SlideShare a Scribd company logo
การพัฒนาบทเรียนผ่ านเว็บด้ วยการ์ ตูนแอนิเมชั่นภาษามือทีมต่อผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
                                                        ่ ี
          ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผู้บกพร่ องทางการได้ ยนิ
  The Development of Sign Language Animation in Web-based Instruction
toward learning achievement of Sixth Grade Students with Hearing Deficiency

                        ทักษิณา กล่อมเกลี้ยง1 ,อ.ดร.ปณิ ตา วรรณพิรุณ2, ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุ ข3
                     1
                       คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
               2,3
                   สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรม
                                  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                             (panitaw@kmutnb.ac.th), (prachyanunn@kmutnb.ac.th)



 ABSTRACT
                                                              บทคัดย่ อ
 The purpose of the research Study were to
 develop sign language animation in Web-based                 การวิ จัย นี้ มี ว ต ถุ ป ระสงค์เ พื่ อ พัฒ นาบทเรี ย นผ่า นเว็บ ด้ว ย
                                                                                 ั
 Instruction for sixth grade students with hearing
 deficiency, and to study the effects of sign                 การ์ตนแอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้น
                                                                     ู                ่
 language animation in Web-based Instruction                  ประถมศึกษาปี ที่ 6 สําหรับผูบกพร่ องทางการได้ยิน และเพื่อ
                                                                                                  ้
 toward learning achievement of sixth grade
 students with hearing deficiency. The research               ศึ กษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นของการใช้บทเรี ยนผ่านเว็บ
 and development (R&D) procedures were
 divided into two phases. The first phase was to              ด้ว ยการ์ ตูน แอนนิ เมชั่น ภาษามื อ การดํา เนิ นการวิจัย แบ่ ง
 develop Sign Language Animation in Web-                      ออกเป็ น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บ
 based, the second phase was to study the effects
 of sign language animation in web-based                      ด้ว ยการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ
 instruction toward learning achievement of sixth
 grade students with hearing deficiency. The
                                                              นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน และ
                                                                                                       ้                       ิ
 sample group in this study consisted of 20 Sixth             ระยะที่ 2 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนบทเรี ยนผ่านเว็บ
 Grade Students with Hearing Deficiency from
 Tungmahamek School. Data were analyzed using                 ด้ว ยการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ
 the E1/E2 values, the average, the standard
 deviation, and t-Test for dependence.
                                                              นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน กลุ่ม
                                                                                                         ้                       ิ
 The results of the study revealed those:                     ตัว อย่า งคื อ นัก เรี ย นผู้ช้ ัน ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ผู้บ กพร่ อ ง
 1. The sign language animation in Web-based
 Instruction consisted of 5 categories are 1)                 ทางการได้ยน โรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ จํานวน 20 คน
                                                                             ิ
 things, 2) animals and nature 3) religion and                ซึ่ งมาจากสุ่ ม แบบง่ า ย สถิ ติ ที่ ใ ช้ คื อ E1/E2ค่ า เฉลี่ ย ร้ อ ยละ
 place, 4) vehicle, and 5) others. The efficiency of
 the developed WBI was 85.00/87.87 higher than                ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และt -test
 the criteria set
 2. The students learned with the WBI had a                   ผลการวิจยสรุ ปได้วา
                                                                         ั               ่
 statistically significant difference of the learning         1. บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชันภาษามื อวิชา ่
 achievement posttest scores over the pretest
 scores at .05 level.                                         ภาษาไทยสําหรั บนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 สําหรั บ ผู้
 Key words: Web-based Instruction, Animation,
                                                              บกพร่ องทางการได้ยนประกอบด้วย เนื้ อหา 5 ตอน คือ ตอน
                                                                                           ิ
 Sign Language, Hearing Deficiency                            ที่1 สิ่ งของเครื่ องใช้ ตอนที่ 2 สัตว์ และธรรมชาติ ตอนที่ 3
                                                              ศาสนาและสถานที่ ตอนที่ 4 ยานพาหนะ ตอนที่ 5 อื่นๆ และ
                                                              มีประสิ ทธิภาพ E1/E2 = 85.00/87.87 สูงกว่าเกณฑ์ที่ต้ งไว้            ั
                                                              2.            นักเรี ยนที่ เรี ยนด้วยบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน
                                                              แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยนชั้น

                                                        262
ประถมศึกษาปี ที่ 6 สําหรับผูบกพร่ องทางการได้ยินมี
                                ้                                    สุ ดาสังกัดมหาวิทยาลัยมหิ ดล ที่สาคัญ คือ ให้มีการฝึ กอาชีพ
                                                                                                          ํ
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมี           ไปพร้อมกับการเรี ยน เปิ ดโอกาสให้ทางานมีรายได้ระหว่าง
                                                                                                              ํ
นัยสําคัญ 0.5                                                        เรี ยน และไม่จาเป็ นต้องจบภายใน 4 ปี ให้พฒนาสุ ขภาพ
                                                                                        ํ                              ั
                                                                     อนามัย ของคนพิ ก ารให้ แ ข็ ง แรงสมบู ร ณ์ เพื่ อ ให้ ไ ด้รั บ
คําสํ าคัญ บทเรี ยนผ่านเว็บ, การ์ ตูนแอนิเมชัน, ภาษามือผู้
                                             ่                       ประโยชน์จากการศึกษาเต็มที่ให้มีงานวิจยค้นคว้าและศึกษา
                                                                                                                ั
บกพร่ องทางการได้ยน   ิ                                              แบบอย่างวิธีการจัดการศึกษาเพื่อคนพิการจากต่างประเทศ
                                                                     นํามาปรับใช้ให้เหมาะกับประเทศไทยตลอดจนฝึ กให้มีความ
1) บทนํา                                                             มั่น ใจในตนเองช่ ว ยตนเองได้           และให้ไ ด้รั บ ปริ ญ ญา
ผู้บ กพร่ อ งทางการได้ยิ น เป็ นกลุ่ ม คนที่ มี ค วามพิ ก าร         เช่นเดียวกับคนปกติตามค่านิ ยมของคนไทย ผูวิจยจึงมีความ
                                                                                                                    ้ ั
ลักษณะหนึ่ งซึ่ งหมายถึงคนที่สูญเสี ยการได้ยนมากจนไม่
                                                ิ                    สนใจที่จะนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการสร้าง
                                             ่
สามารถรับรู้ขอมูลผ่านทางการได้ยน ไม่วาจะใส่ หรื อไม่
                ้                      ิ                             และการพัฒนาเรี ยนการสอนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิเมชัน         ่
ใส่ เครื่ องช่วยฟั งก็ตาม ทําให้คนหู หนวกใช้วิธีการรับรู้            ภาษามือวิชาภาษาไทย ที่จะใช้ในการเรี ยนการสอน นําเสนอ
                                     ่
ผ่านทางประสาทสัมผัสที่เหลืออยูในการเรี ยนรู้สิ่งต่างๆ                ด้ว ยภาพเคลื่ อ นไหวการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ เพราะ
แทนการได้ยิน หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ งคือคนหู หนวกเป็ น                 การ์ ตูนแอนนิ เมชันเป็ นภาพเคลื่อนไหวจะให้ความรู้สึก เร้า
                                                                                          ่
       ่
กลุมบุคคลที่ไม่สามารถได้ยนเสี ยงพูด หรื อได้ยนเสี ยงแต่
                             ิ                      ิ                ใจ ดึงดูด และความน่าสนใจ
น้อยมากจนไม่สามารถเปล่งเสี ยงพูดเลียนแบบได้ ซึ่ งเป็ น               ผลสํารวจพบปั ญหาที่เป็ นอุปสรรคในด้านการติดต่อสื่ อสาร
สาเหตุที่ทาให้คนหู หนวกมี ขอจํากัดในการพัฒนา การ
             ํ                 ้                                     ในการเรี ยนการสอนของคนหู หนวก คือ ภาษาไทยอันเป็ น
สื่ อสารและการเรี ยนรู้ กุลทรัพย์ เกษมแม่นกิจ (2547)ได้              ภาษาที่สองและเป็ นภาษาที่จะต้องพบและใช้ในการเรี ยนการ
กล่าวถึงพระราชดําริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯที่                  สอนจากการสัมภาษณ์ อาจารย์ สุ รางค์ วรรโณภาศ ผูสอน         ้
                       ่
ทรงมีพระราชดําริ วา “คนเหล่านี้ มีโอกาสได้เล่าเรี ยนน้อย             ประจําวิชาภาษาไทย ในระดับชั้นประถมศึกษาประถมศึกษา
แม้ว่ า จะเรี ยนจบไปจากโรงเรี ยนระดับ ประถมและ                       ปี ที่ 6 ของโรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ พบว่านักเรี ยนส่ วน
มัธยมศึกษาที่ทางบ้านเมืองจัดให้แล้ว ก็ยงไม่พนจาก  ั     ้                                       ่ ้
                                                                     ใหญ่ยงคงเขียนคําผิดอยูบางเนื่องจากระดับไอคิวและพื้นฐาน
                                                                              ั
ภาระผูปกครองต้องดูแล คนเหล่านี้ ส่วนมากมีสมองดี ถ้า
          ้                                                          การเรี ยนรู ้ ที่แ ตกต่างกันออกไป จากการสัม ภาษณ์ อาจารย์
จั ด การให้ เ หมาะสมให้ ช่ ว ยตนเองได้ ดี ใ นการใช้                  บุญชัย ไพรพิบูลย์กิจ ผูสอน และซึ่ งเป็ นผูแต่งหนังสื อคู่มือ
                                                                                                 ้                ้
                                                      ่
ชีวตประจําวัน ทั้งให้ใช้ความสามารถที่มีเหลืออยูน้ ี ให้ถูก
     ิ                                                               ภาษามือและสอนวิชาภาษาไทย กล่าวว่าโดยธรรมชาติของ
ทาง น่าจะพึ่งตน เองได้ไม่แพ้คนทัวไป” เป็ นพระมหา
                                         ่                           การเรี ยนวิชาภาษาไทย ซึ่ งนักเรี ยนจะต้องจําเป็ นคําๆ เปรี ยบ
กรุ ณาธิ คุณอันยิ่งใหญ่ ซึ่ งนําความเจริ ญก้าวหน้ามาสู่                     ั
                                                                     ได้กบการจํานั้นคล้ายกับจําการพิมพ์ดีด เป็ นตัวอักษรที ละ
ศาสตร์ สําหรับคนพิการ คือ การที่ทรงก่อตั้งวิทยาลัยราช                ตัวๆ และนักเรี ยนต้องดูรูปภาพหรื อของจริ งให้รู้ความหมาย
สุ ดา สถาบันระดับอุดมศึกษาของคนพิการและเพื่อคน                       และจําท่าภาษาไทยมือ ในการเรี ยนการสอนอาจารย์ตองเน้น    ้
พิการ           การศึกษาของคนพิการที่ จะให้เรี ยนสู งถึ ง            ครบสามด้าน คื อ การอธิ บายความหมายโดยภาพ และการ
อุดมศึกษานั้น น่าจะจัดให้คนตาบอดและหูหนวกได้เรี ยน                   เขียนคําให้จดจํา พร้อมทั้งท่ามือในการสอนที่จาเป็ น เพื่อเพิ่ม
                                                                                                                     ํ
ก่อนกลุ่มอื่นส่ วนคนแขนขาพิการและสมองพิการ เช่น                      ความเข้าใจ และการจดจําของคําศัพท์น้ ันๆ ซึ่ งอุปสรรคที่
C.P.(Cerebral Palsy) ยังต้องรอเรื่ องเทคโนโลยีสิ่งอํานวย             เกิดขึ้นคือ เขียนคําผิด เพราะเด็กๆ อาศัยการจดจํารู ปคํา ซึ่ งจะ
ความสะดวกอีกหลายอย่าง คนตาบอด และหูหนวกนั้น                          ใช้เวลามาก ในการจดจํารู ปแบบการเขียน การจัดการเรี ยน
เรี ยนจบถึงชั้นมัธยม 6 มากขึ้นทุกวัน ต้องรี บต่อยอดให้               การสอน คือห้องเรี ยนปกติโดยครู เป็ นศูนย์กลาง ทัวไปครู จะ
                                                                                                                         ่
โดยเฉพาะคนหูหนวกพูดไม่ได้น้ น สอนก็ยากเรี ยนก็ยาก
                                   ั                                 ทบทวนให้บ่อยๆ เพื่อให้นักเรี ยนได้จดจําคําศัพท์ต่างๆ ได้
และได้พระราชทานหลักการแก่ ศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์                       นานๆ และเพื่ อ ให้เกิ ด ความคงทนในกาเรี ย นรู้ สู่ ร ะดับ ที่
ภมรประวัติ ในการจัดการเรี ยนการสอนในวิทยาลัยราช                      สู งขึ้นต่อๆไป จึงไม่ใช่เรื่ องง่าย ในการสอนคําศัพท์ให้รู้ ใน

