SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
หนังสือ
(Book) หมายถึง การบันทึกความรู้ ความคิด ประสบการณ์ ลงบนแผ่นกระดาษขนาดเท่า
ๆ กัน โดยใช้ถ้อยคา สานวนโวหารในการสื่อสารให้ผู้อ่านได้รับรู้ และเข้าใจ ซึ่งใช้การเขียน
หรือพิมพ์ แล้วนามาเย็บรวมเป็ นเล่ม แบ่งออกเป็ นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
1. หนังสือสารคดี (Non - Fiction)หมายถึงหนังสือที่ให้ความรู้ในด้านต่างๆ ได้แก่
- หนังสือตารา (0) (TextBook) หมายถึง
หนังสือแบบเรียนวิชาต่างๆที่มีการเรียนการสอนตามหลักสูตร
- หนังสืออ่านประกอบ (1) (Externsl Reading) หมายถึง หนังสือ
นอกเหนือไปจากหนังสือตาราแบบเรียน แต่เป็ นหนังสือที่มีคุณค่าทาง
วิชาการเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนตามหลักสูตร
- หนังสือความรู้ทั่วไป (2) (GeneralBook) หมายถึงหนังสืออื่นๆ
นอกเหนือไปจากหนังสือตารา และหนังสืออ่านประกอบดังได้ กล่าวมาแล้ว
- หนังสือทางด้านสันทนาการ(Recreational Book) หมายถึง
หนังสือที่อ่านเพื่อผ่อนคลายอารมณ์แต่มี คุณค่าทางวิชาการ เช่น
หนังสือทางด้านศิลปะและวรรณกรรมต่างๆ
2. หนังสือนวนิยาย (3) (Fiction)นวนิยายคือ
เรื่องราวที่เกิดขึ้นจากจินตนาการของผู้เขียนเรียบเรียงขึ้นเพื่อ ความเพลิดเพลิน
3 . ห นั ง สื อ อ้ า ง อิ ง ( 4 ) ( Reference Book) ห ม า ย ถึ ง
ห นั ง สื อ ที่ ช่ ว ย ต อ บ ปั ญ ห า ทั้ ง ท า ง ด้ า น วิ ช า ก า ร แ ล ะ เ รื่ อ ง ทั่ ว ไ ป
ผู้ อ่า น ใ ช้ ป ระ กอบ ห รื อค้ น ค ว้า ใ น บ า งเ รื่ อ ง บ า งต อน กา ร แบ่ ง ป ระ เภ ท ข อ ง
ห นั งสือต า ม เนื้ อหานั้ น หา กจะแบ่ งใ ห้ ละ เอียด ก็ อา จจะแบ่ งย่ อย ออกไป ได้อีก
ซึ่งเป็ นลักษณะเดียวกับการที่ห้องสมุดจัดแบ่งหนังสือออกเป็ นหมวดหมู่ต่างๆ เช่น การศึกษา
กฎหมาย วรรณคดี ศิลปะ เป็ นต้น
ส่วนประกอบของหนังสือ ประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ส่วนปกของหนังสือ
1. ปกหนังสือ ตามมาตรฐานแล้ว ส่วนของปกหนังสือจะมีความหนา
มีหน้าที่ในการยึดหนังสือทั้งเล่มให้มีความคงทน แข็งแรง
และแสดงรายละเอียดที่สาคัญของหนังสือ เช่น ชื่อหนังสือ, ชื่อผู้แต่ง, ปี ที่พิมพ์, สานักพิมพ์, อื่น
ๆ
2.
สันหนังสือ หนังสือแต่ละเล่มจะมีสันหนังสือที่หนาหรือบางเท่าใดก็ขึ้นอยู่กับจานวนหน้าของหนั
งสือเล่มนั้น ส่วนมากจะนิยมพิมพ์ ชื่อหนังสือ และชื่อผู้เขียน ไว้เป็ นสาคัญ
ส่วนที่ 2 ส่วนประกอบตอนต้นของหนังสือ
1.
ปกใน ส่วนของปกในจะเป็ นส่วนที่มีรายละเอียดทางบรรณานุกรมของหนังสือครบถ้วนที่สุด
ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง, ชื่อหนังสือ, ครั้งที่พิมพ์, สถานที่พิมพ์,สานักพิมพ์, ปี ที่พิมพ์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
2. หน้าลิขสิทธิ์ จะอยู่หน้าหลังของปกใน มีรายละเอียดดังนี้
