ที่แตกต่างกันคือ ทัศนะที่ 1 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยได้แบบอย่างมาจากอินเดียเนื่องจากอินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ ที่สาคัญแห่งหนึ่งของโลกอารยธรรมต่างๆของอินเดีย ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อประเทศต่างๆในแถบเอเชียอย่างมากทั้งในด้านศาสนาประเพณีความเชื่อตลอดจนศิลปแขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านดนตรี ปรากฎรูปร่าง ลักษณะเครื่องดนตรี ของประเทศต่างๆในแถบเอเชีย เช่นจีน เขมรพม่า อินโดนิเซีย และมาเลเซียมีลักษณะคล้ายคลึงกัน เป็นส่วนมากทั้งนี้เนื่องมาจากประเทศเหล่านั้นต่างก็ ยึดแบบฉบับดนตรี ของอินเดีย เป็นบรรทัดฐานรวมทั้งไทยเราด้วยเหตุผลสาคัญที่ท่านผู้รู้ได้เสนอทัศนะนี้ก็คือลักษณะของ เครื่องดนตรีไทยสามารถจาแนกเป็น4ประเภทคือ เครื่องดีด
  • 2. เครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่า ใกล้เคียงกับลักษณะเครื่องดนตรี อินเดียตามที่กล่าวไว้ในคัมภีร์ "สังคีตรัตนากร"ของอินเดียซึ่งจาแนกเป็น 4 ประเภท เช่นกันคือ ตะตะคือ เครื่องดนตรี ประเภทมีสาย สุษิระคือ เครื่องเป่า อะวะนัทธะหรืออาตตะ คือ เครื่องหุ้มหนังหรือ กลองต่าง ๆ ฆะนะ คือเครื่องตี หรือเครื่องกระทบ การสันนิษฐานเกี่ยวกับกาเนิดหรือที่มาของดนตรีไทยตามแนวทัศนะข้อนี้เป็นทัศนะที่มีมาแต่เดิมนับตั้งแต่ได้มีผู้สนใจและ ได้ทาการค้นคว้าหาหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้นและนับว่าเป็นทัศนะที่ได้รับการนามากล่าวอ้างกันมากบุคคลสาคัญที่เป็น ผู้เสนอแนะแนวทางนี้คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพพระบิดาแห่งวงการประวัติศาสตร์ของไทย ทัศนะที่ 2 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยเกิดจากความคิดและสติปัญญาของคนไทยเกิดขึ้นมาพร้อมกับคนไทยตั้งแต่ สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีนแล้ว ทั้งนี้เนื่องจากดนตรี เป็นมรดกของมนุษยชาติทุกชาติทุกภาษาต่างก็มีดนตรี ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ของตนด้วยกันทั้งนั้น ถึงแม้ว่าในภายหลังจะมีการรับเอาแบบอย่างดนตรี ของต่างชาติเข้ามาก็ตามแต่ก็เป็นการนาเข้ามาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับลักษณะและนิสัยทางดนตรีของคนในชาตินั้นๆไทยเราตั้งแต่สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ ของประเทศจีนก็คงจะมีดนตรี ของเราเองเกิดขึ้นแล้วทั้งนี้จะสังเกตเห็นได้ว่าเครื่องดนตรีดั้งเดิมของไทยจะมีชื่อเรียกเป็นคาโดด ซึ่งเป็นลักษณะของคาไทยแท้ เช่น เกราะ,โกร่ง,กรับ ฉาบ, ฉิ่ง ปี่, ขลุ่ย ฆ้อง, กลอง .. เป็นต้น ต่อมาเมื่อไทยได้ อพยพ ลงมาตั้งถิ่นฐานในแถบแหลมอินโดจีนจึงได้มาพบ วัฒนธรรมแบบอินเดียโดยเฉพาะเครื่องดนตรีอินเดียซึ่งชนชาติมอญและเขมร รับไว้ก่อนที่ไทยจะอพยพเข้ามาด้วยเหตุนี้ ชนชาติไทยซึ่งมีนิสัยทางดนตรีอยู่แล้วจึงรับเอาวัฒนธรรมทางดนตรีแบบอินเดียผสมกับแบบมอญและเขมรเข้ามาผสมกับดนตรี ที่มีมาแต่เดิมของตนจึงเกิดเครื่องดนตรีเพิ่มขึ้นอีกได้แก่ พิณ สังข์ ปี่ไฉน บัณเฑาะว์ กระจับปี่ และจะเข้ เป็นต้น
  • 3. ต่อมาเมื่อไทยได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในแหลมอินโดจีนอย่างมั่นคงแล้วได้มีการติดต่อสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านในแหลมอินโดจีน หรือแม้แต่กับประเทศทางตะวันตก บางประเทศที่เข้ามาติดต่อค้าขายทาให้ไทยรับเอาเครื่องดนตรีบางอย่างของประเทศต่างๆเหล่านั้นมาใช้เล่นในวงดนตรีไทยด้วยเช่น กลองแขกปี่ชวา ของชวา (อินโดนิเซีย)กลองมลายูของมลายู(มาเลเซีย)เปิงมางตะโพนมอญปี่มอญ และฆ้องมอญของมอญ กลองยาวของพม่าขิมม้าล่อของจีนกลองมริกัน(กลองของชาวอเมริกัน)เปียโนออร์แกนและ ไวโอลีนของประเทศทางตะวันตก เป็นต้น ประวัติดนตรีไทยในสมัยสุโขทัย นับตั้งแต่ไทยได้มาตั้งถิ่นฐานในแหลมอินโดจีนและได้ก่อตั้งอาณาจักรไทยขึ้นจึงเป็นการเริ่มต้นยุคแห่งประวัติศาสตร์ไทย ที่ปรากฎหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรกล่าวคือเมื่อไทยได้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นและหลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้แล้วนับตั้งแต่นั้นมาจึงปรากฎหลักฐานด้านดนตรีไทยที่เป็นลายลักษณ์อักษรทั้งในหลักศิลาจารึก หนังสือวรรณคดีและเอกสารทางประวัติศาสตร์ ในแต่ละยุคซึ่งสามารถนามาเป็นหลักฐานในการพิจารณา ถึงความเจริญและวิวัฒนาการของดนตรีไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นต้นมาจนกระทั่งเป็นแบบแผนดังปรากฎในปัจจุบัน สมัยสุโขทัย ดนตรีไทยมีลักษณะเป็นการขับลานาและร้องเล่นกันอย่างพื้นเมืองเกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทย ในสมัยนี้ปรากฎหลักฐานกล่าวถึงไว้ในหนังสือไตรภูมิพระร่วงซึ่งเป็นหนังสือวรรณคดีที่แต่งในสมัยนี้ได้แก่ แตร,สังข์,มโหระทึก, ฆ้อง, กลอง,ฉิ่ง, แฉ่ง (ฉาบ),บัณเฑาะว์พิณ,ซอพุงตอ(สันนิษฐานว่าคือซอสามสาย)ปี่ไฉน, ระฆัง,และ กังสดาลเป็นต้น ลักษณะการผสมวงดนตรี ก็ปรากฎหลักฐานทั้งในศิลาจารึกและหนังสือไตรภูมิพระร่วงกล่าวถึง"เสียงพาทย์เสียงพิณ" ซึ่งจากหลักฐานที่กล่าวนี้สันนิษฐานว่าวงดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยมีดังนี้คือ 1. วงบรรเลงพิณมีผู้บรรเลง1 คนทาหน้าที่ดีดพิณและขับร้องไปด้วยเป็นลักษณะของการขับลานา 2. วงขับไม้ ประกอบด้วยผู้บรรเลง3 คนคือคนขับลานา1 คนคนสี ซอสามสายคลอเสียงร้อง1 