                                                               263
สิ่ งต่างๆ ต้องอาศัยความพยายามของผูสอนที่ตองเตรี ยม
                                            ้     ้                   20 คน
สื่ อต่างๆ อย่างมาก สําหรับการสอนใน แต่ละครั้ง ดังนั้น                4.2) ตัวแปรในการวิจย     ั
ผูวิจัย จึ ง เห็ น ว่า หากจัด การเรี ย นการสอนอย่า งถูก ต้อ ง
    ้                                                                 ตัวแปรอิ สระ คือ บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชัน
                                                                                                                             ่
และเหมาะสม โดยให้ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางจะสามารถ                     ภาษามือ
ช่วยเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้ในวิชาภาษาไทย ให้ผเู้ รี ยนเกิด           ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาภาษาไทย
ทักษะที่ ดีได้ ผูเ้ รี ยนเกิ ดความคงทนในการเรี ยนรู้ และ              4.3) เนื้อหาที่ใช้ในการวิจย ั
เข้าใจภาษาไทยได้ดีข้ ึน เพื่อสู่ทกษะการเรี ยนที่สูงขึ้นและ
                                     ั                                เนื้อหาที่ใช้ในการวิจย ประกอบด้วยเนื้อหา 5 ตอน คือ
                                                                                             ั
รับข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของภาษาไทยดีข้ ึนได้สรุ ปข้อมูล                 ตอนที่1 สิ่ งของเครื่ องใช้
ด้า นปั ญ หา โดยการสั ม ภาษณ์ บทความ งานวิ จั ย ที่                   ตอนที่ 2 สัตว์และธรรมชาติ
เกี่ยวข้องนั้นสรุ ปได้วา นักเรี ยนพิการหูหนวกนั้นยังขาด
                           ่                                          ตอนที่ 3 ศาสนาและสถานที่
แคลนสื่ อ ที่ ม าช่ ว ยสอนในรู ป แบบบทเรี ยนผ่ า นเว็บ                ตอนที่ 4 ยานพาหนะ
นั ก เรี ยนพิ ก ารหู ห นวกมี ปั ญ หาทัก ษะในด้า นการจํา               ตอนที่ 5 อื่นๆ
คําศัพท์ เช่นความหมาย และการเขียนภาษาไทย และใน
การจัดการเรี ยนการสอนไม่เหมาะสมเท่าที่ควร                             5) วิธีดําเนินการวิจัย
                                                                      วิธีดาเนิ นการวิจยแบ่งออกเป็ น 2 ระยะ ตามวัตถุประสงค์
                                                                             ํ               ั
2) วัตถุประสงค์ การวิจัย                                              ของการวิจย ดังนี้
                                                                                     ั
2.1) เพื่อพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชัน     ่          ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชัน   ่
ภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี                    ภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน
        ้                   ิ                                         ผูบกพร่ องทางการได้ยน ดังนี้
                                                                           ้                     ิ
2.2) เพื่ อ ศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนของการใช้                 1) ขั้นการวิเคราะห์
บทเรี ย นผ่า นเว็บ ด้ว ยการ์ ตูน แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิช า         1.1) วิเคราะห์ผเู้ รี ยน
ภาษาไทยสําหรั บนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 ผู้                   1.2)             ศึ ก ษาขอบเขตเนื้ อ หา ของวิ ช าภาษาไทย ชั้น
บกพร่ องทางการได้ยน   ิ                                               ประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่บกพร่ องทางการได้ยน เรื่ อง คําศัพท์น่า
                                                                                                                       ิ
                                                                      รู ้ ตามหลักสูตรประถมศึกษา 2553
3) สมมติฐานการวิจัย                                                   1.3) ศึกษาสภาพปั ญหาของการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย
ผูเ้ รี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยนมี
                                   ้                    ิ             เรื่ องคําศัพท์น่ารู้ พบว่านักเรี ยนที่เรี ยนวิชาภาษาไทย
คะแนนผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลัง เรี ยน โดยใช้                      2) ขั้นการออกแบบ
บทเรี ยนผ่านเว็บ ด้ว ยแอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ สู งกว่าก่ อ น           ออกแบบบทเรี ย นผ่า นเว็บ ด้ว ยแอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ และ
เรี ยน อย่างมีนยสําคัญทางสถิติ
                 ั                                                    ออกแบบยุทธศาสตร์ การเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนผ่านเว็บด้วย
                                                                      แอนนิเมชันภาษามือ
                                                                                   ่
4) ขอบเขตการวิจัย                                                     3) ขั้นการพัฒนา
                     ่
4.1) ประชากรและกลุมตัวอย่าง                                           3.1) ด้านสื่ อ พัฒนาบนเรี ยนบนเว็บสร้างบทเรี ยนผ่านสื่ อการ
ประชากร คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ของ                       เรี ยนการสอนผ่านเว็บ โดยศึกษาตัวอย่างบทเรี ยนผ่านเว็บ
โรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ ปี การศึกษา 2553                          วิธีการสร้ าง กําหนดแผนบทเว็บ การสอดให้สอดคล้องกับ
กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มตัวอย่าง     คือ นักเรี ยนชั้น                 เนื้อหาและวัตถุประสงค์ ตามวิธีการพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บ
ประถมศึกษาปี ที่ 6 ของโรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ                     3.2) ด้านเนื้ อหา ศึกเนื้ อเนื้ อหาวิชาภาษาไทย สําหรั บ
ปี การศึกษา 2553 ได้มาโดยจากการสุ่ มอย่างง่าย จํานวน                  นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยิน
                                                                                                                   ้
                                                                      พัฒนาแบบประเมิ นคุณภาพการสร้างแบบประเมิ นคุณภาพ
                                                                264
บทเรี ยนผ่านเว็บสร้างแบบประเมินคุณภาพบทเรี ยน 2                    ระยะที่ 2 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนบทเรี ยนผ่านเว็บ
ฉบับ เป็ นแบบประเมินคุณภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บฉบับ                  ด้ว ยการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ
ของผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเนื้อหา และแบบประเมินคุณภาพของ                 นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน มี
                                                                                                         ้                     ิ
บทเรี ยนผ่านเว็บฉบับของผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเทคนิ ค โดยใช้             ลําดับขั้นดังนี้
มาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale)                                 1) ปฐมนิ เทศผูเ้ รี ยนและให้กลุ่มทดลอง ลองใช้บทเรี ยนผ่าน
3.3) นําบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยแอนนิเมชันภาษามือไปให้
                                            ่                      เว็บ และให้ศึกษาคู่มือในการใช้โดยมี ผูแนะนําโดยใช้การ
                                                                                                                 ้
ผูเ้ ชี่ ย วชาญตรวจสอบคุ ณ ภาพสื่ อ ด้า นเนื้ อ หาและด้า น         อธิบายภาษามือสื่ อสารกับกลุ่มทดลอง
เทคนิค                                                             2) ดํา เนิ น การทดลองโดยนํา แบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์
3.4) สร้ า งแบบทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชา                ทางการเรี ยนวิชาภาษาไทย เรื่ อง คําศัพท์น่ารู้ ไปทดสอบก่อน
ภาษาไทย เรื่ อง คํา ศัพ ท์ น่ า รู้ แบบเลื อ กตอบชนิ ด 4           เรี ยน จํานวน 40 ข้อ ผูแนะนําและผูวิจยคอยดูแลให้ความ
                                                                                                  ้           ้ ั
ตัวเลือกจํานวน 147 ข้อ นําแบบทดสอบที่ สร้างขึ้น                    ช่วยเหลือในการเรี ยน หลังจากนั้นให้นกเรี ยนศึกษาบทเรี ยน
                                                                                                               ั
ทั้งหมด ให้ผเู้ ชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน พิจารณาตรวจสอบ                 ผ่ า นเว็บ และกิ จ กรรมต่ า งๆ ตามบทเรี ยนผ่ า นเว็บ โดย
ความสอดคล้องตรงตามเนื้ อหา (IOC) คัดเลือกข้อสอบ                    กําหนดให้เรี ยนทีละหัวข้อ ซึ่ งบทเรี ยนมี 5 บท จํานวน 49 คํา
40 ข้อ และวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ ดังนี้ ค่าความ                   ให้เรี ยนวันละ ไม่ต่ากว่า 5 คํา เป็ นเวลา 10 วัน เพื่อให้อิสระใน
                                                                                          ํ
ยากง่าย = 0.20-0.79 ค่าอํานาจจําแนก = 0.47 และค่า                  การเรี ย นผ่า นเว็บ ไม่ จ ํา กัด เวลาและสถานที่ จากนั้น ครบ
ความเชื่อมันของแบบทดสอบทั้งฉบับ = 0.84
                ่                                                  กําหนด ทดสอบหลังเรี ยน จํานวน 40 ข้อ
3.5) สร้างคู่มือ วิธีการใช้บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน            3) จัดเก็บ ข้อ มู ลที่ วิเ คราะห์ ในบทเรี ยนผ่านเว็บ และทํา การ
แอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทย
              ่                                                    เปรี ยบเทียบคะแนนก่อนเรี ยนระหว่างเรี ยน และหลังเรี ยน หา
4) ขั้นการทดลอง                                                    ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่ วนเบี่ยงเบน นักเรี ยนทุกคนจะต้องผ่าน
การทดลองครั้งที่ 1 นําแบบทดสอบไปทดลองใช้แบบ                        เกณฑ์ของโรงเรี ยนที่ต้ งไว้ร้อยละ50
                                                                                               ั
1:1 โดยใช้ทดลองกับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่บกพร่ อง
ทางการได้ยิน โรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ จํานวน 1                  5) สรุปผลการวิจัย
คน การทดลองครั้งที่ 2 นําแบบทดสอบที่ได้ปรับปรุ งจาก                ตอนที่ 1 สรุ ปผลการพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอน
ขั้น ตอน 1:1 ไปทดลองใช้กับ กลุ่ม ขนาดเล็กแบบ 1:10                  นิ เมชั่ น ภาษามื อวิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บนั ก เรี ยนชั้ น
โดยใช้ท ดลองกับ ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ที่ บ กพร่ อ ง           ประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน
                                                                                          ้                    ิ
ทางการได้ยน โรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ จํานวน 24
                  ิ                                                1.1) ผลการพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชัน          ่
คน ที่ ยงไม่เคยศึกษาเนื้ อหาวิชานี้ มาก่อนเช่นกันและนํา
            ั                                                      ภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ผลการทดลองมาทําการวิเคราะห์ความยากง่าย (Item                       ผูบกพร่ องทางการได้ยน
                                                                     ้                      ิ
Difficulty)           และหาค่ า อํา นาจจํา แนก      (Item          บทเรี ยนผ่ า นเว็ บ ด้ ว ยการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่ น ภาษามื อ วิ ช า
Discriminating) และค่าความเชื่ อมันของแบบทดสอบ
                                        ่                          ภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ อง
                                                                                                                         ้
(Reliability) โดยใช้เทคนิค 27 % แบ่งกลุ่มสู งและกลุ่มตํ่า          ทางการได้ยน ประกอบด้วยเนื้อหา 5 ตอน คือ
                                                                                 ิ
ได้ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบและนําแบบทดสอบ
                    ่                                              ตอนที่1 สิ่ งของเครื่ องใช้
ที่ได้แก้ไขปรับปรุ งจากขั้นตอน 1:10 ไป ปรับปรุ งตาม                ตอนที่ 2 สัตว์และธรรมชาติ
คําแนะนําของผูเ้ ชี่ยวชาญ                                          ตอนที่ 3 ศาสนาและสถานที่
                                                                   ตอนที่ 4 ยานพาหนะ
                                                                   ตอนที่ 5 อื่นๆ