ข้อความสงวนลิขสิทธิ์ตามพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ ข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือ เลขมาตรฐานสากลประ
จาหนังสือ ISBN
3. คานา มีรายละเอียดที่จะต้องอธิบายถึงวัตถุประสงค์ของหนังสือ
รวมไปถึงตอนท้ายอาจกล่าวคาขอบคุณถึงผู้ที่มีส่วนช่วยด้านต่างๆของหนังสือเล่มนั้นได้ด้วย
4. บทนา มีรายละเอียดโดยย่อของหนังสือ เพื่อให้ผู้อ่าน
มีความเข้าใจก่อนที่จะอ่านหนังสือเล่มนั้นๆ
5. หน้าสารบัญ มีการเรียบเรียงสารบัญ ให้ผู้อ่านสามารถค้นหาบทที่จะอ่านได้
6.หน้าสารบัญภาพ สารบัญตาราง มีการเรียบเรียง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถค้นหารูปภาพ
และตารางในหนังสือได้
ส่วนที่ 3 ส่วนของเนื้อเรื่อง
เนื้ อหา ผู้เขียนจะเรียบเรียงหนังสือให้เนื้อหาแยกออกเป็ นบทๆเพื่อความสะดวกกับผู้อ่าน
ส่วนที่ 4 ส่วนประกอบตอนท้าย
1. ภาคผนวก คือส่วนเสริมของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง สามารถนามาใส่ในภาคผนวก
2. อภิธานศัพท์ คือส่วนเสริมแปลศัพท์ในเนื้อเรื่อง ให้ผู้อ่านเข้าใจ
3. บรรณานุกรม คือส่วนรายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสารต่างๆที่ประกอบการเ
รียบเรียงหนังสือนั้นๆ ตามลาดับตัวอักษร
4. ดรรชนี หรือบัญชีค้นคา จะแตกต่างกับสารบัญตรงที่นาหัวข้อย่อย หรือคาสาคัญ
มาเรียบเรียงตามลาดับตัวอักษร
หนังสือแต่ละเล่มที่ผลิตออกมานั้น ล้วนแล้วแต่มีส่วนประกอบต่างๆ ที่มากน้อย แตกต่างกันไป
อาจไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ตามหลักวิชาการ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ ปัจจัยการผลิตหลายประการ
ซึ่ ง ไ ม่ ถื อ ว่ า เ ป็ น สิ่ ง ผิ ด เ พ ร า ะ ไ ม่ มี ห นั ง สื อ เ ล่ ม ใ ด ใ น โ ล ก
ที่มีส่วนประกอบครบถ้วนสมบูรณ์ทุกประการ
วารสาร (Periodicals) หมายถึง สิ่งพิมพ์ชนิดหนึ่งที่พิมพ์ออกตามวาระหรือตามกาหนด
เ ช่ น ร า ย สั ป ด า ห์ ร า ย ปั ก ษ์
รายเดือน รายสองเดือน รายสามเดือน รายหกเดือน เสนอเรื่องราวหลายรส หลายแบบ และ
เสนอได้ทันต่อเหตุการณ์ เป็ นสิ่งพิมพ์ที่ควรแก่การอ่าน (รัญจวน อินทรกาแหง 2520 : 25
)
ประเภทของวารสาร
1. วารสารวิชาการ (5) เป็ นวารสารที่เน้นการนาเสนอบทความทางวิชาการและองค์ความรู้ใหม่
ๆ ในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ วารสารประเภทนี้ ได้แก่ วารสารที่ออกโดยหน่ วยงานภาครัฐ
รัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการศึกษา และวารสารที่ออกโดยหน่วยงานทางธุรกิจ
2. วารสารวิจารณ์หรือปริทัศน์ (6) เป็ นวารสารที่เน้ นการนาเสนอบทความเชิงวิจารณ์
วิเคราะห์ หรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องของการเมือง การปกครองวรรณกรรม ศิลปะ กีฬา
ดนตรี ฯลฯ วารสารประเภทนี้ เช่น วารสารสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ วารสารมติชนสุดสัปดาห์
ฯลฯ
3. ว า ร ส า ร บั น เ ทิ ง ห รื อ นิ ต ย ส า ร