คนและ คนไกวบัณเฑาะว์ ให้จังหวะ 1 คน 3. วงปี่พาทย์เป็นลักษณะของวงปี่พาทย์เครื่อง5มี 2 ชนิด คือ 3.1วงปี่พาทย์เครื่องห้าอย่างเบาประกอบด้วยเครื่องดนตรีชนิดเล็กๆจานวน5 ชิ้น คือ1. ปี่ 2. กลองชาตรี 3. ทับ (โทน) 4. ฆ้องคู่ และ 5. ฉิ่ง ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรี (เป็นละครเก่าแก่ที่สุดของไทย) 3.2วงปี่พาทย์เครื่องห้าอย่างหนักประกอบด้วยเครื่องดนตรีจานวน5ชิ้น คือ1. ปี่ใน 2. ฆ้องวง (ใหญ่) 3. ตะโพน4. กลองทัดและ 5. ฉิ่ง ใช้บรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลงประกอบการแสดงมหรสพต่างๆจะเห็นว่าวงปี่พาทย์เครื่องห้า ในสมัยนี้ยังไม่มีระนาดเอก 4. วงมโหรี เป็นลักษณะของวงดนตรีอีกแบบหนึ่งที่นาเอาวงบรรเลงพิณกับวงขับไม้ มาผสมกันเป็นลักษณะของวงมโหรีเครื่องสี่ เพราะประกอบด้วยผู้บรรเลง4คนคือ 1. คนขับลานาและตีกรับพวงให้จังหวะ2. คนสีซอสามสายคลอเสียงร้อง3. คนดีดพิณและ 4. คนตีทับ (โทน)ควบคุมจังหวะ
  • 4. ประวัติดนตรีไทยในสมัยอยุธยา ปรากฎหลักฐานเกี่ยวกับดนตรีไทยในสมัยนี้ในกฏมลเฑียรบาลซึ่งระบุชื่อเครื่องดนตรีไทยเพิ่มขึ้นจากที่เคยระบุไว้ ในหลักฐานสมัยสุโขทัยจึงน่าจะเป็นเครื่องดนตรี ที่เพิ่งเกิดในสมัยนี้ได้แก่ กระจับปี่ ขลุ่ย จะเข้ และ รามะนา นอกจากนี้ในกฎมณเฑียรบาลสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(พ.ศ.1991-2031) ปรากฎข้อห้ามตอนหนึ่งว่า"...ห้ามร้องเพลงเรือ เป่าขลุ่ยเป่าปี่ สีซอ ดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีโทนทับในเขตพระราชฐาน..."ซึ่งแสดงว่าสมัยนี้ดนตรีไทยเป็นที่นิยมกันมาก แม้ในเขตพระราชฐานก็มีคนไปร้องเพลงและเล่นดนตรีกันเป็นที่เอิกเกริกและเกินพอดี จนกระทั่งพระมหากษัตริย์ต้องทรงออกกฎมลเฑียรบาลดังกล่าวขึ้นไว้เกี่ยวกับลักษณะของวงดนตรีไทยในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาขึ้นกว่าในสมัยสุโขทัยดังนี้คือ 1. วงปี่พาทย์ในสมัยนี้ก็ยังคงเป็นวงปี่พาทย์เครื่องห้าเช่นเดียวกับในสมัยสุโขทัยแต่มีระนาดเอกเพิ่มขึ้นดังนั้นวงปี่พาทย์เครื่องห้า ในสมัยนี้ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ดังต่อไปนี้คือ ระนาดเอก ปี่ใน ฆ้องวง (ใหญ่) กลองทัดตะโพน ฉิ่ง 2. วงมโหรี ในสมัยนี้พัฒนามาจากวงมโหรีเครื่องสี่ในสมัยสุโขทัยเป็นวงมโหรีเครื่องหกเพราะได้เพิ่มเครื่องดนตรี เข้าไปอีก 2 ชิ้น คือ ขลุ่ยและ รามะนาทาให้ วงมโหรี ในสมัยนี้ประกอบด้วยเครื่องดนตรี จานวน 6 ชิ้นคือ ซอสามสาย กระจับปี่ (แทนพิณ) ทับ (โทน) รามะนา ขลุ่ย กรับพวง ประวัติดนตรีไทยในสมัยธนบุรี เนื่องจากในสมัยนี้เป็นช่วงระยะเวลาอันสั้นเพียงแค่15 ปี และประกอบกับเป็นสมัยแห่งการก่อร่างสร้างเมือง และการป้องกันประเทศเสียโดยมากวงดนตรีไทย ในสมัยนี้จึงไม่ปรากฎหลักฐานไว้ว่าได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงขึ้นสันนิษฐานว่า ยังคงเป็นลักษณะและรูปแบบของดนตรีไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง
  • 5. ประวัติดนตรีไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ในสมัยนี้เมื่อบ้านเมืองได้ผ่านพ้นจากภาวะศึกสงครามและได้มีการก่อสร้างเมืองให้มั่นคงเป็นปึกแผ่นเกิดความสงบร่มเย็น โดยทั่วไปแล้วศิลปวัฒนธรรมของชาติก็ได้รับการฟื้นฟูทะนุบารุงและส่งเสริมให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นโดยเฉพาะทางด้านดนตรีไทย ในสมัยนี้ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเจริญขึ้นเป็นลาดับดังต่อไปนี้คือ สมัยรัชกาลที่1ดนตรีไทยในสมัยนี้ส่วนใหญ่ ยังคงมีลักษณะและรูปแบบตามที่มี มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาที่พัฒนาขึ้นบ้างในสมัยนี้ก็คือการเพิ่มกลองทัดขึ้นอีก 1 ลูก ในวงปี่พาทย์ซึ่งแต่เดิมมามีแค่ 1 ลูก พอมาถึงสมัยรัชกาลที่1วงปี่พาทย์มีกลองทัด 2 ลูก เสียงสูง(ตัวผู้)ลูกหนึ่งและเสียงต่า(ตัวเมีย)ลูกหนึ่งและการใช้กลองทัด 2ลูก ในวงปี่พาทย์ก็เป็นที่นิยมกันมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้ สมัยรัชกาลที่2อาจกล่าวว่าในสมัยนี้เป็นยุคทองของดนตรีไทยยุคหนึ่งทั้งนี้เพราะองค์พระมหากษัตริย์ ทรงสนพระทัยดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่งพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถในทางดนตรีไทยถึงขนาดที่ทรงดนตรีไทย คือซอสามสายได้ มีซอคู่พระหัตถ์ชื่อว่า"ซอสายฟ้าฟาด"ทั้งพระองค์ได้พระราชนิพนธ์เพลงไทยขึ้นเพลงหนึ่งเป็นเพลงที่ไพเราะและอมตะ มาจนบัดนี้นั่นก็คือเพลง"บุหลันลอยเลื่อน" ประวัติดนตรีไทย ทัศนะ ที่ 1 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยได้แบบอย่างมาจากอินเดียเนื่องจากอินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สาคั ญแห่งหนึ่งของโลกอารยธรรมต่างๆของอินเดียได้เข้ามามีอิทธิพลต่อประเทศต่างๆในแถบเอเชียอย่างมากทั้งในด้านศาสนา ประเพณีความเชื่อตลอดจนศิลปแขนงต่างๆ โดยเฉพาะทางด้านดนตรี ปรากฎรูปร่างลักษณะเครื่องดนตรี ของประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชีย เช่นจีน เขมร พม่าอินโดนิเซีย และ มาเลเซียมีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นส่วนมากทั้งนี้เนื่องมาจาก ประเทศเหล่านั้นต่างก็ยึดแบบฉบับดนตรี ของอินเดีย เป็นบรรทัดฐานรวมทั้งไทยเราด้วยเหตุผลสาคัญที่ท่านผู้รู้ได้เสนอทัศนะนี้ก็คือ ลักษณะของเครื่องดนตรีไทยสามารถจาแนกเป็น4ประเภทคือ เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่า