                                                             265
ตารางที่1: ผลการประเมินคุณภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บด้วย
                                                                             การ์ ตูนแอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับ
                                                                                               ่
                                                                             นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการ
                                                                                                               ้
                                                                             ได้ยน ด้านเนื้อหา
                                                                                  ิ
                                                                       การประเมินคุณภาพ           X S.D.         ความเหมาะสม
                                                                  1) หน้ าแรก (Index)
                                                                  1.1) ภาษาที่ใช้มีความถูกต้อง            4.00   0.00     มาก
                                                                  เหมาะสม และสื่ อความหมายกับผูเ้ รี ยน
                                                                   1.2) ข้อตกลงในการเรี ยนมีความ          3.67   0.57   ปานกลาง
                                                                  ชัดเจนเข้าใจง่าย
                                                                  2) ห้ องเรียน (Classroom)
                                                                  2.1) ภาษาที่ใช้มีความถูกต้อง            4.00   0.00     มาก
                                                                  เหมาะสม
                                                                  2.2) จุดประสงค์การเรี ยนรู้มีความ       4.00   0.00     มาก
                                                                  สอดคล้องกับระดับผูเ้ รี ยน
                                                                  2.3) จุดประสงค์การเรี ยนรู้มีความ       3.67   0.57   ปานกลาง
                                                                  สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู้
                                                                  3) สาระการเรียนรู้และแบบฝึ กหัด
                                                                  3.1) ภาษาที่ใช้มีความถูกต้อง            3.67   0.57   ปานกลาง
                                                                  เหมาะสมและสื่ อความหมายกับผูเ้ รี ยน
                                                                  3.2) สาระการเรี ยนรู้มีความน่าสนใจ      4.00   0.00     มาก
                                                                  3.3) สาระการเรี ยนรู้มีความต่อเนื่อง    4.00   0.00     มาก
                                                                  3.4) สาระการเรี ยนรู้มีความยากง่าย      3.67   0.57   ปานกลาง
                                                                  และปริ มาณเหมาะสมกับระดับผูเ้ รี ยน
                                                                  3.5) สาระการเรี ยนรู้สอดคล้องกับ        3.67   0.57   ปานกลาง
                                                                  จุดประสงค์การเรี ยนรู้
รู ปที่ 1: ตัวอย่ างหน้ าจอบทเรี ยนผ่ านเว็บด้ วยการ์ ตูน         3.6) ความถูกต้องของสาระการเรี ยนรู้     4.00   0.00     มาก
                                                                  และความชัดเจนในการอธิบายสาระ
แอนนิเมชั่นภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรั บนักเรี ยน                    การเรี ยนรู้
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผู้บกพร่ องทางการได้ ยิน                   3.7) ลําดับขั้นตอนในการนําเสนอ          3.67   0.57   ปานกลาง
                                                                  4) แบบทดสอบ
                                                                  4.1) แบบฝึ กหัดภาษาที่ใช้มีความถูก      5.00   0.00   มากที่สุด
1.2) ผลการประเมิ นคุ ณ ภาพของบทเรี ย นผ่านเว็บ ด้ว ย              ต้องเหมาะสมและสื่ อความหมายกับ
การ์ ตู น แอนนิ เ มชั่ น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ         ผูเ้ รี ยน
                                                                  4.2) แบบฝึ กหัดครอบคลุมตาม              5.00   0.00   มากที่สุด
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยิน
                                     ้
                                                                  จุดประสงค์การเรี ยนรู้
ด้านเนื้อหา                                                       4.3) แบบฝึ กหัดสอดคล้องกับสาระ          3.67   0.57   ปานกลาง
                                                                  การเรี ยนรู้
                                                                  4.4) แบบทดสอบสอดคล้องกับ                5.00   0.00   มากที่สุด
                                                                  จุดประสงค์การเรี ยนรู้
                                                                    4.5) แบบทดสอบสอดคล้องกับสาระ          3.67   0.57   ปานกลาง
                                                                  การเรี ยนรู้
                                                                  5) สื่อการสอน
                                                                  5.1) สื่ อการสอนมีความหลากหลาย          5.00   0.00   มากที่สุด
                                                                  5.2) สื่ อการสอนมีความน่าสนใจ           5.00   0.0    มากที่สุด
                                                                  5.3) สื่ อการสอนสอดคล้องกับสาระ         4.00   0.00     มาก
                                                                  การเรี ยนรู้
                                                                                    รวม                   4.11   0.29     มาก




                                                            266
จากตารางที่ 1      พบว่า บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน                      5.5) ความของการปฏิสมพันธ์ระหว่าง
                                                                                                       ั       4.75   0.50      มากที่สุด
                                                                           ผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยน
แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยน                 6) ด้ านเนือหาสาระบนเว็บ
                                                                                        ้
ชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 ผูบ กพร่ อ งทางการได้ยิน มี
                              ้                                            6.1) เนื้อหาตรงกับจุดประสงค์        4.75   0.50      มากที่สุด
                       ่
คุณภาพด้านเนื้อหา อยูในระดับมาก                                            6.2) เนื้อหาถูกต้องครบถ้วน          4.50   0.57      มากที่สุด
                                                                           6.3) การลําดับเนื้อหาต่อเนื่อง      4.75   0.50      มากที่สุด
                                                                           6.4) การกําหนดกิจกรรมการเรี ยนการ   4.50   0.57      มากที่สุด
1.3) ผลการประเมิ นคุ ณ ภาพของบทเรี ย นผ่านเว็บ ด้ว ย                       สอนสอดคล้องกับเนื้อหา
                                                                                                   รวม         4.56   0.22      มากที่สุด
การ์ ตู น แอนนิ เ มชั่ น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยิน
                                      ้
ด้านเทคนิค                                                                      จากตารางที่ 2 พบว่า บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน
ตารางที่ 2: ผลการประเมินคุณภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บ                          แอนนิ เมชั่ น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยน
             ด้วยการ์ตนแอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทย
                       ู            ่                                      ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยิน มีคุณภาพ
                                                                                                    ้
             สําหรั บนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 ผู ้                                ่
                                                                           ด้านเทคนิค อยูในระดับมากที่สุด
             บกพร่ องทางการได้ยน ด้านเทคนิค
                                  ิ
         การประเมินคุณภาพ               X S.D. ความเหมาะสม                 1.4) ผลการประเมินประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บด้วย
1) ด้ านการออกแบบ                                                          การ์ตนแอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้น
                                                                                ู           ่
1.1) การนําเสนอเนื้อหาน่าสนใจ              4.50   0.57   มากที่สุด
                                                                           ประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน
                                                                                                ้                 ิ
1.2) การนําเสนอเนื้อหาชัดเจน เข้าใจง่าย    4.50   0.57   มากที่สุด
1.3) การออกแบบหน้าจอมีสดส่วน  ั            4.50   0.57   มากที่สุด
และสวยงาม                                                                  ตารางที่ 3: การประเมินประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บ
1.4) การจัดวางเมนูต่างๆ                    4.50   0.57   มากที่สุด
1.5) ระบบนําทางเชื่อมโยงภายในบทเรี ยน      4.50   0.57   มากที่สุด
                                                                            คะแนนเฉลี่ยร้อยละของคะแนน                   85.00
1.6) การเชื่อมโยงไปยังแหล่งทรัพยากร        4.50   0.57   มากที่สุด          การทําแบบทดสอบระหว่างเรี ยน (E1)
สนับสนุนการเรี ยนภายนอก                                                     คะแนนเฉลี่ยร้อยละของคะแนน                   87.87
2) ด้านตัวอักษร                                                             การทําแบบทดสอบหลังเรี ยน (E2)
2.1) ความของรู ปแบบตัวอักษร                5.00   0.00   มากที่สุด
2.2) ความของขนาดตัวอักษร                   5.00   0.00   มากที่สุด
2.3) ความของสี ของตัวอักษร                 5.00   0.00   มากที่สุด         จากตารางที่ 3           พบว่า บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน
3) ด้ านภาพประกอบเนือหา
                      ้                                                    แอนนิ เมชั่ น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยน
3.1) ความของภาพที่ใช้นาเสนอ
                          ํ                4.75   0.50   มากที่สุด
3.2) ความน่าสนใจของภาพ                     4.75   0.50   มากที่สุด         ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6     ผูบ กพร่ อ งทางการได้ยิ น มี
                                                                                                           ้
3.3) ความสมดุลในการวางภาพ                  4.50   1.00   มากที่สุด         ประสิ ทธิภาพ E1/E2 = 85.00/87.87 ซึ่ งสูงกว่าเกณฑ์ท่ีต้ งไว้
                                                                                                                                   ั
3.4) จํานวนภาพที่ใช้นาเสนอ
                        ํ                  4.75   0.50   มากที่สุด
3.5) ความของขนาดภาพ                        4.75   0.50   มากที่สุด
4) ด้ านภาษาและเสียง
4.1) ความทางภาษา                           4.25   0.95     มาก
4.2) ความถูกต้องของภาษามือไทย              4.25   0.50     มาก
4.3) ความชัดเจนภาษามือไทย                  4.00   0.81     มาก
4.4) ขนาดและลักษณะมีความ                   4.25   0.50     มาก
 4.5) เสี ยงดนตรี ประกอบ                   4.25   0.50     มาก
5) ด้ านเวลาและปฏิสัมพันธ์
5.1) ความของเวลาในการนําเสนอ               4.25   0.50     มาก
5.2) ความและความคล่องตัวในการใช้           4.75   0.50   มากที่สุด
บทเรี ยน
5.3) การควบคุมเส้นทางการเดินบทเรี ยน       4.50   0.57   มากที่สุด
ชัดเจนถูกต้อง และสามารถย้อนกลับไปยัง
จุดต่างๆได้ง่าย
5.4) ปฏิสมพันธ์ระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยน
            ั               ้              4.50   0.57   มากที่สุด