(7) เป็ นวารสารที่เน้นการนาเสนอเรื่องราวทางด้านบันเทิงโดยอาจจะแทรกเรื่องราวทางวิชากา
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
ร เกร็ดความรู้ อาจแบ่งเป็ น นิ ตสารสาหรับผู้อ่านทั่วไปหรือผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม เช่น
นิตยสารสาหรับสตรี บุรุษ หรือสาหรับเด็กและครอบครัว นิตยสารรถ นิตยสารการตกแต่งบ้าน
นิ ต ย ส า รก า รท่ อ ง เ ที่ ย วนิ ต ย ส า รวง ก า รบัน เ ทิ ง ภ า พ ย น ต ร์ แ ล ะ โ ท รทัศ น์
อาจมีนวนิยายเรื่องสั้นหรือเรื่องแปลสอดแทรกอยู่ภายในเล่มก็ได้
ส่วนประกอบของวารสาร
รูปแบบของวารสารนั้นมีหลากหลายขึ้นอยู่กับประเภทของวารสาร
โดยทั่วไปส่วนประกอบที่สาคัญของวารสารมีดังต่อไปนี้
1. ปก ปกของวารสารส่วนมากนั้นเป็ นปกอ่อน
ข้อมูลสาคัญที่บันทึกไว้ในส่วนของปกวารสารได้แก่ ชื่อวารสาร ปี ที่ ฉบับที่ วัน/เดือน/ปี
ที่ออกเผยแพร่
2. หน้ าสารบัญ หน้ าสารบัญของวารสารอาจจะปรากฏในส่วนต่าง ๆ ได้ เช่น
ปกหน้ าปกหลัง ด้านในปกหน้าหรือท้ายเล่ม แต่ส่วนมากมักจะพิมพ์ไว้ในหน้า ต่อจากปก
เพื่อแจ้งให้ ผู้อ่าน ท ราบว่าภายในวารสารฉบับนั้น ๆ ประกอบด้วยบทความ ใดบ้าง
พร้อมทั้งระบุเลขหน้ าที่มีข้อมูลเกี่ยวกับวารสารนั้น ๆ ด้วย เช่น ชื่อวารสารปี ที่ฉบับที่
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่เลขมาตรฐานสากล ประจาวารสาร (International StandardSerials
Number: ISSN) ราคาหรืออัตราค่าสมาชิกกาหนดเผยแพร่ เจ้าของ ผู้ผลิต หรือคณะผู้จัดทา
พร้อมทั้งสถานที่สาหรับติดต่อ
3. บทบรรณาธิการ เป็ นบทความสั้น ๆ ที่ผู้รับผิดชอบในการผลิตวารสารนั้น ๆ เขียนขึ้น
เพื่อสื่อสารสร้างความเข้าใจ กับผู้อ่าน อาจเกี่ยวกับการดาเนิ นจัดทาวารสารฉบับนั้ น
เรื่องราวที่ลงตีพิมพ์หรือข้อคิดเห็น ของบรรณาธิการเกี่ยวกับเรื่องราวหรือสถานการณ์
ซึ่ ง เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ผู้ อ่ า น
ทาให้ทราบถึงแนวทางของเรื่องในวารสารหรือได้รับแนวคิดเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ
4. เ นื้ อ เ รื่ อ ง เ นื้ อ เ รื่ อ ง ใ น ว า ร ส า ร จ ะ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น บ ท ค ว า ม
หรือบท ประพัน ธ์ ซึ่ งอาจจบใน ฉบับหรือต่อเนื่ องหลายฉบับก็ได้ ส่วน เนื้ อหาของ
งานเขียนที่ตีพิมพ์นั้นจะสอดคล้องกับประเภทและ วัตถุประสงค์ ในการผลิตวารสาร นั้น ๆ เช่น
วา รส า ร วิ ช า ก า ร ง า น เ ขี ย น ที่ ล ง ตี พิ ม พ์ จ ะ เ ป็ น บ ท ค วา ม ท า ง วิ ช า ก า ร
วารสารทั่วไปหรือนิ ตยสารงานเขียน ที่ลงตีพิมพ์จะได้แก่ นวนิยาย เรื่องสั้น เรื่องเบ็ดเตล็ด
เป็ นต้นบางเรื่องอาจมีภาพประกอบด้วย
5. โฆษณา สาหรับวารสารที่ผลิตเพื่อการค้านั้นจะมีโฆษณาสินค้าหรือบริการต่าง ๆ
เป็ น ส่วน ป ระ กอบ สา คัญ ทั้ งนี้ เพรา ะ เป็ น รา ยได้ส่วน หนึ่ งของผู้ ผ ลิ ต วา รสาร
ซึ่ ง โ ฆ ษ ณ า นั้ น อ า จ ก ร ะ จ า ย อ ยู่ ใ น ส่ ว น ต่ า ง ๆ ต ล อ ด เ ล่ ม ว า ร ส า ร