การสันนิษฐานเกี่ยวกับกาเนิดหรือที่มาของดนตรีไทยตามแนวทัศนะข้อนี้เป็นทัศนะที่มีมาแต่เดิมนับตั้งแต่ ได้มีผู้สนใจและ ได้ทาการค้นคว้าหาหลักฐานเกีีี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้นและนับว่าเป็นทัศนะที่ได้รับการนามากล่าวอ้างกันมาก บุคคลสาคัญที่เป็นผู้เสนอแนะแนวทางนี้คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ พระบิดาแห่งวงการประวัติศาสตร์ของไทย ทัศนะคติที่ 2 สันนิษฐานว่าดนตรีไทยเกิดจากความคิดและสติปัญญาของคนไทยเกิดขึ้นมาพร้อมกับคนไทยตั้งแต่ สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ ของประเทศจีนแล้วทั้งนี้เนื่องจากดนตรี เป็นมรดกของมนุษยชาติทุกชาติทุกภาษาต่างก็มีดนตรี ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ของตนด้วยกันทั้งนั้นถีึงแม้ว่าในภายหลังจะมีการรับเอาแบบอย่างดนตรี ของต่างชาติเข้ามาก็ตามแต่ก็เป็น การนาเข้ามาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับลักษณะและนิสัยทางดนตรี ของคนในชาตินั้นๆไทยเราตั้งแต่สมัยที่ยังอยู่ทาง
  • 6. ตอนใต้ของประเทศจีนก็คงจะมี ดนตรี ของเราเองเกิดขึ้นแล้วทั้งนี้จะสังเกตุเห็นได้ว่าเครื่องดนตรี ดั้งเดิมของไทย จะมีชื่อเรียกเป็นคาโดดซึ่งเป็นลักษณะของคาไทยแท้ เช่น เกราะ,โกร่ง,กรับ ฉาบ,ฉิ่ง ปี่, ขลุ่ย ฆ้อง, กลอง .. เป็นต้น ต่อมาเมื่อไทยได้ อพยพ ลงมาตั้งถิ่นฐานในแถบแหลมอินโดจีนจึงได้มาพบวัฒนธรรมแบบอินเดียโดยเฉพาะเครื่องดนตรี อินเดีย ซึ่งชนชาติมอญ และเขมร รับไว้ก่อนที่ไทยจะอพยพเข้ามาด้วยเหตุนี้ชนชาติไทยซึ่งมีนิสัยทางดนตรีอยู่แล้ว จึงรับเอาวัฒนธรรมทางดนตรีแบบอินเดียผสมกับแบบมอญและเขมรเข้ามาผสมกับดนตรีที่มีมาแต่เดีิมของตน จึงเกิดเครื่องดนตรีเพิ่มขึ้นอีกได้แก่ พิณ สังข์ ปี่ไฉน บัณเฑาะว์ กระจับปี่ และจะเข้ เป็นต้น ต่อมาเมื่อไทยได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในแหลมอินโดจีนอย่างมั่นคงแล้วได้มีการติดต่อสัมพันธ์กับประเทศเพืี่อนบ้านในแหลมอินโดจีน หรือแม้แต่กับประเทศทางตะวันตกบางประเทศที่เข้ามาติดต่อค้าขายทาให้ไทยรับเอาเครื่องดนตรีบางอย่างของประเทศต่างๆ เหล่านั้นมาใช้ เล่นในวงดนตรีไทยด้วยเช่นกลองแขกปี่ชวา ของชวา (อินโดนิเซีย)กลองมลายูของมลายู(มาเลเซีย)เปิงมาง ตะโพนมอญปี่มอญ และฆ้องมอญ ของมอญ กลองยาวของพม่าขิมม้าล่อของจีนกลอง มริกัน(กลองของชาวอเมริกัน)เปียโน ออร์แกนและ ไวโอลีนของประเทศทางตะวันตกเป็นต้น วิวัฒนาการของวงดนตรีไทย นับตั้งแต่ไทยได้มาตั้งถิ่นฐานในแหลมอินโดจีนและได้ก่อตั้งอาณาจักรไทยขึ้นจึงเป็นการเริ่มต้นยุคแห่งประวัติศาสตร์ไทยที่ปรากฎ หลั กฐานเป็นลายลักษณ์อักษรกล่าวคือเมื่อไทยได้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นและหลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้แล้วนับตั้งแต่นั้นมาจึงปรากฎหลักฐานด้านดนตรีไทยที่เป็นลายลักษณ์อักษรทั้งในหลักศิลาจารึก หนังสือวรรณคดีและเอกสารทางประวัติศาสตร์ ในแต่ละยุคซึ่งสามารถนามาเป็นหลักฐานในการพิจารณา ถึงความเจริญและวิวัฒนาการของดนตรีไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นต้นมาจนกระทั่งเป็นแบบแผนดีังปรากฎในปัจจุบัน พอสรุปได้ดังต่อไปนี้ สมัยสุโขทัยดนตรีไทย มีลักษณะเป็นการขับลานาและร้องเล่นกันอย่างพื้นเมืองเกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทยในสมัยนี้ปรากฎหลักฐานกล่าวถึงไว้ในหนังสือ ไตรภูมิพระร่วงซึ่งเป็นหนังสือวรรณคดีที่แต่งในสมัยนี้ได้แก่ แตร,สังข์,มโหระทึก,ฆ้อง, กลอง,ฉิ่ง,แฉ่ง (ฉาบ),บัณเฑาะว์พิณ, ซอพุงตอ (สันนิษฐานว่าคือซอสามสาย)ปี่ไฉน,ระฆัง,และ กังสดาลเป็นต้นลักษณะการผสมวงดนตรี ก็ปรากฎหลักฐานทั้งในศิลาจารึกและหนังสือไตรภูมิพระร่วงกล่าวถึง"เสียงพาทย์เสียงพิณ"ซึ่งจากหลักฐานที่กล่าวนี้สันนิษฐานว่า วงดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยมีดังนี้คือ
  • 7. 1. วงบรรเลงพิณมีผู้บรรเลง1คนทาหน้าทีีี่ดีดพิณและขับร้องไปด้วยเป็นลักษณะของการขับลานา 2. วงขับไม้ ประกอบด้วยผู้บรรเลง3คนคือ ค นขับลานา1 คนคนสี ซอสามสายคลอเสียงร้อง1คนและ คนไกวบัณเฑาะว์ ให้จังหวะ 1 คน 3. วงปี่พาทย์เป็นลักษณะของวงปี่พาทย์เครื่อง5มี 2 ชนิด คือ วงปี่พาทย์เครื่องห้าอย่างเบาประกอบด้วยเครื่องดนตรีชนิดเล็กๆจานวน5 ชิ้น คือ1. ปี่ 2.กลองชาตรี 3.ทับ (โทน) 4. ฆ้องคู่ และ 5. ฉิ่งใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรี (เป็นละครเก่าแก่ที่สุดของไทย) วงปี่พาทย์เครื่องห้าอย่างหนักประกอบด้วยเครื่องดนตรีจานวน5ชิ้น คือ1. ปี่ใน 2. ฆ้องวง (ใหญ่) 3.ตะโพน4. กลองทัดและ 5. ฉิ่ง ใช้บรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลงประกอบการแสดงมหรสพ ต่างๆจะเห็นว่าวงปี่พาทย์เครื่องห้า ในสมัยนี้ยังไม่มีระนาดเอก 4. วงมโหรี เป็นลักษณะของวงดนตรีอีกแบบหนึ่งที่นาเอาวงบรรเลงพิณกับวงขับไม้ มาผสมกันเป็นลักษณะของวงมโหรีเครื่องสี่ เพราะประกอบด้วยผู้บรรเลง4คนคือ1. คนขับลานาและตีกรับพวงให้จังหวะ2.คนสี ซอสามสายคลอเสียงร้อง3.คนดีดพิณและ 4. คนตีทับ(โทน)ควบคุมจังหวะ สมัยกรุงศรีอยุธยา ในสมัยนี้ในกฏมลเฑียรบาลซึ่งระบุชื่อเครื่องดนตรีไทยเพิ่มขึ้นจากที่เคยระบุไว้ ในหลักฐานสมัยสุโขทัยจึงน่าจะเป็นเครื่องดนตรี ที่เพิ่งเกิดในสมัยนี้ได้แก่ กระจับปี่ ขลุ่ยจะเข้ และ รามะนานอกจากนี้ในกฎมณเฑียรบาลสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(พ.ศ. 1991-2031)ปรากฎข้อห้ามตอนหนึ่งว่า"...