                                                                     267
ตอนที่ 2 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนบทเรี ยน                       ควบคุมคุณภาพจากผูเ้ ชี่ ยวชาญก็สามารถทําให้บทเรี ยนบน
ผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชั่นภาษามื อวิชาภาษาไทย                      เว็บคุณภาพและมีประสิ ทธิภาพ
สําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการ
                                         ้                               การใช้บทเรี ยนผ่านเว็บนี้ ช่วยให้ผเู้ รี ยนรู้สึกพอใจและไม่เกิด
ได้ยน
    ิ                                                                    ความกดดันขณะเรี ยนเมื่อเรี ยนไม่ทนผูเ้ รี ยนคนอื่น ทําให้
                                                                                                                   ั
ตารางที่ 4: ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน                     ผูเ้ รี ยนรู้ สึกไม่เครี ยดในระหว่างที่ เรี ยน และที่ สําคัญผูเ้ รี ยน
            ก่อนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนผ่านเว็บด้วย                    สามารถเรี ยนรู้ได้ทุกที่ (Any where) ทุกเวลา (Any time) อีก
            การ์ ตนแอนนิเมชันภาษามือ
                   ู        ่                                            ทั้งสามารถสื บค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อทําให้เกิดการเรี ยนรู้ที่
    ผลสั มฤทธิ์                                                          หลากหลายได้ทวโลก จึงส่ งผลให้ผเู้ รี ยนมีประสิ ทธิ ภาพใน
                                                                                               ั่
                   คะแนนเต็ม       X       S.D.    t-test   Sig.
  การฝึ กอบรม                                                            การเรี ยนรู้สูงขึ้นซึ่ งมีความมีความสอดคล้อง กับงานวิจยของ           ั
  ก่อนฝึ กอบรม         40         13.75    5.97 7.1o** .00               นิตยา กันทะเสน (2548) และ อภิญญา แสงทอง (2549) ที่
  หลังฝึ กอบรม         40         35.15    6.35                          พบว่า บทเรี ยนผ่านเว็บนี้ เป็ นการเรี ยนที่สอดคล้องกับทฤษฎี
**p < .05                                                                ความแตกต่ า งระหว่า งบุ ค คล                 ซึ่ งผูเ้ รี ย น แต่ ล ะคนมี
                                                                         ความสามารถในการเรี ยนรู้ที่แตกต่างกัน ดังนั้น นอกจากนี้
จากตารางที่ 4 พบว่า นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน                   การพัฒ นาบทเรี ยนผ่ า นเว็ บ ถื อ เป็ นทางเลื อ กหนึ่ งใน
หลังเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตนแอนนิเมชัน
                                          ู          ่                   การศึ กษาในยุคของ e-Learning ซึ่ งถือเป็ นการนําเอา
ภาษามือวิชาภาษาไทย สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญ
                                              ั                          เทคโนโลยีมาใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษา บทเรี ยนผ่านเว็บ
ทางสถิติที่ระดับ .05                                                     ที่ พฒนาขึ้ นมาโดยใช้ประโยชน์จากเครื อ ข่ ายอิ นเทอร์ เน็ ต
                                                                                 ั
                                                                         โดยนําเอาระบบบริ หารจัดการรายวิชามาใช้เพื่อจัดการเรี ยน
6) อภิปรายผล                                                             การสอน เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนโต้ตอบกับเนื้ อหา โดยผูเ้ รี ยน
บทเรี ย นผ่า นเว็บ ด้ว ยการ์ ตูน แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิช า            สามารถเข้าถึงเนื้อหาตามความต้องการได้ และมีปฏิสัมพันธ์
ภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยนชั้ นประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ผู้               กัน แสดงความคิดเห็น สอบถามกับผูสอนได้ มีแบบฝึ กหัด
                                                                                                                       ้
บกพร่ องทางการได้ยนที่พฒนาขึ้น มีคุณภาพด้านเนื้อหา
                         ิ ั                                             และแบบทดสอบเพื่อใช้ตรวจสอบความเข้าใจในบทเรี ย น
     ่
อยูในระดับมาก มีคุณภาพด้านเทคนิ ค อยูในระดับมาก่                         ของผูเ้ รี ยนอีกด้วย ดังนั้นรู ปแบบการจัดการเรี ยนการสอน
ที่สุด และ มีประสิ ทธิ ภาพ E1/E2 = 85.00/87.87 ซึ่ งสู ง                 ผ่านเว็บมีความเหมาะสมในการจัดการเรี ยนการสอนของผู้
กว่ า เกณฑ์ ที่ ต้ ั งไว้ ผลทดลองใช้ พ บว่ า นั ก เรี ยนมี               บกพร่ องทางการได้ยินโดยสามารถแก้ปัญหาใน เรื่ องของ
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนผ่านเว็บ                  การทบทวนความรู้ และไม่ จ า กัด เวลาและสถานที่ ทํา ให้
                                                                                                           ํ
ด้วยการ์ ตูนแอนนิ เ มชันภาษามื อ วิชาภาษาไทย สู งกว่า
                          ่                                              ผูเ้ รี ยนทบทวนได้เสมอตามต้องการ และยังมีกิจกรรมต่างๆ ที่
ก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เนื่ องจาก
                       ั                                                 เชื่อมโยง สนับสนุนเนื้อหาให้บทเรี ยนผ่านเว็บ
ในการผลิตบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนิ เมชันภาษา ่                    ในการออกแบบโดยใช้การ์ ตูน แอนนิ เ มชั่น สามารถสร้ า ง
มือ วิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6                    ความน่ าสนใจด้วยการเคลื่อนไหวของภาพ รู้สึกชวนติดตาม
ผู ้บ กพร่ องทางการได้ยิ น ครั้ งนี้ มี ก ารศึ ก ษาขั้น ตอน              และรวมถึงการเชื่ อมโยงหรื อปฎิ สัมพันธ์ยงมี การออกแบบ  ั
กระบวนการผลิ ต จากงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้อ ง เอกการ                   ปุ่ มเมนู ที่เข้าใจง่าย และสะดวกแก่การใช้งานของผูบกพร่ อง       ้
ประกอบการเรี ยนการสอน การสัมภาษณ์อาจารย์ผสอน            ู้               ทางการได้ยนจึงทําให้ผเู้ รี ยนเข้าใจเนื้อหา การเรี ยนได้ง่ายขึ้น
                                                                                          ิ
นักเรี ยนผูบกพร่ องทางการได้ยิน และรวมถึ งงานด้าน
            ้                                                            ภาพยังมี สีสันสดใสสวยงาม การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ
การ์ ตูนแอนิ เมชั่นอย่างละเอียด และทําตามขั้นตอน                         เมนู และปุ่ มต่ า งๆ ยัง จดจํา ง่ า ย และง่ า ยต่ อ การใช้ การ
รวมทั้งมี ผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านเทคนิ ค และเนื้ อหาตรวจสอบ                   ออกแบบไม่บงคับให้ผเู้ รี ยน จากงานวิจย เกษมศรยุทธ จันท
                                                                                            ั                             ั
โดยมี ก ารประเมิ น ขั้ นเตรี ยมการผลิ ต ทํ า ให้ ท ราบ                   ภุชวเดช (2544) การนําเสนอด้านเนื้ อหามีการเล่าเรื่ อง ด้วย
จุดบกพร่ อง และปรับปรุ ง แก้ไขก่อนที่จะผลิต และมีการ                     การ์ ตูนแอนนิ เมชัน มีภาพเคลื่อนไหว โดยมีตวละครในการ
                                                                                                  ่                                  ั

                                                                   268
เล่ า เรื่ อ ง 2 ตัว คื อ แก่ น และหนู น าทํา เกิ ด ความสนใจ         ทิศนา แขมมณี . (2550). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อ
ตื่ นเต้นเร้ าใจให้ผูเ้ รี ย น บทเรี ย นคอมพิวเตอร์ การสอน                การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิ ทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่
แบบเล่าเรื่ องด้วยการ์ตนแอนนิเมชันเรื่ องโภชนาการ และ
                             ู             ่                              6. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ระบบย่อยอาหาร ซึ่ งประกอบด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์                    นิตยา กันทะเสน. (2548). การพัฒนาการเขียนเชิง
และคู่มือการใช้ และผลการวิจยด้านการออกแบบ และ
                                       ั                                  สร้างสรรค์โดยใช้ภาพการ์ตน วิชาภาษาไทย นักเรี ยน
                                                                                                       ู
พัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนดังกล่าวยังสอดคล้องกับ                         ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5. วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยราช
ขั้น ตอนการสอนซึ่ งนํา มาใช้เ พื่ อ เป็ นแนวทางในการ                      ภัฏชียงราย.
กําหนดการพัฒนา และทษฎี การสอนของกานเย 9 ขั้น                         ประเสริ ฐ. (2535). ความผิดปรกติของการได้ยน. พิมพ์ครั้ง
                                                                                                                  ิ
โดยสร้ า งลัก ษณะบทเรี ย นผ่า นเว็บ ให้ มุ่ ง ไปที่ ผ ลการ                ที่ 2. ขอนแก่น : โรงพิมพ์ขอนแก่นธุรภัณฑ์.
เรี ยนรู้ (Learning Outcome) และการออกแบบรู ปแบบยัง                  ภูดินนท์ กัลยารัตน์. (2549). การพัฒนาบทเรี ยน
                                                                          ั
เน้นการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ จัดการเรี ยนการสอน               คอมพิวเตอร์ การสอนแบบเล่าเรื่ องด้วยการ์ ตนแอนนิ
                                                                                                                    ู
ให้เหมาะกับหลักสู ตร เน้นความสนใจไปยังการ์ ตูนแอนิ                        เมชัน เรื่ อง การโภชนาการและระบบการย่อยอาหาร.
                                                                               ่
เมชันให้ตอบสนองความต้องการ และเร้าความสนใจของ
        ่                                                            ล้วน สายยศ และอังศณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจย      ั
ผูเ้ รี ยน จึ งทําให้บทเรี ยนผ่านเว็บเป็ นไปตามสมมุติฐาน                  การศึกษา. กรุ งเทพฯ : สุ รีริยาสาส์น.
ที่ต้ งไว้
      ั                                                              วารี ถิระจิตร. (2541). การศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ.
ผลของงานวิ จั ย ครั้ งนี้ ด้า นการออกแบบและพัฒ นา                         กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์แห่งจุฬามหาวิทยาลัย,
รู ป แบบการเรี ย นการสอน ยัง สอดคล้อ งกับ หลัก การ                   วินทนี พันธ์ชาติ. (2539). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนา
ออกแบบมัลติมิเดียสําหรับการเรี ยนการสอนด้วยเว็บ การ                       คุณภาพชีวตของคนพิการ. เอกสารประกอบสัมมนาและ
                                                                                       ิ
สร้ างบทเรี ยนผ่านเว็บ และได้นามาใช้ร่วมกับหลักการ
                                         ํ                                นิทรรศการเรื่ องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่ องคนพิการ
เรี ยนการสอนของผูพิการหู หนวกโดยใช้หลักการ ภาษา
                          ้                                               ครั้งที่1.
และวัฒ นธรรมของ คนหู ห นวก และอาศัย ล่ า มมื อ ที่                   สถาพร สาธุการ. (2550). การพัฒนาการเรี ยนการสอน
ชํ า นาญในการภาษามื อ ไทยรวมถึ ง ได้ ใ ช้ ห ลั ก การ                      ผ่านระบบเครื อข่ายที่เหมาะสมกับคนหูหนวกใน
สถาพร สาธุ การ (2550) จึ งทําให้บทเรี ยนผ่านเว็บด้วย                      ระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ มหาลัยศรี นคริ ทรวิโรฒ.
การ์ ตูนแอนิ เมชันภาษามื อ วิชาภาษาไทยความสมบูรณ์
                      ่                                              อภิญญา แสงทอง. (2549). การศึกษาพิเศษการออกแบบ
ขององค์ป ระ กอบหลัก และองค์ป ระกอบย่อ ยรวมทั้ง                                                    ั ้
                                                                          แอนิเมชันภาษามือให้กบผูพิการทางการได้ยน
                                                                                     ่                                ิ
องค์ประกอบโครงสร้างของบทเรี ยนผ่านเว็บ                                    ชุดตัวเลข แสนสนุกกับผลไม้แสนอร่ อย. วิทยานิพนธ์
                                                                          มหาวิทยาลัยราชฎัชจันเกษม.
7) เอกสารอ้ างอิง                                                    William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods
                                                                         in education: an introduction. (9thed.). Boston:
กิดานันท์ มลิทอง. (2540) เทคโนโลยีการศึกษาและ                            Pearson.

    นวัตกรรม. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.
กุลทรัพย์ เกษมแม่นกิจ. (2547). สมเด็จพระเทพ
    รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระมหากรุ ณาต่อ
    คนพิการ. สื บค้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 จาก
    http://www.sakulthai.com
เกษมศรยุทธ จันทภุชวเดช. (2544). การพัฒนาชุด
    บทเรี ยนมัลติมิเดียเพื่อการสอนคนหูหนวก เรื่ อง
    สุ ภาษิตคําพังเพย. วิทยานิพนธ์ สถาบันเทคโนโลยี
    พระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
                                                               269

More Related Content

Viewers also liked

ผลการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้เชิงวัตถุตามมาตรฐานสกอร์ม [2011]
ผลการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้เชิงวัตถุตามมาตรฐานสกอร์ม [2011]ผลการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้เชิงวัตถุตามมาตรฐานสกอร์ม [2011]
ผลการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้เชิงวัตถุตามมาตรฐานสกอร์ม [2011]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ICT for VEC CIO
ICT for VEC CIOICT for VEC CIO
ICT for VEC CIO
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The Future of Digital Learning, A presentation delivered
The Future of Digital Learning, A presentation deliveredThe Future of Digital Learning, A presentation delivered
The Future of Digital Learning, A presentation delivered
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Neds final report 5-23-2011
Neds final report 5-23-2011Neds final report 5-23-2011
Neds final report 5-23-2011futurebyus
 
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
How to Illustrate Energy Resources Presentation
How to Illustrate Energy Resources PresentationHow to Illustrate Energy Resources Presentation
How to Illustrate Energy Resources Presentation
Peter Zvirinsky
 
Healthcare medical & pharma visuals presentation toolbox
Healthcare medical & pharma visuals presentation toolboxHealthcare medical & pharma visuals presentation toolbox
Healthcare medical & pharma visuals presentation toolbox
Peter Zvirinsky
 
Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008
Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008
Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008
Interlat
 
Planodiretor
PlanodiretorPlanodiretor
PlanodiretorCelesc
 
Construyendo y publicando nuestra primera APP
Construyendo y publicando nuestra primera APPConstruyendo y publicando nuestra primera APP
Construyendo y publicando nuestra primera APP
Interlat
 
Storymaistelling BB
Storymaistelling BBStorymaistelling BB
Storymaistelling BB
Gustavo Massena
 
(2) casa das_pastas-catalogo_arquivamento_geral
(2) casa das_pastas-catalogo_arquivamento_geral(2) casa das_pastas-catalogo_arquivamento_geral
(2) casa das_pastas-catalogo_arquivamento_geralRoberto Fontanezi
 