วารสารบางชื่ออาจรวบไว้ตอนท้ายเล่ม ในกรณีที่เป็ นวารสารวิชาการของหน่วยงานราชการ
รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ห รื อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ
ส่วนมากไม่มีการโฆษณาเพราะได้รับงบประมาณอุดหนุนการผลิตวารสารจากหน่วยงาน
ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ( Newspaper) ห ม า ย ถึ ง
สิ่งพิมพ์ที่รายงานข้อเท็จจริงและเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้น ในแต่ละวัน รวมทั้งเนื้อหาสาระอื่น ๆ
ที่น่าสนใจ ตลอดจนการโฆษณา มีวาระการวางจาหน่ายที่แน่นอน นิยมจาหน่ายเป็ นรายวัน
ขนาดของหนังสือพิมพ์มี 2 ขนาด คือ ขนาดใหญ่หรือขนาดมาตรฐาน (Standard)
ห รื อ ที่ เ รี ย ก ว่ า
"บรอดชีท" (Broad Sheet) หรือ "Full Size" ซึ่งมีความกว้างยาวประมาณ 14 นิ้ ว คูณ23
นิ้ว หนังสือพิมพ์ที่มีขนาดนี้ เช่น หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, มติชน, เดลินิวส,์์ คมชัดลึก, เป็ นต้น
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ รี ย ก ว่ า " ข น า ด แ ท ป ล อ ย ด์ " ( Tabloid)
ซึ่ ง มี ค ว า ม ก ว้ า ง ย า ว ป ร ะ ม า ณ 11.5
คู ณ 14.5 นิ้ ว ห รื อ ป ระ ม า ณ ข น า ด ตัด ค รึ่ ง ข อ ง ข น า ด ม า ต รฐ า น นั่ น เ อ ง
หนังสือพิมพ์ที่มีขนาดเล็กหรือแทปลอยด์ เช่น หนังสือพิมพ์ฉบับพิเศษของเดลินิวส์
ประเภทหนังสือพิมพ์ (Newspaper) แบ่งเป็ น 3 ประเภท ได้แก่
1 . ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ป ระ เ ภ ท ข่ า วทั่ วไป ( 8 ) ( General Newspaper) เช่ น
ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ไ ท ย รัฐ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ เ ด ลิ นิ ว ส์ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ข่ า ว ส ด
หนังสือพิมพ์แน วหน้ า และหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ซึ่ งเน้ นนาเสนอข่าวสารทั่ วๆไป
มีเนื้อหาที่หลากหลาย (สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย : 2542)
2 . ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ป ร ะ เ ภ ท ข่ า ว ธุ ร กิ จ ( 9 ) ( Business Newspaper)
จะเน้ นนาเสนอข่าวสารด้านเศรษฐกิจและการเมืองเป็ นหลัก เช่น หนังสือพิมพ์ธุ รกิจ
ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ผู้ จัด ก า ร รา ย วัน ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ป ระ ช า ช า ติ ธุ ร กิ จ เ ป็ น ต้ น
(สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย : 2542)
3 . ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ป ระ เ ภ ท เ ฉพ า ะก ลุ่ ม ( 1 0 ) ( Specialied Newspaper)
ห นั ง สื อ พิ ม พ์ แ น วนี้ จ ะ มุ่ ง เ น้ น น า เ ส น อ เ นื้ อ ห า เ ฉ พ า ะ ด้ า น ใ ด ด้ า น ห นึ่ ง