ห้ามร้องเพลงเรือเป่าขลุ่ย เป่าปี่ สีซอดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีโทนทับ ในเขตพระราชฐาน..."ซึ่งแสดงว่าสมัยนี้ดนตรีไทยเป็นที่นิยมกันมากแม้ในเขตพระราชฐาน ก็มีคนไปร้องเพลงและเล่นดนตรีกันเป็นที่เอิกเกริกและเกินพอดีจนกระทั่งพระมหากษัตริย์ต้องทรงออกกฎมลเฑียรบาล ดังกล่าวขึ้นไว้เกี่ยวกับลักษณะของวงดนตรีไทยในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาขึ้นกว่าในสมัยสุโขทัยดังนี้คือ1.วงปี่พาทย์ ในสมัยนี้ก็ยังคงเป็นวงปี่พาทย์เครื่องห้าเช่นเดียวกับในสมัยสุโขทัยแต่มีระนาดเอกเพิ่มขึ้นดังนั้นวงปี่พาทย์เครื่องห้า ในสมัยนี้ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ดังต่อไปนี้คือ 1. ระนาดเอก 2. ปี่ใน 3. ฆ้องวง (ใหญ่) 4. กลองทัดตะโพน 5. ฉิ่ง 2. วงมโหรี ในสมัยนี้พัฒนามาจากวงมโหรีเครื่องสี่ในสมัยสุโขทัยเป็นวงมโหรีเครื่องหกเพราะได้เพิ่มเครื่องดนตรี เข้าไปอีก 2 ชิ้น คือ ขลุ่ยและ รามะนาทาให้ วงมโหรี ในสมัยนี้ประกอบด้วยเครื่องดนตรี จานวน 6 ชิ้น คือ 1. ซอสามสาย 2. กระจับปี่ (แทนพิณ) 3. ทับ(โทน) 4. รามะนา 5. ขลุ่ย
  • 8. 6. กรับพวง สมัยกรุงธนบุรี เนื่องจากในสมัยนี้เป็นช่วงระยะเวลาอันสั้นเพียงแค่15ปี และประกอบกับเป็นสมัยแห่งการก่อร่างสร้างเมือง และการป้องกันประเทศเสียโดยมากวงดนตรีไทยในสมัยนี้จึงไม่ปรากฎหลักฐานไว้ว่าได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงขึ้นสันนิษฐานว่า ยังคงเป็นลักษณะและรูปแบบของดนตรีไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยนี้เมื่อบ้านเมืองได้ผ่านพ้นจากภาวะศึกสงครามและได้มีการก่อสร้างเมืองให้มั่นคงเป็นปึกแผ่นเกิดความสงบร่มเย็น โดยทั่วไปแล้วศิลปวัฒนธรรมของชาติก็ได้รับการฟื้นฟูทะนุบารุงและส่งเสริมให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นโดยเฉพาะทางด้านดนตรีไทย ในสมัยนี้ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเจริญขึ้นเป็นลาดับดังต่อไปนี้ รัชกาลที่1 ดนตรีไทยในสมัยนี้ส่วนใหญ่ ยังคงมีลักษณะและรูปแบบตามที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาที่พัฒนาขึ้นบ้างในสมัยนี้ก็คือการเพิ่ม กลองทัดขึ้นอีก 1 ลูกใน วงปี่พาทย์ซึ่ง แต่เดิมมามีแค่ 1 ลูกพอมาถึง สมัยรัชกาลที่1วงปี่พาทย์มี กลองทัด2 ลูกเสียงสูง(ตัวผู้) ลูกหนึ่งและ เสียงต่า(ตัวเมีย)ลูกหนึ่งและการใช้ กลองทัด 2 ลูกในวงปี่พาทย์ก็เป็นที่นิยมกันมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้ รัชกาลที่2 อาจกล่าวว่าในสมัยนี้เป็นยุคทองของดนตรีไทยยุ คหนึ่ง ทั้งนี้เพราะองค์พระมหากษัตริย์ทรงสนพระทัยดนตรีไทยเป็นอย่างยิ่ง พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถในทางดนตรีไทยถึงขนาดที่ทรงดนตรีไทยคือซอสามสายได้ มีซอคู่พระหัตถ์ชื่อว่า"ซอสายฟ้าฟาด" ทั้งพ ระองค์ได้ พระราชนิพนต์เพลงไทยขึ้นเพลงหนึ่งเป็นเพลงที่ไพเราะและอมตะมาจนบัดนี้นั่นก็คือเพลง"บุหลันลอยเลื่อน" การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของดนตรีไทยในสมัยนี้ก็คือได้มีการนาเอาวงปี่พาทย์มาบรรเลงประกอบการขับเสภาเป็นครั้งแรก นอกจากนี้ยังมีกลองชนิดหนึ่งเกิดขึ้นโดยดัดแปลงจาก"เปิงมาง"ของมอญ ต่อมาเรียกกลองชนิดนี้ว่า"สองหน้า" ใช้ตีกากับจังหวะแทนเสียงตะโพนในวงปี่พาทย์ประกอบการขับเสภาเนื่องจากเห็นว่าตะโพนดังเกินไปจนกระทั่งกลบเสียงขับ กลองสองหน้านี้ปัจจุบันนิยมใช้ตีกากับจัง หวะหน้าทับในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง รัชกาลที่3 วงปี่พาทย์ได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่เพราะได้มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้มมาคู่กับระนาดเอกและประดิษฐ์ฆ้องวงเล็กมาคู่กับ ฆ้องวงใหญ่ รัชกาลที่4 วงปี่พาทย์ได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ เพราะได้มีการประดิษฐ์เครื่องดนตรี เพิ่มขึ้นอีก 2ชนิด เลียนแบบระนาดเอก และระนาดทุ้มโดยใช้โลหะทาลูกระนาดและทารางระนาดให้แตกต่างไปจากรางระนาดเอกและระนาดทุ้ม(ไม้)เรียกว่า ระนาดเอกเหล็กและระนาดทีุี้มเหล็กนามาบรรเลงเพิ่มในวงปี่พาทย์เครื่องคู่ทาให้ ขนาดของวงปี่พาทย์ขยายใหญ่ขึ้นจึงเรียกว่า ว งปี่พาทย์เครื่องใหญ่ อนึ่งในสมัยนี้วงการดนตรีไทยนิยมการร้องเพลงส่งให้ดนตรีรับหรือที่เรียกว่า"การร้องส่ง"กันมากจนกระทั่ง การขับเสภาซึ่งเคยนิยมกันมาก่อนค่อยๆหายไปและการร้องส่งก็เป็นแนวทางให้มีผู้คิดแต่งขยายเพลง2ชั้นของเดิมให้เป็นเพลง3 ชั้น และตัดลงเป็นชั้นเดียวจนกระทั่งกลายเป็นเพลงเถาในที่สุด(นับว่าเพลงเถาเกิดขึ้นมากมายในสมัยนี้)นอกจากนี้วงเครื่องสาย ก็เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลนี้เช่นกัน รัชกาลที่5