Calendario_Diplomatura en Community Management_Rep. Dominicana-semestre 2_2014
Calendario_Diplomatura en Community Management_Rep. Dominicana-semestre 2_2014Calendario_Diplomatura en Community Management_Rep. Dominicana-semestre 2_2014
Calendario_Diplomatura en Community Management_Rep. Dominicana-semestre 2_2014
Interlat
 
Breve introdução ao design - parte 2
Breve introdução ao design - parte 2Breve introdução ao design - parte 2
Breve introdução ao design - parte 2
Yu Amaral
 
Gerencia de negocios-electronicos para el sector turistico Aviatur-UPB-Interlat
Gerencia de negocios-electronicos para el sector turistico Aviatur-UPB-InterlatGerencia de negocios-electronicos para el sector turistico Aviatur-UPB-Interlat
Gerencia de negocios-electronicos para el sector turistico Aviatur-UPB-Interlat
Interlat
 
Chicos 17 - Julho 2008
Chicos 17 -  Julho 2008Chicos 17 -  Julho 2008
Chicos 17 - Julho 2008
Chicos Cataletras
 

Viewers also liked (20)

ผลการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้เชิงวัตถุตามมาตรฐานสกอร์ม [2011]
ผลการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้เชิงวัตถุตามมาตรฐานสกอร์ม [2011]ผลการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้เชิงวัตถุตามมาตรฐานสกอร์ม [2011]
ผลการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้เชิงวัตถุตามมาตรฐานสกอร์ม [2011]
 
ICT for VEC CIO
ICT for VEC CIOICT for VEC CIO
ICT for VEC CIO
 
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
 
The Future of Digital Learning, A presentation delivered
The Future of Digital Learning, A presentation deliveredThe Future of Digital Learning, A presentation delivered
The Future of Digital Learning, A presentation delivered
 
Neds final report 5-23-2011
Neds final report 5-23-2011Neds final report 5-23-2011
Neds final report 5-23-2011
 
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
Blended e-Learning Activities for the Information and Innovation Management C...
 
How to Illustrate Energy Resources Presentation
How to Illustrate Energy Resources PresentationHow to Illustrate Energy Resources Presentation
How to Illustrate Energy Resources Presentation
 
Hydrology
HydrologyHydrology
Hydrology
 
Healthcare medical & pharma visuals presentation toolbox
Healthcare medical & pharma visuals presentation toolboxHealthcare medical & pharma visuals presentation toolbox
Healthcare medical & pharma visuals presentation toolbox
 
Usaid
UsaidUsaid
Usaid
 
Sumos de uvas
Sumos de uvasSumos de uvas
Sumos de uvas
 
Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008
Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008
Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008
 
Planodiretor
PlanodiretorPlanodiretor
Planodiretor
 
Construyendo y publicando nuestra primera APP
Construyendo y publicando nuestra primera APPConstruyendo y publicando nuestra primera APP
Construyendo y publicando nuestra primera APP
 
Storymaistelling BB
Storymaistelling BBStorymaistelling BB
Storymaistelling BB
 
(2) casa das_pastas-catalogo_arquivamento_geral
(2) casa das_pastas-catalogo_arquivamento_geral(2) casa das_pastas-catalogo_arquivamento_geral
(2) casa das_pastas-catalogo_arquivamento_geral
 
Calendario_Diplomatura en Community Management_Rep. Dominicana-semestre 2_2014
Calendario_Diplomatura en Community Management_Rep. Dominicana-semestre 2_2014Calendario_Diplomatura en Community Management_Rep. Dominicana-semestre 2_2014
Calendario_Diplomatura en Community Management_Rep. Dominicana-semestre 2_2014
 
Breve introdução ao design - parte 2
Breve introdução ao design - parte 2Breve introdução ao design - parte 2
Breve introdução ao design - parte 2
 
Gerencia de negocios-electronicos para el sector turistico Aviatur-UPB-Interlat
Gerencia de negocios-electronicos para el sector turistico Aviatur-UPB-InterlatGerencia de negocios-electronicos para el sector turistico Aviatur-UPB-Interlat
Gerencia de negocios-electronicos para el sector turistico Aviatur-UPB-Interlat
 
Chicos 17 - Julho 2008
Chicos 17 -  Julho 2008Chicos 17 -  Julho 2008
Chicos 17 - Julho 2008
 

Similar to The Development of Sign Language Animation in Web-based Instruction toward learning achievement of Sixth Grade Students with Hearing Deficiency.

5 คำถามที่จะช่วยคุณตัดสินใจมาเรียนกับเราได้ง่ายขึ้น 2
5 คำถามที่จะช่วยคุณตัดสินใจมาเรียนกับเราได้ง่ายขึ้น 25 คำถามที่จะช่วยคุณตัดสินใจมาเรียนกับเราได้ง่ายขึ้น 2
5 คำถามที่จะช่วยคุณตัดสินใจมาเรียนกับเราได้ง่ายขึ้น 2Lao-puphan Pipatsak
 
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
KruBeeKa
 
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556Lao-puphan Pipatsak
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
Krupol Phato
 
Gifted pro
Gifted proGifted pro
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
kruwanida
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the country
Artit Promratpan
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยารายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
kruliew
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
rungaroonnoumsawat
 
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
สัจจา จันทรวิเชียร
 

Similar to The Development of Sign Language Animation in Web-based Instruction toward learning achievement of Sixth Grade Students with Hearing Deficiency. (20)

5 คำถามที่จะช่วยคุณตัดสินใจมาเรียนกับเราได้ง่ายขึ้น 2
5 คำถามที่จะช่วยคุณตัดสินใจมาเรียนกับเราได้ง่ายขึ้น 25 คำถามที่จะช่วยคุณตัดสินใจมาเรียนกับเราได้ง่ายขึ้น 2
5 คำถามที่จะช่วยคุณตัดสินใจมาเรียนกับเราได้ง่ายขึ้น 2
 
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
Gifted pro
Gifted proGifted pro
Gifted pro
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
2222222
22222222222222
2222222
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the country
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยารายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 

The Development of Sign Language Animation in Web-based Instruction toward learning achievement of Sixth Grade Students with Hearing Deficiency.