มี กลุ่ ม ผู้ อ่า น เป้ า ห ม า ย จา เพา ะเจา ะ จง เช่ น ห นั งสือพิ ม พ์ แน วข่า วกี ฬ า เช่ น
หนังสือพิมพ์สตาร์ซ็อกเกอร์
หนังสือพิมพ์สปอร์ตพูล เป็ นต้น
ส่วนประกอบของหนังสือพิมพ์ มีดังต่อไปนี้
1. พาดหัวข่าว (Headline) เป็ นการคัดเลือกข่าวที่สาคัญ
และน่าสนใจที่สุดมาเรียบเรียงสรุปเป็ นสาระสาคัญสั้น ๆ พิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาดใหญ่ สะดุดตา
เพื่อเรียกร้องความสนใจของผู้อ่าน และเพื่อประหยัดเวลาให้ผู้อ่าน
สามารถเลือกอ่านข่าวได้ทุกข่าวโดยไม่เสียเวลามาก
หนังสือพิมพ์ส่วนใหญ่จะพาดหัวข่าวเพียงหนึ่งหรือสองข่าว
และมักไม่เกินสามข่าวโดยจัดพิมพ์ตัวอักษรให้มีขนาดลดหลั่นกันลงมาตามระดับความสาคัญข
องข่าว
2. บทบรรณาธิการ หรือบทนา เขียนโดยบรรณาธิการจะเป็ นบทความ หรือบทวิจารณ์
ที่แสดงความคิดเห็นต่อการเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ แต่ละฉบับ จึงเปรียบเหมือนนโยบาย
หรือทิศทาง ของการเสนอข่าว ของหนังสือพิมพ์ฉบับนั้น ๆ
3. เนื้อข่าว (News) เป็ นรายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งข่าวต่าง ๆ ที่รายงานเหตุการณ์
หรือเรื่องราวที่น่าสนใจ ซึ่งข่าวมี 2 ประเภท คือ ข่าวแข็ง (Hard news)
ได้แก่ข่าวที่มีสารประโยชน์ เช่นข่าวการศึกษา เศรษฐกิจการเมือง วัฒนธรรม
การบริหารประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เป็ นต้น และข่าวอ่อน (Soft news) ได้แก่
ข่าวกีฬา อุบัติเหตุ อาชญากรรมบันเทิง และข่าวสังคม
4. สารคดี จะเป็ นเรื่องที่ให้ความรู้ เรื่องที่ให้สาระหรือเป็ นวิชาการ
5. บทความ เป็ นบทวิเคราะห์ วิจารณ์ข่าว ให้ความรู้และสาระในเรื่องราวต่าง ๆ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
6. คอลัมน์ประจา ผู้เขียนที่เรียกว่า คอลัมน์นิส เขียนแสดงความคิดเห็น
หรือวิเคราะห์วิจารณ์ เกี่ยวกับเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง และตีพิมพ์เป็ นประจาในหนังสือพิมพ์ของแต่ละฉบับ
7. ภาพประกอบ
เป็ นสิ่งสาคัญสาหรับหนังสือพิมพ์รายวันมากเพราะภาพประกอบจะทาให้ข่าวเกิดความน่าสนใจ
และ ผู้อ่านมีความเข้าใจมากขึ้น
8. โฆษณา หนังสือพิมพ์รายวันจะได้รับค่าลงโฆษณาของบริษัท ห้างร้านต่าง ๆ
และโฆษณาก็เป็ นสารนิเทศ
อย่างหนึ่งด้วย
ที่มา :
ส่วนประกอบต่างๆ ของหนังสือ. (ม.ป.ป.) เข้าถึงได้จาก :
https://www.gotoknow.org/posts/334938
(วันที่ค้นข้อมูล : 6 พฤศจิกายน 2560).
ส่วนประกอบต่างๆ ของหนังสือ. (ม.ป.ป.) เข้าถึงได้จาก :
http://www.protexts.com/ส่วนประกอบของ หนังสือ.
(วันที่ค้นข้อมูล : 10 พฤศจิกายน 2560).
ประเภทวารสาร. (ม.ป.ป.) เข้าถึงได้จาก :
http://thamonwantou.blogspot.com/2013/12/1.html
(วันที่ค้นข้อมูล : 13 พฤศจิกายน 2560).
ประเภทหนังสือพิมพ์. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก :
http://kanlayanee.ac.th/wbiprinting/WBI/wbi_7/Lesson/compos_2.htm.
(วันที่ค้นข้อมูล : 13 พฤศจิกายน 2560).