  • 9. ได้มีการปรับปรุงวงปี่พาทย์ขึ้นใหม่ชนิดหนึ่งซึ่งต่อมาเรียกว่า"วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์"โดยสมเด็จกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ สาหรับใช้บรรเลงประกอบการแสดง"ละครดึกดาบรรพ์"ซึ่งเป็นละครที่เพิ่งปรับปรุงขึ้นในสมัยรัชกาลนี้เช่นกัน หลักการปรับปรุงของท่านก็โดยการตัดเครื่องดนตรีชนิดเสียงเล็กแหลมหรือดังเกินไปออกคงไว้แต่เครื ี่องดนตรีที่มีเสียงทุ้มนุ่มนวล กับเพิ่มเครื่องดนตรีบางอย่างเข้ามาใหม่เครื่องดนตรี ในวงปี่พาทย์ดึกดีาบรรพ์จึงประกอบด้วยระนาดเอกฆ้องวงใหญ่ ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็กขลุ่ยซออู้ ฆ้องหุ่ย (ฆ้อง 7 ใบ) ตะโพนกลองตะโพนและเครื่องกากับจังหวะ รัชกาลที่6 ได้การปรับปรุงวงปี่พาทย์ขึ้นมาอีกชนิดหนึ่งโดยนาวงดนตรีของมอญมาผสมกับวงปี่พาทย์ของไทยต่อมาเรียกวงดนตรีผสมนี้ว่า "วงปี่พาทย์มอญ"โดยหลวงประดิษฐไพเราะ(ศรศิลปบรรเลง)เป็นผู้ปรับปรุงขึ้นวงปี่พาทย์มอญดังกล่าวนี้ ก็มีทั้งวงปี่พาทย์มอญเครื่องห้าเครื่องคู่และเครื่องใหญ่ เช่นเดียวกับวงปี่พาทย์ของไทยและกลายเป็นที่นิยมใช้บรรเลงประโคมในง านศพมาจนกระทั่งบัดนี้นอกจากนี้ยังได้มีการนาเครื่องดนตรีของต่างชาติเข้ามาบรรเลงผสมกับวงดนตรีไทยบางชนิ ดก็นามาดัดแปลงเป็นเครื่องดนตรีของไทยทาให้รูปแบบของวงดนตรีไทยเปลี่ยนแปลงพัฒนาดังนี้คือ 1. การนาเครื่องดนตรีของชวาหรืออินโดนีเซียคือ"อังกะลุง"มาเผยแพร่ในเมืองไทยเป็นครั้งแรกโดยหลวงประดิษฐไพเราะ(ศร ศิลปบรรเลง)ทั้งนี้โดยนามาดัดแปลงปรับปรุงขึ้นใหม่ให้มีเสียงครบ7เสียง(เดิมมี 5 เสียง)ปรับปรุง วิธีการเล่นโดยถือเขย่าคนละ 2 เสียงทาให้เครื่องดนตรีชนิดนี้กลายเป็นเครื่องดนตรีไทยอีกอย่างหนึ่งเพราะคนไทยสามารถทาอังกะลุงได้เอง อีกทั้งวิธีการบรรเลงก็เป็นแบบเฉพาะของเราแตกต่างไปจากของชวาโดยสิ้นเชิง 2. การนาเครื่องดนตรีของต่างชาติเขี้ามาบรรเลงผสมในวงเครื่องสายได้แก่ ขิมของจีนและออร์แกนของฝรั่ง ทาให้วงเครื่องสายพัฒนารูปแบบของวงไปอีกลักษณะหนึ่งคือ"วงเครื่องสายผสม" รัชกาลที่7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจี้าอยู่หัวได้ทรงสนพระทัยทางด้านดนตรีไทยมากเช่นกันพระองค์ได้พระราชนิพนธ์ เพลงไทยที่ไพเราะไว้ถึง3เพลงคือเพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง3ชั้นเพลงเขมรลอยองค์(เถา)และเพลงราตรีประดับดาว(เถา) พระองค์และพระราชินีได้โปรดให้ครูดนตรีเข้าไปถวายการสอนดนตรีในวังแต่เป็นที่น่าเสียดายที่ระยะเวลาแห่งการครอง ราชย์ของพระองค์ไม่นานเนื่องมาจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองและพระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ หลังจากนั้นได้ 2ปี มิฉะนั้นแล้วดนตรีไทยก็คงจะเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยแห่งพระองค์อย่างไรก็ตามดนตรีไทยในสมัยรัชกาลนี้นับว่าได้พัฒนารูปแบบ และลักษณะมาจนกระทั่งสมบูรณ์ เป็นแบบแผนดังเช่นในปัจจุบันนี้แล้ว ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชมีผู้นิยมดนตรีไทยกันมาก และมีผู้มีฝีมือทางดนตรี ตลอดจนมีความคิดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้พัฒนาก้าวหน้ามาตามลาดับพระมหากษัตริย์เจ้านาย ตลอดจนขุนนางผู้ใหญ่ ได้ให้ความอุปถัมภ์และทานุบารุงดนตรีไทยในวังต่างๆมักจะมีวงดนตรีประจาวังเช่นวงวังบูรพา วงวังบางขุนพรหมวงวังบางคอแหลมและวงวังปลายเนินเป็นต้นแต่ละวงต่างก็ขวนขวายหาครูดนตรี และนักดนตรีที่มีฝีมือเข้ามาประจาวงมีการฝึกซ้อมกีันอยู่เนืองนิจบางครั้งก็มีการประกวดประชันกัน จึงทาให้ดนตรีไทยเจริญเฟื่องฟูมากต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475 เป็นต้นมา ดนตรีไทยเริ่มซบเซาลง อาจกล่าวได้ว่าเป็นสมัยหัวเลี้ยวหัวต่อที่ดนตรีไทยเกือบจะถึงจุดจบเนื่องจากรัฐบาลในสมัยหนึ่งมีนโยบายทีเรียกว่า"รัฐนิยม" ซึ่งนโยบายนี้มีผลกระทบต่อดนตรีไทยด้วยกล่าวคือมีการห้ามบรรเลงดนตรีไทยเพราะเห็นว่าไม่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ให้ทัดเทียมกับอารยประเทศใครจะจัดให้มีการบรรเลงดนตรีไทยต้องขออนุญาตจากทางราชการก่อนอีกทั้ง นักดนตรีไทยก็จะต้องมีบัตรนักดนตรีที่ทางราชการออกให้ จนกระทั่งต่อมาอีกหลายปี เมื่อได้มีการสั่งยกเลิก"รัฐนิยม"ดังกล่าวเสีย แต่ถึงกระนั้นก็ตามดนตรีไทยก็ไม่รุ่งเรืองเที่าแต่ก่อนยังล้มลุกคลุกคลานมาจนกระทั่งบัดนี้เนื่องจากวิถีชีวิต
  • 10. และสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมวัฒนธรรมทางดนตรีของต่างชาติได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของคนไทยเป็นอันมาก ดนตรีที่เราได้ยินได้ฟังและไดี้เห็นกันทางวิทยุโทรทัศน์หรือที่บรรเลงตามงานต่างๆโดยมากก็เป็นดนตรีของต่างชาติหาใช่ "เสียงพาทย์เสียงพิณ"ดังแต่ก่อนไม่ถึงแม้ว่าจะเป็นที่น่ายินดีที่เราได้มีโอกาสฟังดนตรีนานาชาตินานาชนิดแต่ถ้าดนตรีไทย ถูกทอดทิ้งและไม่มีใครรู้จักคุณค่าก็นับว่าเสียดายที่จะต้องสูญเสียสิ่งที่ดีงามซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติอย่างหนึ่งไปดังนั้น จึงควรที่คนไทยทุกคนจะได้ตระหนักถึงคุณค่าของดนตรีไทยและช่วยกันทะนุบารุงส่งเสริมและรักษาไว้ เพื่อเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติสืบต่อไป การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของดนตรีไทยในสมัยนี้ก็คือได้มีการนาเอาวงปี่พาทย์มาบรรเลงประกอบการขับเสภาเป็นครั้งแรก นอกจากนี้ยังมีกลองชนิดหนึ่งเกิดขึ้นโดยดัดแปลงจาก"เปิงมาง"ของมอญ ต่อมาเรียกกลองชนิดนี้ว่า"สองหน้า" ใช้ตีกากับจังหวะแทนเสียงตะโพนในวงปี่พาทย์ประกอบการขับเสภา เนื่องจากเห็นว่าตะโพนดังเกินไป จนกระทั่งกลบเสียงขับ กลองสองหน้านี้ปัจจุบันนิยมใช้ตีกากับจังหวะหน้าทับในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง องค์ประกอบของดนตรีไทย 1.