  • 1. การพัฒนาบทเรียนผ่ านเว็บด้ วยการ์ ตูนแอนิเมชั่นภาษามือทีมต่อผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน ่ ี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผู้บกพร่ องทางการได้ ยนิ The Development of Sign Language Animation in Web-based Instruction toward learning achievement of Sixth Grade Students with Hearing Deficiency ทักษิณา กล่อมเกลี้ยง1 ,อ.ดร.ปณิ ตา วรรณพิรุณ2, ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุ ข3 1 คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2,3 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (panitaw@kmutnb.ac.th), (prachyanunn@kmutnb.ac.th) ABSTRACT บทคัดย่ อ The purpose of the research Study were to develop sign language animation in Web-based การวิ จัย นี้ มี ว ต ถุ ป ระสงค์เ พื่ อ พัฒ นาบทเรี ย นผ่า นเว็บ ด้ว ย ั Instruction for sixth grade students with hearing deficiency, and to study the effects of sign การ์ตนแอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้น ู ่ language animation in Web-based Instruction ประถมศึกษาปี ที่ 6 สําหรับผูบกพร่ องทางการได้ยิน และเพื่อ ้ toward learning achievement of sixth grade students with hearing deficiency. The research ศึ กษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นของการใช้บทเรี ยนผ่านเว็บ and development (R&D) procedures were divided into two phases. The first phase was to ด้ว ยการ์ ตูน แอนนิ เมชั่น ภาษามื อ การดํา เนิ นการวิจัย แบ่ ง develop Sign Language Animation in Web- ออกเป็ น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บ based, the second phase was to study the effects of sign language animation in web-based ด้ว ยการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ instruction toward learning achievement of sixth grade students with hearing deficiency. The นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน และ ้ ิ sample group in this study consisted of 20 Sixth ระยะที่ 2 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนบทเรี ยนผ่านเว็บ Grade Students with Hearing Deficiency from Tungmahamek School. Data were analyzed using ด้ว ยการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ the E1/E2 values, the average, the standard deviation, and t-Test for dependence. นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน กลุ่ม ้ ิ The results of the study revealed those: ตัว อย่า งคื อ นัก เรี ย นผู้ช้ ัน ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ผู้บ กพร่ อ ง 1. The sign language animation in Web-based Instruction consisted of 5 categories are 1) ทางการได้ยน โรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ จํานวน 20 คน ิ things, 2) animals and nature 3) religion and ซึ่ งมาจากสุ่ ม แบบง่ า ย สถิ ติ ที่ ใ ช้ คื อ E1/E2ค่ า เฉลี่ ย ร้ อ ยละ place, 4) vehicle, and 5) others. The efficiency of the developed WBI was 85.00/87.87 higher than ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และt -test the criteria set 2. The students learned with the WBI had a ผลการวิจยสรุ ปได้วา ั ่ statistically significant difference of the learning 1. บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชันภาษามื อวิชา ่ achievement posttest scores over the pretest scores at .05 level. ภาษาไทยสําหรั บนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 สําหรั บ ผู้ Key words: Web-based Instruction, Animation, บกพร่ องทางการได้ยนประกอบด้วย เนื้ อหา 5 ตอน คือ ตอน ิ Sign Language, Hearing Deficiency ที่1 สิ่ งของเครื่ องใช้ ตอนที่ 2 สัตว์ และธรรมชาติ ตอนที่ 3 ศาสนาและสถานที่ ตอนที่ 4 ยานพาหนะ ตอนที่ 5 อื่นๆ และ มีประสิ ทธิภาพ E1/E2 = 85.00/87.87 สูงกว่าเกณฑ์ที่ต้ งไว้ ั 2. นักเรี ยนที่ เรี ยนด้วยบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยนชั้น 262
  • 2. ประถมศึกษาปี ที่ 6 สําหรับผูบกพร่ องทางการได้ยินมี ้ สุ ดาสังกัดมหาวิทยาลัยมหิ ดล ที่สาคัญ คือ ให้มีการฝึ กอาชีพ ํ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมี ไปพร้อมกับการเรี ยน เปิ ดโอกาสให้ทางานมีรายได้ระหว่าง ํ นัยสําคัญ 0.5 เรี ยน และไม่จาเป็ นต้องจบภายใน 4 ปี ให้พฒนาสุ ขภาพ ํ ั อนามัย ของคนพิ ก ารให้ แ ข็ ง แรงสมบู ร ณ์ เพื่ อ ให้ ไ ด้รั บ คําสํ าคัญ บทเรี ยนผ่านเว็บ, การ์ ตูนแอนิเมชัน, ภาษามือผู้ ่ ประโยชน์จากการศึกษาเต็มที่ให้มีงานวิจยค้นคว้าและศึกษา ั บกพร่ องทางการได้ยน ิ แบบอย่างวิธีการจัดการศึกษาเพื่อคนพิการจากต่างประเทศ นํามาปรับใช้ให้เหมาะกับประเทศไทยตลอดจนฝึ กให้มีความ 1) บทนํา มั่น ใจในตนเองช่ ว ยตนเองได้ และให้ไ ด้รั บ ปริ ญ ญา ผู้บ กพร่ อ งทางการได้ยิ น เป็ นกลุ่ ม คนที่ มี ค วามพิ ก าร เช่นเดียวกับคนปกติตามค่านิ ยมของคนไทย ผูวิจยจึงมีความ ้ ั ลักษณะหนึ่ งซึ่ งหมายถึงคนที่สูญเสี ยการได้ยนมากจนไม่ ิ สนใจที่จะนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการสร้าง ่ สามารถรับรู้ขอมูลผ่านทางการได้ยน ไม่วาจะใส่ หรื อไม่ ้ ิ และการพัฒนาเรี ยนการสอนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิเมชัน ่ ใส่ เครื่ องช่วยฟั งก็ตาม ทําให้คนหู หนวกใช้วิธีการรับรู้ ภาษามือวิชาภาษาไทย ที่จะใช้ในการเรี ยนการสอน นําเสนอ ่ ผ่านทางประสาทสัมผัสที่เหลืออยูในการเรี ยนรู้สิ่งต่างๆ ด้ว ยภาพเคลื่ อ นไหวการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ เพราะ แทนการได้ยิน หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ งคือคนหู หนวกเป็ น การ์ ตูนแอนนิ เมชันเป็ นภาพเคลื่อนไหวจะให้ความรู้สึก เร้า ่ ่ กลุมบุคคลที่ไม่สามารถได้ยนเสี ยงพูด หรื อได้ยนเสี ยงแต่ ิ ิ ใจ ดึงดูด และความน่าสนใจ น้อยมากจนไม่สามารถเปล่งเสี ยงพูดเลียนแบบได้ ซึ่ งเป็ น ผลสํารวจพบปั ญหาที่เป็ นอุปสรรคในด้านการติดต่อสื่ อสาร สาเหตุที่ทาให้คนหู หนวกมี ขอจํากัดในการพัฒนา การ ํ ้ ในการเรี ยนการสอนของคนหู หนวก คือ ภาษาไทยอันเป็ น สื่ อสารและการเรี ยนรู้ กุลทรัพย์ เกษมแม่นกิจ (2547)ได้ ภาษาที่สองและเป็ นภาษาที่จะต้องพบและใช้ในการเรี ยนการ กล่าวถึงพระราชดําริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯที่ สอนจากการสัมภาษณ์ อาจารย์ สุ รางค์ วรรโณภาศ ผูสอน ้ ่ ทรงมีพระราชดําริ วา “คนเหล่านี้ มีโอกาสได้เล่าเรี ยนน้อย ประจําวิชาภาษาไทย ในระดับชั้นประถมศึกษาประถมศึกษา แม้ว่ า จะเรี ยนจบไปจากโรงเรี ยนระดับ ประถมและ ปี ที่ 6 ของโรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ พบว่านักเรี ยนส่ วน มัธยมศึกษาที่ทางบ้านเมืองจัดให้แล้ว ก็ยงไม่พนจาก ั ้ ่ ้ ใหญ่ยงคงเขียนคําผิดอยูบางเนื่องจากระดับไอคิวและพื้นฐาน ั ภาระผูปกครองต้องดูแล คนเหล่านี้ ส่วนมากมีสมองดี ถ้า ้ การเรี ยนรู ้ ที่แ ตกต่างกันออกไป จากการสัม ภาษณ์ อาจารย์ จั ด การให้ เ หมาะสมให้ ช่ ว ยตนเองได้ ดี ใ นการใช้ บุญชัย ไพรพิบูลย์กิจ ผูสอน และซึ่ งเป็ นผูแต่งหนังสื อคู่มือ ้ ้ ่ ชีวตประจําวัน ทั้งให้ใช้ความสามารถที่มีเหลืออยูน้ ี ให้ถูก ิ ภาษามือและสอนวิชาภาษาไทย กล่าวว่าโดยธรรมชาติของ ทาง น่าจะพึ่งตน เองได้ไม่แพ้คนทัวไป” เป็ นพระมหา ่ การเรี ยนวิชาภาษาไทย ซึ่ งนักเรี ยนจะต้องจําเป็ นคําๆ เปรี ยบ กรุ ณาธิ คุณอันยิ่งใหญ่ ซึ่ งนําความเจริ ญก้าวหน้ามาสู่ ั ได้กบการจํานั้นคล้ายกับจําการพิมพ์ดีด เป็ นตัวอักษรที ละ ศาสตร์ สําหรับคนพิการ คือ การที่ทรงก่อตั้งวิทยาลัยราช ตัวๆ และนักเรี ยนต้องดูรูปภาพหรื อของจริ งให้รู้ความหมาย สุ ดา สถาบันระดับอุดมศึกษาของคนพิการและเพื่อคน และจําท่าภาษาไทยมือ ในการเรี ยนการสอนอาจารย์ตองเน้น ้ พิการ การศึกษาของคนพิการที่ จะให้เรี ยนสู งถึ ง ครบสามด้าน คื อ การอธิ บายความหมายโดยภาพ และการ อุดมศึกษานั้น น่าจะจัดให้คนตาบอดและหูหนวกได้เรี ยน เขียนคําให้จดจํา พร้อมทั้งท่ามือในการสอนที่จาเป็ น เพื่อเพิ่ม ํ ก่อนกลุ่มอื่นส่ วนคนแขนขาพิการและสมองพิการ เช่น ความเข้าใจ และการจดจําของคําศัพท์น้ ันๆ ซึ่ งอุปสรรคที่ C.P.(Cerebral Palsy) ยังต้องรอเรื่ องเทคโนโลยีสิ่งอํานวย เกิดขึ้นคือ เขียนคําผิด เพราะเด็กๆ อาศัยการจดจํารู ปคํา ซึ่ งจะ ความสะดวกอีกหลายอย่าง คนตาบอด และหูหนวกนั้น ใช้เวลามาก ในการจดจํารู ปแบบการเขียน การจัดการเรี ยน เรี ยนจบถึงชั้นมัธยม 6 มากขึ้นทุกวัน ต้องรี บต่อยอดให้ การสอน คือห้องเรี ยนปกติโดยครู เป็ นศูนย์กลาง ทัวไปครู จะ ่ โดยเฉพาะคนหูหนวกพูดไม่ได้น้ น สอนก็ยากเรี ยนก็ยาก ั ทบทวนให้บ่อยๆ เพื่อให้นักเรี ยนได้จดจําคําศัพท์ต่างๆ ได้ และได้พระราชทานหลักการแก่ ศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐ์ นานๆ และเพื่ อ ให้เกิ ด ความคงทนในกาเรี ย นรู้ สู่ ร ะดับ ที่ ภมรประวัติ ในการจัดการเรี ยนการสอนในวิทยาลัยราช สู งขึ้นต่อๆไป จึงไม่ใช่เรื่ องง่าย ในการสอนคําศัพท์ให้รู้ ใน 263
  • 3. สิ่ งต่างๆ ต้องอาศัยความพยายามของผูสอนที่ตองเตรี ยม ้ ้ 20 คน สื่ อต่างๆ อย่างมาก สําหรับการสอนใน แต่ละครั้ง ดังนั้น 4.2) ตัวแปรในการวิจย ั ผูวิจัย จึ ง เห็ น ว่า หากจัด การเรี ย นการสอนอย่า งถูก ต้อ ง ้ ตัวแปรอิ สระ คือ บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชัน ่ และเหมาะสม โดยให้ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางจะสามารถ ภาษามือ ช่วยเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้ในวิชาภาษาไทย ให้ผเู้ รี ยนเกิด ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาภาษาไทย ทักษะที่ ดีได้ ผูเ้ รี ยนเกิ ดความคงทนในการเรี ยนรู้ และ 4.3) เนื้อหาที่ใช้ในการวิจย ั เข้าใจภาษาไทยได้ดีข้ ึน เพื่อสู่ทกษะการเรี ยนที่สูงขึ้นและ ั เนื้อหาที่ใช้ในการวิจย ประกอบด้วยเนื้อหา 5 ตอน คือ ั รับข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของภาษาไทยดีข้ ึนได้สรุ ปข้อมูล ตอนที่1 สิ่ งของเครื่ องใช้ ด้า นปั ญ หา โดยการสั ม ภาษณ์ บทความ งานวิ จั ย ที่ ตอนที่ 2 สัตว์และธรรมชาติ เกี่ยวข้องนั้นสรุ ปได้วา นักเรี ยนพิการหูหนวกนั้นยังขาด ่ ตอนที่ 3 ศาสนาและสถานที่ แคลนสื่ อ ที่ ม าช่ ว ยสอนในรู ป แบบบทเรี ยนผ่ า นเว็บ ตอนที่ 4 ยานพาหนะ นั ก เรี ยนพิ ก ารหู ห นวกมี ปั ญ หาทัก ษะในด้า นการจํา ตอนที่ 5 อื่นๆ คําศัพท์ เช่นความหมาย และการเขียนภาษาไทย และใน การจัดการเรี ยนการสอนไม่เหมาะสมเท่าที่ควร 5) วิธีดําเนินการวิจัย วิธีดาเนิ นการวิจยแบ่งออกเป็ น 2 ระยะ ตามวัตถุประสงค์ ํ ั 2) วัตถุประสงค์ การวิจัย ของการวิจย ดังนี้ ั 2.1) เพื่อพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชัน ่ ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชัน ่ ภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน ้ ิ ผูบกพร่ องทางการได้ยน ดังนี้ ้ ิ 2.2) เพื่ อ ศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนของการใช้ 1) ขั้นการวิเคราะห์ บทเรี ย นผ่า นเว็บ ด้ว ยการ์ ตูน แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิช า 1.1) วิเคราะห์ผเู้ รี ยน ภาษาไทยสําหรั บนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 ผู้ 1.2) ศึ ก ษาขอบเขตเนื้ อ หา ของวิ ช าภาษาไทย ชั้น บกพร่ องทางการได้ยน ิ ประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่บกพร่ องทางการได้ยน เรื่ อง คําศัพท์น่า ิ รู ้ ตามหลักสูตรประถมศึกษา 2553 3) สมมติฐานการวิจัย 1.3) ศึกษาสภาพปั ญหาของการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ผูเ้ รี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยนมี ้ ิ เรื่ องคําศัพท์น่ารู้ พบว่านักเรี ยนที่เรี ยนวิชาภาษาไทย คะแนนผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลัง เรี ยน โดยใช้ 2) ขั้นการออกแบบ บทเรี ยนผ่านเว็บ ด้ว ยแอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ สู งกว่าก่ อ น ออกแบบบทเรี ย นผ่า นเว็บ ด้ว ยแอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ และ เรี ยน อย่างมีนยสําคัญทางสถิติ ั ออกแบบยุทธศาสตร์ การเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนผ่านเว็บด้วย แอนนิเมชันภาษามือ ่ 4) ขอบเขตการวิจัย 3) ขั้นการพัฒนา ่ 4.1) ประชากรและกลุมตัวอย่าง 3.1) ด้านสื่ อ พัฒนาบนเรี ยนบนเว็บสร้างบทเรี ยนผ่านสื่ อการ ประชากร คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ของ เรี ยนการสอนผ่านเว็บ โดยศึกษาตัวอย่างบทเรี ยนผ่านเว็บ โรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ ปี การศึกษา 2553 วิธีการสร้ าง กําหนดแผนบทเว็บ การสอดให้สอดคล้องกับ กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรี ยนชั้น เนื้อหาและวัตถุประสงค์ ตามวิธีการพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บ ประถมศึกษาปี ที่ 6 ของโรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ 3.2) ด้านเนื้ อหา ศึกเนื้ อเนื้ อหาวิชาภาษาไทย สําหรั บ ปี การศึกษา 2553 ได้มาโดยจากการสุ่ มอย่างง่าย จํานวน นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยิน ้ พัฒนาแบบประเมิ นคุณภาพการสร้างแบบประเมิ นคุณภาพ 264
  • 4. บทเรี ยนผ่านเว็บสร้างแบบประเมินคุณภาพบทเรี ยน 2 ระยะที่ 2 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนบทเรี ยนผ่านเว็บ ฉบับ เป็ นแบบประเมินคุณภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บฉบับ ด้ว ยการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ ของผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเนื้อหา และแบบประเมินคุณภาพของ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน มี ้ ิ บทเรี ยนผ่านเว็บฉบับของผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเทคนิ ค โดยใช้ ลําดับขั้นดังนี้ มาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 1) ปฐมนิ เทศผูเ้ รี ยนและให้กลุ่มทดลอง ลองใช้บทเรี ยนผ่าน 3.3) นําบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยแอนนิเมชันภาษามือไปให้ ่ เว็บ และให้ศึกษาคู่มือในการใช้โดยมี ผูแนะนําโดยใช้การ ้ ผูเ้ ชี่ ย วชาญตรวจสอบคุ ณ ภาพสื่ อ ด้า นเนื้ อ หาและด้า น อธิบายภาษามือสื่ อสารกับกลุ่มทดลอง เทคนิค 2) ดํา เนิ น การทดลองโดยนํา แบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์ 3.4) สร้ า งแบบทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชา ทางการเรี ยนวิชาภาษาไทย เรื่ อง คําศัพท์น่ารู้ ไปทดสอบก่อน ภาษาไทย เรื่ อง คํา ศัพ ท์ น่ า รู้ แบบเลื อ กตอบชนิ ด 4 เรี ยน จํานวน 40 ข้อ ผูแนะนําและผูวิจยคอยดูแลให้ความ ้ ้ ั ตัวเลือกจํานวน 147 ข้อ นําแบบทดสอบที่ สร้างขึ้น ช่วยเหลือในการเรี ยน หลังจากนั้นให้นกเรี ยนศึกษาบทเรี ยน ั ทั้งหมด ให้ผเู้ ชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน พิจารณาตรวจสอบ ผ่ า นเว็บ และกิ จ กรรมต่ า งๆ ตามบทเรี ยนผ่ า นเว็บ โดย ความสอดคล้องตรงตามเนื้ อหา (IOC) คัดเลือกข้อสอบ กําหนดให้เรี ยนทีละหัวข้อ ซึ่ งบทเรี ยนมี 5 บท จํานวน 49 คํา 40 ข้อ และวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ ดังนี้ ค่าความ ให้เรี ยนวันละ ไม่ต่ากว่า 5 คํา เป็ นเวลา 10 วัน เพื่อให้อิสระใน ํ ยากง่าย = 0.20-0.79 ค่าอํานาจจําแนก = 0.47 และค่า การเรี ย นผ่า นเว็บ ไม่ จ ํา กัด เวลาและสถานที่ จากนั้น ครบ ความเชื่อมันของแบบทดสอบทั้งฉบับ = 0.84 ่ กําหนด ทดสอบหลังเรี ยน จํานวน 40 ข้อ 3.5) สร้างคู่มือ วิธีการใช้บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน 3) จัดเก็บ ข้อ มู ลที่ วิเ คราะห์ ในบทเรี ยนผ่านเว็บ และทํา การ แอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทย ่ เปรี ยบเทียบคะแนนก่อนเรี ยนระหว่างเรี ยน และหลังเรี ยน หา 4) ขั้นการทดลอง ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่ วนเบี่ยงเบน นักเรี ยนทุกคนจะต้องผ่าน การทดลองครั้งที่ 1 นําแบบทดสอบไปทดลองใช้แบบ เกณฑ์ของโรงเรี ยนที่ต้ งไว้ร้อยละ50 ั 1:1 โดยใช้ทดลองกับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่บกพร่ อง ทางการได้ยิน โรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ จํานวน 1 5) สรุปผลการวิจัย คน การทดลองครั้งที่ 2 นําแบบทดสอบที่ได้ปรับปรุ งจาก ตอนที่ 1 สรุ ปผลการพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอน ขั้น ตอน 1:1 ไปทดลองใช้กับ กลุ่ม ขนาดเล็กแบบ 1:10 นิ เมชั่ น ภาษามื อวิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บนั ก เรี ยนชั้ น โดยใช้ท ดลองกับ ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ที่ บ กพร่ อ ง ประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน ้ ิ ทางการได้ยน โรงเรี ยนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ จํานวน 24 ิ 1.1) ผลการพัฒนาบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชัน ่ คน ที่ ยงไม่เคยศึกษาเนื้ อหาวิชานี้ มาก่อนเช่นกันและนํา ั ภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผลการทดลองมาทําการวิเคราะห์ความยากง่าย (Item ผูบกพร่ องทางการได้ยน ้ ิ Difficulty) และหาค่ า อํา นาจจํา แนก (Item บทเรี ยนผ่ า นเว็ บ ด้ ว ยการ์ ตู น แอนนิ เ มชั่ น ภาษามื อ วิ ช า Discriminating) และค่าความเชื่ อมันของแบบทดสอบ ่ ภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ อง ้ (Reliability) โดยใช้เทคนิค 27 % แบ่งกลุ่มสู งและกลุ่มตํ่า ทางการได้ยน ประกอบด้วยเนื้อหา 5 ตอน คือ ิ ได้ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบและนําแบบทดสอบ ่ ตอนที่1 สิ่ งของเครื่ องใช้ ที่ได้แก้ไขปรับปรุ งจากขั้นตอน 1:10 ไป ปรับปรุ งตาม ตอนที่ 2 สัตว์และธรรมชาติ คําแนะนําของผูเ้ ชี่ยวชาญ ตอนที่ 3 ศาสนาและสถานที่ ตอนที่ 4 ยานพาหนะ ตอนที่ 5 อื่นๆ 265
  • 5. ตารางที่1: ผลการประเมินคุณภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บด้วย การ์ ตูนแอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับ ่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการ ้ ได้ยน ด้านเนื้อหา ิ การประเมินคุณภาพ X S.D. ความเหมาะสม 1) หน้ าแรก (Index) 1.1) ภาษาที่ใช้มีความถูกต้อง 4.00 0.00 มาก เหมาะสม และสื่ อความหมายกับผูเ้ รี ยน 1.2) ข้อตกลงในการเรี ยนมีความ 3.67 0.57 ปานกลาง ชัดเจนเข้าใจง่าย 2) ห้ องเรียน (Classroom) 2.1) ภาษาที่ใช้มีความถูกต้อง 4.00 0.00 มาก เหมาะสม 2.2) จุดประสงค์การเรี ยนรู้มีความ 4.00 0.00 มาก สอดคล้องกับระดับผูเ้ รี ยน 2.3) จุดประสงค์การเรี ยนรู้มีความ 3.67 0.57 ปานกลาง สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู้ 3) สาระการเรียนรู้และแบบฝึ กหัด 3.1) ภาษาที่ใช้มีความถูกต้อง 3.67 0.57 ปานกลาง เหมาะสมและสื่ อความหมายกับผูเ้ รี ยน 3.2) สาระการเรี ยนรู้มีความน่าสนใจ 4.00 0.00 มาก 3.3) สาระการเรี ยนรู้มีความต่อเนื่อง 4.00 0.00 มาก 3.4) สาระการเรี ยนรู้มีความยากง่าย 3.67 0.57 ปานกลาง และปริ มาณเหมาะสมกับระดับผูเ้ รี ยน 3.5) สาระการเรี ยนรู้สอดคล้องกับ 3.67 0.57 ปานกลาง จุดประสงค์การเรี ยนรู้ รู ปที่ 1: ตัวอย่ างหน้ าจอบทเรี ยนผ่ านเว็บด้ วยการ์ ตูน 3.6) ความถูกต้องของสาระการเรี ยนรู้ 4.00 0.00 มาก และความชัดเจนในการอธิบายสาระ แอนนิเมชั่นภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรั บนักเรี ยน การเรี ยนรู้ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผู้บกพร่ องทางการได้ ยิน 3.7) ลําดับขั้นตอนในการนําเสนอ 3.67 0.57 ปานกลาง 4) แบบทดสอบ 4.1) แบบฝึ กหัดภาษาที่ใช้มีความถูก 5.00 0.00 มากที่สุด 1.2) ผลการประเมิ นคุ ณ ภาพของบทเรี ย นผ่านเว็บ ด้ว ย ต้องเหมาะสมและสื่ อความหมายกับ การ์ ตู น แอนนิ เ มชั่ น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ ผูเ้ รี ยน 4.2) แบบฝึ กหัดครอบคลุมตาม 5.00 0.00 มากที่สุด นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยิน ้ จุดประสงค์การเรี ยนรู้ ด้านเนื้อหา 4.3) แบบฝึ กหัดสอดคล้องกับสาระ 3.67 0.57 ปานกลาง การเรี ยนรู้ 4.4) แบบทดสอบสอดคล้องกับ 5.00 0.00 มากที่สุด จุดประสงค์การเรี ยนรู้ 4.5) แบบทดสอบสอดคล้องกับสาระ 3.67 0.57 ปานกลาง การเรี ยนรู้ 5) สื่อการสอน 5.1) สื่ อการสอนมีความหลากหลาย 5.00 0.00 มากที่สุด 5.2) สื่ อการสอนมีความน่าสนใจ 5.00 0.0 มากที่สุด 5.3) สื่ อการสอนสอดคล้องกับสาระ 4.00 0.00 มาก การเรี ยนรู้ รวม 4.11 0.29 มาก 266
  • 6. จากตารางที่ 1 พบว่า บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน 5.5) ความของการปฏิสมพันธ์ระหว่าง ั 4.75 0.50 มากที่สุด ผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยน แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยน 6) ด้ านเนือหาสาระบนเว็บ ้ ชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 ผูบ กพร่ อ งทางการได้ยิน มี ้ 6.1) เนื้อหาตรงกับจุดประสงค์ 4.75 0.50 มากที่สุด ่ คุณภาพด้านเนื้อหา อยูในระดับมาก 6.2) เนื้อหาถูกต้องครบถ้วน 4.50 0.57 มากที่สุด 6.3) การลําดับเนื้อหาต่อเนื่อง 4.75 0.50 มากที่สุด 6.4) การกําหนดกิจกรรมการเรี ยนการ 4.50 0.57 มากที่สุด 1.3) ผลการประเมิ นคุ ณ ภาพของบทเรี ย นผ่านเว็บ ด้ว ย สอนสอดคล้องกับเนื้อหา รวม 4.56 0.22 มากที่สุด การ์ ตู น แอนนิ เ มชั่ น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยิน ้ ด้านเทคนิค จากตารางที่ 2 พบว่า บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน ตารางที่ 2: ผลการประเมินคุณภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บ แอนนิ เมชั่ น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยน ด้วยการ์ตนแอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทย ู ่ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยิน มีคุณภาพ ้ สําหรั บนักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 ผู ้ ่ ด้านเทคนิค อยูในระดับมากที่สุด บกพร่ องทางการได้ยน ด้านเทคนิค ิ การประเมินคุณภาพ X S.D. ความเหมาะสม 1.4) ผลการประเมินประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บด้วย 1) ด้ านการออกแบบ การ์ตนแอนนิเมชันภาษามือวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้น ู ่ 1.1) การนําเสนอเนื้อหาน่าสนใจ 4.50 0.57 มากที่สุด ประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการได้ยน ้ ิ 1.2) การนําเสนอเนื้อหาชัดเจน เข้าใจง่าย 4.50 0.57 มากที่สุด 1.3) การออกแบบหน้าจอมีสดส่วน