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
Supaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
Supaporn Khiewwan
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศ
O Phar O Amm
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดLibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
Ploykarn Lamdual
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
Ploykarn Lamdual
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
Supaporn Khiewwan
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
Supaporn Khiewwan
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
Ploykarn Lamdual
 
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดLibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
Ploykarn Lamdual
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาkrujee
 
ส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือ
Supaporn Khiewwan
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
นาเดีย น่ารัก
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
jiratt
 

What's hot (20)

แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศ
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดLibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดLibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
 
ส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือส่วนประกอบของหนังสือ
ส่วนประกอบของหนังสือ
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 

Similar to ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์

ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
Supaporn Khiewwan
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7sawitri555
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบวารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
luufee
 
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศI 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศK-Vi Wijittra
 
9789740336068
97897403360689789740336068
9789740336068
CUPress
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58
Supaporn Khiewwan
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
Ploykarn Lamdual
 

Similar to ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ (20)

ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงานIs2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบวารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
วารสารและหนังสือพิมพ์และส่วนประกอบ
 
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศI 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
9789740336068
97897403360689789740336068
9789740336068
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 

More from Supaporn Khiewwan

ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
Supaporn Khiewwan
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
Supaporn Khiewwan
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
Supaporn Khiewwan
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59
Supaporn Khiewwan
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
Supaporn Khiewwan
 
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมหลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
Supaporn Khiewwan
 
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptหลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
Supaporn Khiewwan
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
Supaporn Khiewwan
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
Supaporn Khiewwan
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
Supaporn Khiewwan
 
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12
Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11
Supaporn Khiewwan
 

More from Supaporn Khiewwan (20)

ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมหลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
 
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptหลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
 