เสียงของดนตรีไทย เสียงดนตรีไทยประกอบด้วยระดับเสียง7เสียงแต่ละเสียงมีช่วงห่างเท่ากันทุกเสียงเสียงดนตรีไทยแต่ละเสียงเรียกชื่อแตกต่างกันไป ในดนตรีไทยเรียกระดับเสียงว่า“ทาง”ในที่นี้ก็คือ ระดับเสียงของเพลงที่บรรเลงซึ่งกาหนดชื่อเรียกเป็นที่หมายรู้กันทุกๆเสียง จาแนกเรียงลาดับขึ้นไปทีละเสียง 2. จังหวะของดนตรีไทย “จังหวะ” มีความหมายถึงมาตราส่วนของระบบดนตรีที่ดาเนินไปในช่วงของการบรรเลงเพลงอย่างสม่าเสมอ เป็นตัวกาหนดให้ผู้บรรเลงจะต้องใช้เป็นหลักในการ บรรเลงเพลง จังหวะของดนตรีไทยจาแนกได้ 3 ประเภท คือ 1. จังหวะสามัญ หมายถึงจังหวะทั่วไปที่นักดนตรียึดเป็นหลักสาคัญในการบรรเลงและขับร้องโดยปกติจังหวะสามัญที่ใช้กันในวงดนตรีจะมี 3ระดับ คือ จังหวะช้า ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สามชั้น จังหวะปานกลาง ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สองชั้น จังหวะเร็ว ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ ชั้นเดียว 2. จังหวะฉิ่งหมายถึง จังหวะที่ใช้ฉิ่งเป็นหลักในการตีโดยปกติจังหวะฉิ่งจะตี“ฉิ่ง…ฉับ”สลับกันไปตลอดทั้งเพลง แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ“ฉิ่ง”ตลอดเพลงบางเพลงตี“ฉิ่ง ฉิ่ง ฉับ” ตลอดทั้งเพลงหรืออาจจะตีแบบอื่นๆก็ได้ จังหวะฉิ่งนี้ นักฟังเพลงจะใช้เป็นแนวในการพิจารณาว่าช่วงใดเป็นอัตราจังหวะสามชั้นสองชั้นหรือชั้นเดียวก็ได้ เพราะฉิ่งจะตีเพลงสามชั้นให้มีช่วงห่างตามอัตราจังหวะของเพลง หรือตีเร็วกระชั้นจังหวะในเพลงชั้นเดียว 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 สามชั้น - - - - - - - ฉิ่ง - - - - - - - ฉับ
  • 11. สองชั้น - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ ชั้นเดียว - ฉิ่ง- ฉับ - ฉิ่ง-ฉับ - ฉิ่ง- ฉับ - ฉิ่ง-ฉับ 3. จังหวะหน้าทับหมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที่ใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีประเภทหนังซึ่งเลียนเสียงการตีมาจาก “ทับ” เป็นเครื่องกาหนดจังหวะเครื่องดนตรีเหล่านี้ได้แก่ ตะโพนกลองแขกสองหน้าโทน -รามะนาหน้าทับ 3. ทานองดนตรีไทย ลักษณะทานองเพลงที่มีเสียงสูงๆต่าๆสั้นๆยาวๆสลับคละเคล้ากันไป ตามจินตนาการของคีตกวีที่ประพันธ์ บทเพลงซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้เหมือนกันทุกชาติภาษา จะมีความแตกต่างกันตรงลักษณะประจา ชาติที่มีพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรมไม่เหมือนกัน เช่นเพลงของอเมริกันอินโดนีเซีย อินเดียจีน ไทย ย่อมมีโครงสร้างของทานองที่ แตกต่างกัน ทานองของดนตรีไทยประกอบด้วยระบบของเสียง การเคลื่อนที่ของเสียงความยาว ความกว้างของเสียง และระบบหลักเสียงเช่นเดียวกับทานองเพลงทั่วโลก 1. ทานองทางร้อง เป็นทานองที่ประดิษฐ์เอื้อนไปตามทานองบรรเลงของเครื่องดนตรี และมีบทร้องซึ่งเป็นบทร้อยกรอง ทานองทางร้องคลอเคล้าไปกับทานองทางรับหรือร้องอิสระได้ การร้องนี้ต้องถือทานองเป็นสาคัญ 2. ทานองการบรรเลงหรือทางรับเป็นการบรรเลงของเครื่องดนตรีในวงดนตรี ซึ่งคีตกวีแต่งทานองไว้สาหรับบรรเลง ทานองหลักเรียกลูกฆ้อง“BasicMelody”เดิมนิยมแต่งจากลูกฆ้องของฆ้องวงใหญ่ และแปรทางเป็นทางของเครื่องดนตรีชนิดต่างๆดนตรีไทยนิยมบรรเลงเพลงในแต่ละท่อน2 ครั้งซ้ากัน ภายหลังได้มีการแต่งทานองเพิ่มใช้บรรเลงในเที่ยวที่สองแตกต่างไปจากเที่ยวแรกเรียกว่า “ทางเปลี่ยน” 4. การประสานเสียง เป็นการทาเสียงดนตรีพร้อมกัน2เสียงพร้อมกันเป็นคู่ขนานหรือเหลื่อมล้ากันตามลีลาเพลงก็ได้ 1. การประสานเสียงในเครื่องดนตรีเดียวกันเครื่องดนตรีบางชนิดสามารถบรรเลง สอดเสียงพร้อมกันได้ โดยเฉพาะทาเสียงขั้นคู่ (คู่2 คู่3 คู่4 คู่5 คู่6 และ คู่7) 2. การประสานเสียงระหว่างเครื่องดนตรี คือการบรรเลงดนตรีด้วยเครื่องดนตรีต่างชนิดกันสุ้มเสียง และความรู้สึกของเครื่องดนตรีเหล่านั้นก็ออกมาไม่เหมือนกันแม้ว่าจะบรรเลงเหมือนกันก็ตาม 3.การประสานเสียงโดยการทาทาง การแปรทานองหลักคือลูกฆ้อง“Basic Melody”ให้เป็นทานองของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดเรียกว่า “การทาทาง” ทางของเครื่องดนตรี (ทานอง)แต่ละชนิดไม่เหมือนกันดังนั้นเมื่อบรรเลงเป็นวงเครื่องดนตรีต่างเครื่องก็จะบรรเลงตามทางหรือทานองข องตนโดยถือทานองหลักเป็นสาคัญของการบรรเลง การแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีไทย การแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีนั้นย่อมจะแตกต่างกันไปได้ตามพื้นภูมิหรือความนิยมของแต่ละชาติ การแบ่งประเภทของเครื่อดนตรีตามแบบตะวันตกนั้นแบ่งเป็นเครื่องสาย เครื่องลมและเครื่องตี เครื่องสายจะต้องแยกออกเป็นเครื่อง
  • 12. ดีดและเครื่องสี เครื่องลมก็แยกออกเป็นเครื่องไม้และเครื่องโลหะ และเครื่องตีก็แยกได้เป็นเครื่องบรรเลงทานองและเครื่องประกอบจั งหวะ ส่วนการแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีไทยนั้นถือเอากิริยาที่บรรเลงให้เกิดเป็นเสียงขึ้นอย่างเดียวเป็นเครื่องแบ่งประเภท คือเครื่อ งที่ดีดเป็นเสียงเป็นเครื่องที่มีสาย ใช้มือหรือวัตถุใดๆดีดที่สายแล้วก็เกิดเสียงขึ้นเช่นกระจับปี่ จะเข้ อย่างนี้เรียกว่า เครื่องดีดเครื่องที่สีเป็นเสียงเป็นเครื่องที่มีสายใช้หางม้าหลายๆเส้นสีที่สายให้เกิดเสียงเช่นซอสามสายซอด้วงซออู้ อย่างนี้เรียกว่าเครื่องสีี เครื่องที่ตีเป็นเสียงมีทั้งตีด้วยไม้ เช่นฆ้อง ระนาดกับตีด้วยมือเช่นตะโพนโทน หรือของสิ่งเดียวกันสองอันตีกันเองเช่นกรับและฉิ่ง เหล่านี้เรียกว่าเครื่องตี เครื่องที่เป่าเป็นเสียงเป็นเครื่องที่ต้องใช้ลมเป่าเข้าไปในเครื่องนั้นๆเช่นปี่ ขลุ่ย ก็เรียกว่าเครื่องเป่ ารวมแล้วดนตรีไทยมี๔ประเภท คือ ดีด สี ตี เป่า การแบ่งหน้าที่ของการบรรเลงการแบ่งประเภทเป็นดีดสีตี เป่า นั้นเป็นการแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีแต่เครื่องดนตรีนั้นๆ ย่อมมีหน้าที่ในการบรรเลงซึ่งแบ่งออกได้เป็น๒ พวก ๑. บรรเลงทํานองเพลง พวกที่๑ เป็นพวกที่มีเสียงสูงต่าเรียงลาดับกันไม่น้อยกว่า ๗เสียงดนตรีพวกนี้มีหน้าที่บรรเลงเป็นทานองเพลงเช่นระนาดเอก ระนาดทุ้มฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็กปี่ ขลุ่ย และซอต่างๆ ๒. บรรเลงประกอบจังหวะ พวกที่๒เป็นพวกที่มีเสียงสูงต่าไม่ถึง๗เสียงเครื่องดนตรีพวกนี้มีหน้าที่บรรเลงเป็นเครื่องประกอบจังหวะเช่นฉิ่งฉาบตะโพน กลองทัดโทนรามะนาเป็นต้น เอกลักษณ์ดนตรีไทย สัญลักษณ์ของดนตรีไทยมีเอกลักษณ์ประจาชาติซึ่งจะพิจารณาได้ ๓ประการคือ 1.