ั 4.50 0.57 มากที่สุด และสวยงาม ตารางที่ 3: การประเมินประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนผ่านเว็บ 1.4) การจัดวางเมนูต่างๆ 4.50 0.57 มากที่สุด 1.5) ระบบนําทางเชื่อมโยงภายในบทเรี ยน 4.50 0.57 มากที่สุด คะแนนเฉลี่ยร้อยละของคะแนน 85.00 1.6) การเชื่อมโยงไปยังแหล่งทรัพยากร 4.50 0.57 มากที่สุด การทําแบบทดสอบระหว่างเรี ยน (E1) สนับสนุนการเรี ยนภายนอก คะแนนเฉลี่ยร้อยละของคะแนน 87.87 2) ด้านตัวอักษร การทําแบบทดสอบหลังเรี ยน (E2) 2.1) ความของรู ปแบบตัวอักษร 5.00 0.00 มากที่สุด 2.2) ความของขนาดตัวอักษร 5.00 0.00 มากที่สุด 2.3) ความของสี ของตัวอักษร 5.00 0.00 มากที่สุด จากตารางที่ 3 พบว่า บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูน 3) ด้ านภาพประกอบเนือหา ้ แอนนิ เมชั่ น ภาษามื อ วิ ช าภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยน 3.1) ความของภาพที่ใช้นาเสนอ ํ 4.75 0.50 มากที่สุด 3.2) ความน่าสนใจของภาพ 4.75 0.50 มากที่สุด ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ผูบ กพร่ อ งทางการได้ยิ น มี ้ 3.3) ความสมดุลในการวางภาพ 4.50 1.00 มากที่สุด ประสิ ทธิภาพ E1/E2 = 85.00/87.87 ซึ่ งสูงกว่าเกณฑ์ท่ีต้ งไว้ ั 3.4) จํานวนภาพที่ใช้นาเสนอ ํ 4.75 0.50 มากที่สุด 3.5) ความของขนาดภาพ 4.75 0.50 มากที่สุด 4) ด้ านภาษาและเสียง 4.1) ความทางภาษา 4.25 0.95 มาก 4.2) ความถูกต้องของภาษามือไทย 4.25 0.50 มาก 4.3) ความชัดเจนภาษามือไทย 4.00 0.81 มาก 4.4) ขนาดและลักษณะมีความ 4.25 0.50 มาก 4.5) เสี ยงดนตรี ประกอบ 4.25 0.50 มาก 5) ด้ านเวลาและปฏิสัมพันธ์ 5.1) ความของเวลาในการนําเสนอ 4.25 0.50 มาก 5.2) ความและความคล่องตัวในการใช้ 4.75 0.50 มากที่สุด บทเรี ยน 5.3) การควบคุมเส้นทางการเดินบทเรี ยน 4.50 0.57 มากที่สุด ชัดเจนถูกต้อง และสามารถย้อนกลับไปยัง จุดต่างๆได้ง่าย 5.4) ปฏิสมพันธ์ระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยน ั ้ 4.50 0.57 มากที่สุด 267
  • 7. ตอนที่ 2 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนบทเรี ยน ควบคุมคุณภาพจากผูเ้ ชี่ ยวชาญก็สามารถทําให้บทเรี ยนบน ผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนนิ เมชั่นภาษามื อวิชาภาษาไทย เว็บคุณภาพและมีประสิ ทธิภาพ สําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผูบกพร่ องทางการ ้ การใช้บทเรี ยนผ่านเว็บนี้ ช่วยให้ผเู้ รี ยนรู้สึกพอใจและไม่เกิด ได้ยน ิ ความกดดันขณะเรี ยนเมื่อเรี ยนไม่ทนผูเ้ รี ยนคนอื่น ทําให้ ั ตารางที่ 4: ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ผูเ้ รี ยนรู้ สึกไม่เครี ยดในระหว่างที่ เรี ยน และที่ สําคัญผูเ้ รี ยน ก่อนและหลังเรี ยนด้วยบทเรี ยนผ่านเว็บด้วย สามารถเรี ยนรู้ได้ทุกที่ (Any where) ทุกเวลา (Any time) อีก การ์ ตนแอนนิเมชันภาษามือ ู ่ ทั้งสามารถสื บค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อทําให้เกิดการเรี ยนรู้ที่ ผลสั มฤทธิ์ หลากหลายได้ทวโลก จึงส่ งผลให้ผเู้ รี ยนมีประสิ ทธิ ภาพใน ั่ คะแนนเต็ม X S.D. t-test Sig. การฝึ กอบรม การเรี ยนรู้สูงขึ้นซึ่ งมีความมีความสอดคล้อง กับงานวิจยของ ั ก่อนฝึ กอบรม 40 13.75 5.97 7.1o** .00 นิตยา กันทะเสน (2548) และ อภิญญา แสงทอง (2549) ที่ หลังฝึ กอบรม 40 35.15 6.35 พบว่า บทเรี ยนผ่านเว็บนี้ เป็ นการเรี ยนที่สอดคล้องกับทฤษฎี **p < .05 ความแตกต่ า งระหว่า งบุ ค คล ซึ่ งผูเ้ รี ย น แต่ ล ะคนมี ความสามารถในการเรี ยนรู้ที่แตกต่างกัน ดังนั้น นอกจากนี้ จากตารางที่ 4 พบว่า นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน การพัฒ นาบทเรี ยนผ่ า นเว็ บ ถื อ เป็ นทางเลื อ กหนึ่ งใน หลังเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตนแอนนิเมชัน ู ่ การศึ กษาในยุคของ e-Learning ซึ่ งถือเป็ นการนําเอา ภาษามือวิชาภาษาไทย สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญ ั เทคโนโลยีมาใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษา บทเรี ยนผ่านเว็บ ทางสถิติที่ระดับ .05 ที่ พฒนาขึ้ นมาโดยใช้ประโยชน์จากเครื อ ข่ ายอิ นเทอร์ เน็ ต ั โดยนําเอาระบบบริ หารจัดการรายวิชามาใช้เพื่อจัดการเรี ยน 6) อภิปรายผล การสอน เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนโต้ตอบกับเนื้ อหา โดยผูเ้ รี ยน บทเรี ย นผ่า นเว็บ ด้ว ยการ์ ตูน แอนนิ เ มชั่น ภาษามื อ วิช า สามารถเข้าถึงเนื้อหาตามความต้องการได้ และมีปฏิสัมพันธ์ ภาษาไทยสํ า หรั บ นั ก เรี ยนชั้ นประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ผู้ กัน แสดงความคิดเห็น สอบถามกับผูสอนได้ มีแบบฝึ กหัด ้ บกพร่ องทางการได้ยนที่พฒนาขึ้น มีคุณภาพด้านเนื้อหา ิ ั และแบบทดสอบเพื่อใช้ตรวจสอบความเข้าใจในบทเรี ย น ่ อยูในระดับมาก มีคุณภาพด้านเทคนิ ค อยูในระดับมาก่ ของผูเ้ รี ยนอีกด้วย ดังนั้นรู ปแบบการจัดการเรี ยนการสอน ที่สุด และ มีประสิ ทธิ ภาพ E1/E2 = 85.00/87.87 ซึ่ งสู ง ผ่านเว็บมีความเหมาะสมในการจัดการเรี ยนการสอนของผู้ กว่ า เกณฑ์ ที่ ต้ ั งไว้ ผลทดลองใช้ พ บว่ า นั ก เรี ยนมี บกพร่ องทางการได้ยินโดยสามารถแก้ปัญหาใน เรื่ องของ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนโดยใช้บทเรี ยนผ่านเว็บ การทบทวนความรู้ และไม่ จ า กัด เวลาและสถานที่ ทํา ให้ ํ ด้วยการ์ ตูนแอนนิ เ มชันภาษามื อ วิชาภาษาไทย สู งกว่า ่ ผูเ้ รี ยนทบทวนได้เสมอตามต้องการ และยังมีกิจกรรมต่างๆ ที่ ก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เนื่ องจาก ั เชื่อมโยง สนับสนุนเนื้อหาให้บทเรี ยนผ่านเว็บ ในการผลิตบทเรี ยนผ่านเว็บด้วยการ์ ตูนแอนิ เมชันภาษา ่ ในการออกแบบโดยใช้การ์ ตูน แอนนิ เ มชั่น สามารถสร้ า ง มือ วิชาภาษาไทยสําหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ความน่ าสนใจด้วยการเคลื่อนไหวของภาพ รู้สึกชวนติดตาม ผู ้บ กพร่ องทางการได้ยิ น ครั้ งนี้ มี ก ารศึ ก ษาขั้น ตอน และรวมถึงการเชื่ อมโยงหรื อปฎิ สัมพันธ์ยงมี การออกแบบ ั กระบวนการผลิ ต จากงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้อ ง เอกการ ปุ่ มเมนู ที่เข้าใจง่าย และสะดวกแก่การใช้งานของผูบกพร่ อง ้ ประกอบการเรี ยนการสอน การสัมภาษณ์อาจารย์ผสอน ู้ ทางการได้ยนจึงทําให้ผเู้ รี ยนเข้าใจเนื้อหา การเรี ยนได้ง่ายขึ้น ิ นักเรี ยนผูบกพร่ องทางการได้ยิน และรวมถึ งงานด้าน ้ ภาพยังมี สีสันสดใสสวยงาม การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ การ์ ตูนแอนิ เมชั่นอย่างละเอียด และทําตามขั้นตอน เมนู และปุ่ มต่ า งๆ ยัง จดจํา ง่ า ย และง่ า ยต่ อ การใช้ การ รวมทั้งมี ผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านเทคนิ ค และเนื้ อหาตรวจสอบ ออกแบบไม่บงคับให้ผเู้ รี ยน จากงานวิจย เกษมศรยุทธ จันท ั ั โดยมี ก ารประเมิ น ขั้ นเตรี ยมการผลิ ต ทํ า ให้ ท ราบ ภุชวเดช (2544) การนําเสนอด้านเนื้ อหามีการเล่าเรื่ อง ด้วย จุดบกพร่ อง และปรับปรุ ง แก้ไขก่อนที่จะผลิต และมีการ การ์ ตูนแอนนิ เมชัน มีภาพเคลื่อนไหว โดยมีตวละครในการ ่ ั 268
  • 8. เล่ า เรื่ อ ง 2 ตัว คื อ แก่ น และหนู น าทํา เกิ ด ความสนใจ ทิศนา แขมมณี . (2550). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อ ตื่ นเต้นเร้ าใจให้ผูเ้ รี ย น บทเรี ย นคอมพิวเตอร์ การสอน การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิ ทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ แบบเล่าเรื่ องด้วยการ์ตนแอนนิเมชันเรื่ องโภชนาการ และ ู ่ 6. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ระบบย่อยอาหาร ซึ่ งประกอบด้วย บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ นิตยา กันทะเสน. (2548). การพัฒนาการเขียนเชิง และคู่มือการใช้ และผลการวิจยด้านการออกแบบ และ ั สร้างสรรค์โดยใช้ภาพการ์ตน วิชาภาษาไทย นักเรี ยน ู พัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนดังกล่าวยังสอดคล้องกับ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5. วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยราช ขั้น ตอนการสอนซึ่ งนํา มาใช้เ พื่ อ เป็ นแนวทางในการ ภัฏชียงราย. กําหนดการพัฒนา และทษฎี การสอนของกานเย 9 ขั้น ประเสริ ฐ. (2535). ความผิดปรกติของการได้ยน. พิมพ์ครั้ง ิ โดยสร้ า งลัก ษณะบทเรี ย นผ่า นเว็บ ให้ มุ่ ง ไปที่ ผ ลการ ที่ 2. ขอนแก่น : โรงพิมพ์ขอนแก่นธุรภัณฑ์. เรี ยนรู้ (Learning Outcome) และการออกแบบรู ปแบบยัง ภูดินนท์ กัลยารัตน์. (2549). การพัฒนาบทเรี ยน ั เน้นการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ จัดการเรี ยนการสอน คอมพิวเตอร์ การสอนแบบเล่าเรื่ องด้วยการ์ ตนแอนนิ ู ให้เหมาะกับหลักสู ตร เน้นความสนใจไปยังการ์ ตูนแอนิ เมชัน เรื่ อง การโภชนาการและระบบการย่อยอาหาร. ่ เมชันให้ตอบสนองความต้องการ และเร้าความสนใจของ ่ ล้วน สายยศ และอังศณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจย ั ผูเ้ รี ยน จึ งทําให้บทเรี ยนผ่านเว็บเป็ นไปตามสมมุติฐาน การศึกษา. กรุ งเทพฯ : สุ รีริยาสาส์น. ที่ต้ งไว้ ั วารี ถิระจิตร. (2541). การศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ. ผลของงานวิ จั ย ครั้ งนี้ ด้า นการออกแบบและพัฒ นา กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์แห่งจุฬามหาวิทยาลัย, รู ป แบบการเรี ย นการสอน ยัง สอดคล้อ งกับ หลัก การ วินทนี พันธ์ชาติ. (2539). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนา ออกแบบมัลติมิเดียสําหรับการเรี ยนการสอนด้วยเว็บ การ คุณภาพชีวตของคนพิการ. เอกสารประกอบสัมมนาและ ิ สร้ างบทเรี ยนผ่านเว็บ และได้นามาใช้ร่วมกับหลักการ ํ นิทรรศการเรื่ องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่ องคนพิการ เรี ยนการสอนของผูพิการหู หนวกโดยใช้หลักการ ภาษา ้ ครั้งที่1. และวัฒ นธรรมของ คนหู ห นวก และอาศัย ล่ า มมื อ ที่ สถาพร สาธุการ. (2550). การพัฒนาการเรี ยนการสอน ชํ า นาญในการภาษามื อ ไทยรวมถึ ง ได้ ใ ช้ ห ลั ก การ ผ่านระบบเครื อข่ายที่เหมาะสมกับคนหูหนวกใน สถาพร สาธุ การ (2550) จึ งทําให้บทเรี ยนผ่านเว็บด้วย ระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ มหาลัยศรี นคริ ทรวิโรฒ. การ์ ตูนแอนิ เมชันภาษามื อ วิชาภาษาไทยความสมบูรณ์ ่ อภิญญา แสงทอง. (2549). การศึกษาพิเศษการออกแบบ ขององค์ป ระ กอบหลัก และองค์ป ระกอบย่อ ยรวมทั้ง ั ้ แอนิเมชันภาษามือให้กบผูพิการทางการได้ยน ่ ิ องค์ประกอบโครงสร้างของบทเรี ยนผ่านเว็บ ชุดตัวเลข แสนสนุกกับผลไม้แสนอร่ อย. วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยราชฎัชจันเกษม. 7) เอกสารอ้ างอิง William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods in education: an introduction. (9thed.). Boston: กิดานันท์ มลิทอง. (2540) เทคโนโลยีการศึกษาและ Pearson. นวัตกรรม. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. กุลทรัพย์ เกษมแม่นกิจ. (2547). สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระมหากรุ ณาต่อ คนพิการ. สื บค้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 จาก http://www.sakulthai.com เกษมศรยุทธ จันทภุชวเดช. (2544). การพัฒนาชุด บทเรี ยนมัลติมิเดียเพื่อการสอนคนหูหนวก เรื่ อง สุ ภาษิตคําพังเพย. วิทยานิพนธ์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 269