วัสดุที่สร้าง เครื่องดนตรีของทุกๆชาติในยุคเริ่มแรกก็มักจะใช้วัสดุที่มีอยู่ในถิ่นของตนมาสรรค์์สร้างขึ้นแล้วจึงค่อยวิวัฒนาการต่อไป ภูมิประ เทศของไทยตั้งแต่สมัยโบราณนั้นอุดมไปด้วยไม้ไผ่ไม้เนื้อแข็ง หนังและกระดูกสัตว์ที่ใช้งานและใช้เนื้อเป็นอาหาร เครื่องดนตรีของไทยมักจะสร้างจากสิ่งเหล่านี้โดยมาก เช่นซอด้วงขั้นแรกกระบอก ซอด้วงก็ใช้ทาด้วยไม้ไผ่แล้วเปลี่ยนเป็นไม้เนื้อแข็ง ต่อมาคนไทยมาอยู่ในตอนใต้ลงไปและใช้ช้างเป็นพาหนะและใช้แรงงาน กระบอก ซอด้วงจึงทาด้วยงาช้างซึ่งเป็นสิ่งที่สวยงามมาก ซออู้ ซอสามสายกะโหลกนั้นทาด้วยกะลามะพร้าวซึ่งอุดมมากในดินแดน ของไทยตอนใต้นี้ ระนาดของไทยแม้จะมาเริ่มใช้เอาในตอนหลังก็ยังทาด้วยไม้ไี่ผ่่ซึ่งมีเสียงไพเราะนุ่มนวลกว่าทาด้วยไม้เนื้อแข็งมา ก เพราะไม้ไผ่บงในจังหวัดตราดทาลูกระนาดมีเสียงไพเราะดีไม่มีที่ไหนสู้ ต่างกับระนาดของชาติใกล้เคียงที่ทาด้วยู้ไม้เนื้อแข็งที่มีเสีย งกระด้างกว่า ส่วนกลองตัวกลองทาด้วยไม้เนื้อแข็งและขึงหน้าด้วยหนังสัตว์เฉพาะกลองที่ขึงหนังสองหน้าตรึงด้วยหมุดที่เราเรียกกั นว่า “กลองทัด” นั้นจีนได้เอาอย่างไปใช้แล้วเรียกชื่อว่า “น่านตังกู๊” ซึ่งแปลว่า“กลองของชาวใต้”ส่วนฆ้องทั้งฆ้องโหม่งฆ้องวงทาด้วย ทองเหลือง ซึ่งชาวไทยเราสามารถในเรื่องหล่อทองเหลืองมากยิ่งกว่าชาติอื่นในถิ่นแถบนี้
  • 13. 2.รูปร่างลักษณะ ในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆรูปร่างลักษณะที่จะเห็นว่างดงามนั้น ย่อมเป็นไปตามจิตใจ นิสัยและสัญชาตญาณที่เห็นงามของชาตินั้นๆชนชาติไทยป็นผู้ที่มีจิตใจและนิสัยอ่อนโยนมีเมตตากรุณายิ้มแย้ มแจ่มใส ศิลปะต่างๆของไทยจึงมักจะเป็นรูปที่เป็นเส้นโค้งอ่อนช้อย ที่จะหักมุม ๔๕ องศานั้นน้อยที่สุดและทุกๆสิ่งมักจะเป็นปลายเรียวแหลม ขอให้พิจารณาดูศิลปะต่างๆของไทยเพื่อเปรียบเทียบเช่น บ้านไทย จั่วและปั้นลมอ่อนช้อยจนถึงปลายเรียวแหลม ช่อฟ้าใบระกาของปราสาทราชวังและโบสถ์วิหารล้วนแต่อ่อนช้อย่น่าชมสมส่วนลายไทยซึ่งเต็มไปด้วยกระหนกต่างๆ กระหนกทุกตัวจะเป็นเส้นโค้งอ่อนสลวยและสะบัดสะบิ้งจนถึงปลายแหลม เครื่องแต่งตัวละครราเป็นละครของไทยแท้มีมงกุฎและชฎาเรียวและยอดแหลม อินทรธนูที่ประดับบ่าก็โค้งและปลายแหลมท่าราของละครแขนและมือเมื่อจะงอหรือจะเหยียดล้วนเป็นเส้นโค้งตลอดจนปลายนิ้วมือซึ่ งอ่อนช้อยน่าดูมาก ทีนี้มาดูลักษณะรูปร่างของเครื่องดนตรีไทยโทนระนาดเอกระนาดทุ้มส่วนสัดเป็นเส้นโค้งและมีปลายแหลมทั้งนั้น โขนของฆ้องวงใหญ่และฆ้องเล็กโอนสลวยขึ้นไป คล้ายหลังคาบ้านไทยส่วนโขนของคันซอด้วงที่เรียกว่า “ทวนบน”ก็โค้งอ่อนขึ้นไปจนปลายคล้ายกับโขนเรือพระราชพิธีของไทยโบราณ นี่คือรูปลักษณะของดนตรีไทย 3.เสียงของดนตรีไทย เครื่องดนตรีไทยที่สร้างขึ้นนั้นล้วนแต่มีเจตนาให้ไพเราะแต่ว่าเป็นเสียงไพเราะ อย่างนุ่มนวลอ่อนหวานไม่เอะอะหรือเกรี้ยวกราด ซึ่งเป็นไปตามลักษณะนิสัยของชนชาติไทย เสียงซอเสียงขลุ่ยเสียงปี่ เสียงฆ้องและเสียงพิณล้วนเป็นสิ่งที่ มีเสียงนุ่มนวล มีกังวานไพเราะอย่างอ่อนหวาน แม้จะมีสิ่งที่มีเสียงดังมากเช่นกลองทัดผสมอยู่บางเวลาก็เป็นสิ่งจาเป็น โดยการบรรเลงเพลงที่มีกลองนั้นมักจะเป็นเพื่อโฆษณาให้ผู้ที่อยู่ไกลได้ยินได้รู้กิจกรรมที่กระทา อีกสิ่งหนึ่งที่เห็นเจตนาของผู้สร้างเครื่องดนตรีไทยว่าต้องการความไพเราะอย่างนุ่มนวลไม่แกร่งกร้าวก็คือการที่จะเทียบเสียงระนาดแล ะฆ้องวงให้มีเสียงสูงต่าตามประสงค์นั้นได้ใช้ขี้ผึ้งผสมกับผงตะกั่วเป็นเครื่องถ่วงเสียงสาหรับระนาด จะติดขี้ผึ้งตรงเบื้องล่างหัวลูกระนาดด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้าน ส่วนฆ้องวงจะติดขี้ผึ้งตรงใต้ปุ่มฆ้องผลของการติดด้วยขี้ผึ้งผสม ผงตะกั่วนี้ยิ่งติดมากก็ยิ่งทาให้เสียงต่า ถ้าเอาออกก็จะเป็นเสียงสูงนอกจากทาให้เสียงสูงต่าแล้วยังจะทาให้สิ่งที่เทียบด้วยติดขี้ผึ้งนี้มีเสียงนุ่มนวลไพเราะไม่โฉ่งฉ่าง ฆ้องที่ท าสาเร็จเป็นเสียงสูงต่าตามต้องการโดยไม่ต้องติดขี้ผึ้งกับผงตะกั่วนั้นเสียงจะแกร่งกร้าวไม่นุ่มนวลเช่นฆ้องของพม่าและชวา เป็นต้น แต่ในสมัยปัจจุบันได้มีการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมระหว่างประเทศแลกเปลี่ยนความรู้ ความบันเทิงกัน เมื่อเครื่องดนตรีของไทยที่มีระนาดเอกและฆ้องวงต้องไปบรรเลงในประเทศที่มีอากาศ หนาวความเย็น อาจจะทาให้ขี้ผึ้งกับผงตะกั่วที่ถ่วงเสียงนั้นหลุดได้ง่าย ซึ่งเป็นอุปสรรคแก่การบรรเลงเป็นอันมาก เมื่อเป็นเช่นนี้ต่อไปอาจต้องยอมให้เสียงดนตรีขาดความนุ่มนวลลงไปโดยสร้างระนาดและ ฆ้องวงที่สาเร็จรูปมีเสียงสูงต่าตามประสงค์โดยไม่ต้องติดขี้ผึ้งถ่วงเสียงก็เป็นได้
  • 14. ประเภทของเพลงไทย เพลงไทยหมายถึงเพลงที่แต่งขึ้นตามหลักของดนตรีไทยมีลีลาในการขับร้องและบรรเลงแบบไทย โดยเฉพาะและแตกต่างจากเพลงของชาติอื่นๆ เพลงไทยแต่เดิมมักจะมีประโยคสั้นๆและมีจังหวะค่อนข้างเร็ว ส่วนใหญ่มีต้นกาเนิดมาจากเพลงพื้นบ้านหรือเพลงสาหรับประกอบกา รราเต้นเพื่อความสนุกสนานรื่นเริงต่อมาเมื่อต้องการจะใช้ เป็นเพลงสาหรับร้องขับกล่อมและ ประกอบการแสดงละครก็จาเป็นต้องประดิษฐ์ทานองให้มีจังหวะช้ากว่าเดิมและมีประโยคยาวกว่าเดิมให้เหมาะสมที่จะร้อง ประเภทของเพลงไทย อาจแบ่งออกได้เป็นพวกๆ คือ ๑.เพลงสาหรับบรรเลงดนตรีล้วนๆไม่มีการขับร้อง เป็นเพลงที่ใช้บรรเลงประโคมพิธีต่างๆเพลงโหมโรงและเพลงหน้าพาทย์ จะเป็นเพลงสาหรับใช้ประกอบกิริยาอาการและแสดงอารมณ์ต่างๆของการรา ๒. เพลงสาหรับขับร้อง คือเพลงซึ่งร้องแล้วรับด้วยการบรรเลงเรียกว่าร้องส่งดนตรีเช่นเพลงประกอบการขับเสภา(ร้องส่งเสภา) เพลงที่ร้องส่งเพื่อฟังไพเราะทั่วไปส่วนมากจะเป็นเพลงเถาและเพลงตับ ๓. เพลงประกอบการรา คือเพลงร้องตามบทร้องให้ผู้ราได้ราตามบทหรือเนื้อร้องส่วนมากจะเป็นเพลง สองชั้นเพื่อให้เหมาะกับการราไม่ช้าไปไม่เร็วไปนอกจากนั้นก็ยังใช้เพลงหน้าพาทย์ประกอบการแสดงกิริยาอาการของผู้แสดงอีกด้วย ลักษณะเพลงไทยประเภทต่างๆ เพลงชั้นเดียว เพลงชั้นเดียวหมายถึงเพลงที่มีจังหวะเร็วหรือเรียกว่าเพลงเร็วจะสังเกตได้จากเสียงฉิ่ง ปกติแล้วการตีฉิ่งจะเริ่มด้วยเสียงฉิ่ง และจบด้วยเสียงฉับตีสลับกันไปจนกว่าจะจบการบรรเลงถ้าช่วงระหว่างเสียงฉิ่งและฉับเร็วกระชับติดกัน ก็แสดงว่าเป็นเพลงชั้นเดียวหรือสังเกตได้จากทานองร้องเพลงชั้นเดียวจะร้องเอื้อนน้อยหรือไม่มีการร้องเอื้อนเลยก็ได้ เพลงชั้นเดียวใช้ขับร้องและบรรเลงประกอบการแสดงมหรสพต่างๆ เพลงสองชั้น เพลงสองชั้นหมายถึงเพลงที่มีจังหวะปานกลางไม่ช้าหรือเร็วจนเกินไปส่วนใหญ่เป็นเพลงสั้นๆที่ร้องและจาทานองง่าย มีความยาวกว่าเพลงชั้นเดียวหนึ่งเท่าตัวหรือสังเกตจากเสียงฉิ่งช่วงระหว่างเสียงฉิ่งและฉับห่างกันปานกลางมีทานองร้อง การร้องเอื้อนไม่มากไม่น้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของเพลง เพลงสองชั้นใช้ขับร้องและบรรเลงเพื่อเป็นการขับกล่อมและประกอบการแสดงมหรสพต่างๆ เพลงสามชั้น เพลงสามชั้นหมายถึงเพลงที่มีจังหวะช้าต้องใช้เวลาบรรเลงและขับร้องนานกว่าเพลงในอัตราอื่นๆ ถ้าจะสังเกตเสียงฉิ่ง ช่วงระหว่างเสียงฉิ่งและฉาบห่างกันมากทานองร้องจะมีการร้องเอื้อนยาวๆเพลงสามชั้นใช้ขับร้องและบรรเลงในโอกาสทั่วไป
  • 15. เพลงเถา เพลงเถาหมายถึงเพลงขนาดยาวที่มีเพลง๓ชนิดติดต่ออยู่ในเพลงเดียวกันโดยการบรรเลงเพลงสามชั้นก่อน แล้วเป็นเพลงสองชั้นลงมาจนถึงเพลงชั้นเดียวเรียกว่าเพลงเถา ตัวอย่างเพลงเขมรพวงเถาเดิมเป็นเพลงสองชั้นต่อมา หลวงประดิษฐ์ไพเราะได้คิดแต่งขึ้นเป็นสามชั้นดาเนินทานองเป็นคู่กันกับเพลงเขมรเลียบพระนครเมื่อราวพ.ศ. ๒๔๖๐ แล้วหมื่นประคมเพลงประสาน(ใจนิตยผลิน)ได้ตัดลงเป็นชั้นเดียวเมื่อพ.ศ.๒๔๖๔ และมีทานองชั้นเดียวโดยนายเหมือน ดุริยะประกิตเป็นผู้แต่งเพลงเถา นิยมใช้บรรเลงและขับร้องในรูปของเพลงรับร้องคือเมื่อร้องจบท่อนดนตรีก็บรรเลงรับ ไม่นิยมนาเพลงเถามาร้องให้ดนตรีบรรเลงคลอ หรือบรรเลงลาลองแต่อย่างใด เพลงเกร็ด เพลงเกร็ดเป็นเพลงขนาดย่อมนามาขับร้องและบรรเลงเป็นเพลงๆไปอาจเป็นอัตราจังหวะใดจังหวะหนึ่งในชุดของเพลงเถา หรือเป็นเพลงใดเพลงหนึ่งจากชุดเพลงตับหรือเพลงเรื่องก็ได้ เพลงเกร็ดที่ขับร้องและบรรเลงกันอยู่โดยทั่วๆไป มักจะมีบทร้องที่มีความหมายมีคติมีความซาบซึ้งประทับใจและมีช่วงทานองที่มีความไพเราะเป็นพิเศษ ตัวอย่างเพลงเกร็ดเช่น เพลงแป๊ ะ(สามชั้น)เพลงแขกสาหร่าย(สองชั้น)และเพลงเต่าเห่(สองชั้น) เพลงละคร เพลงละครหมายถึงเพลงที่ใช้ขับร้องและบรรเลงในการแสดงโขนละครและมหรสพต่างๆมีทั้งร้องแล้วดนตรีรับ ทั้งร้องคลอดนตรี เคล้าและลาลองขึ้นอยู่กับลักษณะการแสดงนั้นๆ ตัวอย่างเพลงละครได้แก่ เพลงอัตราสองชั้นเช่นเพลงสร้อยเพลงเพลงเวสสุกรรมเพลงพญาโศกหรือเพลงในอัตราเดียวเช่น เพลงนาคราชเพลงหนีเสือเพลงลิงโลด และเพลงพิเศษที่ใช้เฉพาะละครแท้ๆเช่นเพลงช้าปี่ เพลงโอ้ชาตรี เพลงโอ้โลมเพลงโอ้ร่าย เพลงยานีเพลงชมตลาดเป็นต้น เพลงที่ใช้ร้องประกอบละครหรือมหรสพอื่นๆจะต้องใช้ให้ถูกต้องตามอารมณ์ของตัวละครเช่นเพลงพญาโศกเพลงสร้อยเพลง ใช้สาหรับอารมณ์โศก เพลงนาคราชเพลงลิงโลดใช้สาหรับอารมณ์โกรธเพลงโอ้โลมเพลงโอ้ชาตรี ใช้สาหรับอารมณ์รักหรือเวลาเกี้ยวพาราสีเป็นต้น เพลงลา เพลงลาหมายถึงเพลงที่ผู้ขับร้องและบรรเลงแสดงเป็นอันดับสุดท้ายก่อนที่การแสดงจะจบลง ซึ่งเป็นไปตามแบบแผนของการแสดงกิจกรรมการบรรเลงดนตรีไทยที่โบราณจารย์ได้กาหนดไว้ กล่าวคือ เพลงแรกที่บรรเลงคือเพลงโหมโรงและเพลงสุดท้ายต้องบรรเลงเพลงลาเพื่อเป็นการร่าลาให้ศีลให้พรแก่เจ้าของงานหรือผู้ชมผู้ฟัง เนื้อร้องมีความหมายในทางร่าลาอาลัยอาวรณ์ และให้ศีลให้พรแล้วมักจะมีสร้อยคือมีการร้องว่า"ดอกเอ๋ยเจ้าดอก..." และจะมีเครื่องดนตรีชิ้นใดชิ้นหนึ่งบรรเลงเลียนเสียงร้องให้คล้ายคลึงกันมากที่สุดซึ่งเรียกกันเป็นทางภาษาสามัญว่า"ว่าดอก" เครื่องดนตรีที่ใช้ก็อาจใช้ ซออู้ เพลงลาที่นิยมใช้บรรเลงกันเช่นเพลงเต่ากินผักบุ้งเพลงพระอาทิตย์ชิงดวงเพลงอกทะเลเป็นต้น เพลงเรื่อง เพลงเรื่องคือเพลงที่โบราณาจารย์ประดิษฐ์ขึ้นโดยนาเอาเพลงที่มีลักษณะใกล้เคียงกันหลายๆ เพลงมาบรรเลงติดต่อกันเป็นชุดเป็นเรื่องเพื่อความสะดวกในการใช้บรรเลงในโอกาสต่างๆกันเช่นเพลงเรื่องนางหงส์ สาหรับใช้บรรเลงประกอบพิธีศพเพลงเรื่องฉิ่งพระฉันสาหรับใช้บรรเลงประกอบพระฉันภัตตาหารและเพลงเรื่องสร้อยสน สาหรับใช้บรรเลงในโอกาสทั่วๆไป นอกจากนั้นยังเป็นการรวบรวมเพลงที่มีลักษณะคล้ายๆกันมาไว้ด้วยกัน