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12
 
คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า หนังสือ (Book) หมายถึง การบันทึกความรู้ ความคิด ประสบการณ์ ลงบนแผ่นกระดาษขนาดเท่า ๆ กัน โดยใช้ถ้อยคา สานวนโวหารในการสื่อสารให้ผู้อ่านได้รับรู้ และเข้าใจ ซึ่งใช้การเขียน หรือพิมพ์ แล้วนามาเย็บรวมเป็ นเล่ม แบ่งออกเป็ นประเภทต่าง ๆ ดังนี้ 1. หนังสือสารคดี (Non - Fiction)หมายถึงหนังสือที่ให้ความรู้ในด้านต่างๆ ได้แก่ - หนังสือตารา (0) (TextBook) หมายถึง หนังสือแบบเรียนวิชาต่างๆที่มีการเรียนการสอนตามหลักสูตร - หนังสืออ่านประกอบ (1) (Externsl Reading) หมายถึง หนังสือ นอกเหนือไปจากหนังสือตาราแบบเรียน แต่เป็ นหนังสือที่มีคุณค่าทาง วิชาการเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนตามหลักสูตร - หนังสือความรู้ทั่วไป (2) (GeneralBook) หมายถึงหนังสืออื่นๆ นอกเหนือไปจากหนังสือตารา และหนังสืออ่านประกอบดังได้ กล่าวมาแล้ว - หนังสือทางด้านสันทนาการ(Recreational Book) หมายถึง หนังสือที่อ่านเพื่อผ่อนคลายอารมณ์แต่มี คุณค่าทางวิชาการ เช่น หนังสือทางด้านศิลปะและวรรณกรรมต่างๆ 2. หนังสือนวนิยาย (3) (Fiction)นวนิยายคือ เรื่องราวที่เกิดขึ้นจากจินตนาการของผู้เขียนเรียบเรียงขึ้นเพื่อ ความเพลิดเพลิน 3 . ห นั ง สื อ อ้ า ง อิ ง ( 4 ) ( Reference Book) ห ม า ย ถึ ง ห นั ง สื อ ที่ ช่ ว ย ต อ บ ปั ญ ห า ทั้ ง ท า ง ด้ า น วิ ช า ก า ร แ ล ะ เ รื่ อ ง ทั่ ว ไ ป ผู้ อ่า น ใ ช้ ป ระ กอบ ห รื อค้ น ค ว้า ใ น บ า งเ รื่ อ ง บ า งต อน กา ร แบ่ ง ป ระ เภ ท ข อ ง ห นั งสือต า ม เนื้ อหานั้ น หา กจะแบ่ งใ ห้ ละ เอียด ก็ อา จจะแบ่ งย่ อย ออกไป ได้อีก ซึ่งเป็ นลักษณะเดียวกับการที่ห้องสมุดจัดแบ่งหนังสือออกเป็ นหมวดหมู่ต่างๆ เช่น การศึกษา กฎหมาย วรรณคดี ศิลปะ เป็ นต้น ส่วนประกอบของหนังสือ ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ส่วนปกของหนังสือ 1. ปกหนังสือ ตามมาตรฐานแล้ว ส่วนของปกหนังสือจะมีความหนา มีหน้าที่ในการยึดหนังสือทั้งเล่มให้มีความคงทน แข็งแรง และแสดงรายละเอียดที่สาคัญของหนังสือ เช่น ชื่อหนังสือ, ชื่อผู้แต่ง, ปี ที่พิมพ์, สานักพิมพ์, อื่น ๆ 2. สันหนังสือ หนังสือแต่ละเล่มจะมีสันหนังสือที่หนาหรือบางเท่าใดก็ขึ้นอยู่กับจานวนหน้าของหนั งสือเล่มนั้น ส่วนมากจะนิยมพิมพ์ ชื่อหนังสือ และชื่อผู้เขียน ไว้เป็ นสาคัญ ส่วนที่ 2 ส่วนประกอบตอนต้นของหนังสือ 1. ปกใน ส่วนของปกในจะเป็ นส่วนที่มีรายละเอียดทางบรรณานุกรมของหนังสือครบถ้วนที่สุด ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง, ชื่อหนังสือ, ครั้งที่พิมพ์, สถานที่พิมพ์,สานักพิมพ์, ปี ที่พิมพ์
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า 2. หน้าลิขสิทธิ์ จะอยู่หน้าหลังของปกใน มีรายละเอียดดังนี้ ข้อความสงวนลิขสิทธิ์ตามพ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ ข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือ เลขมาตรฐานสากลประ จาหนังสือ ISBN 3. คานา มีรายละเอียดที่จะต้องอธิบายถึงวัตถุประสงค์ของหนังสือ รวมไปถึงตอนท้ายอาจกล่าวคาขอบคุณถึงผู้ที่มีส่วนช่วยด้านต่างๆของหนังสือเล่มนั้นได้ด้วย 4. บทนา มีรายละเอียดโดยย่อของหนังสือ เพื่อให้ผู้อ่าน มีความเข้าใจก่อนที่จะอ่านหนังสือเล่มนั้นๆ 5. หน้าสารบัญ มีการเรียบเรียงสารบัญ ให้ผู้อ่านสามารถค้นหาบทที่จะอ่านได้ 6.หน้าสารบัญภาพ สารบัญตาราง มีการเรียบเรียง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถค้นหารูปภาพ และตารางในหนังสือได้ ส่วนที่ 3 ส่วนของเนื้อเรื่อง เนื้ อหา ผู้เขียนจะเรียบเรียงหนังสือให้เนื้อหาแยกออกเป็ นบทๆเพื่อความสะดวกกับผู้อ่าน ส่วนที่ 4 ส่วนประกอบตอนท้าย 1. ภาคผนวก คือส่วนเสริมของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง สามารถนามาใส่ในภาคผนวก 2. อภิธานศัพท์ คือส่วนเสริมแปลศัพท์ในเนื้อเรื่อง ให้ผู้อ่านเข้าใจ 3. บรรณานุกรม คือส่วนรายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสารต่างๆที่ประกอบการเ รียบเรียงหนังสือนั้นๆ ตามลาดับตัวอักษร 4. ดรรชนี หรือบัญชีค้นคา จะแตกต่างกับสารบัญตรงที่นาหัวข้อย่อย หรือคาสาคัญ มาเรียบเรียงตามลาดับตัวอักษร หนังสือแต่ละเล่มที่ผลิตออกมานั้น ล้วนแล้วแต่มีส่วนประกอบต่างๆ ที่มากน้อย แตกต่างกันไป อาจไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ตามหลักวิชาการ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ ปัจจัยการผลิตหลายประการ ซึ่ ง ไ ม่ ถื อ ว่ า เ ป็ น สิ่ ง ผิ ด เ พ ร า ะ ไ ม่ มี ห นั ง สื อ เ ล่ ม ใ ด ใ น โ ล ก ที่มีส่วนประกอบครบถ้วนสมบูรณ์ทุกประการ วารสาร (Periodicals) หมายถึง สิ่งพิมพ์ชนิดหนึ่งที่พิมพ์ออกตามวาระหรือตามกาหนด เ ช่ น ร า ย สั ป ด า ห์ ร า ย ปั ก ษ์ รายเดือน รายสองเดือน รายสามเดือน รายหกเดือน เสนอเรื่องราวหลายรส หลายแบบ และ เสนอได้ทันต่อเหตุการณ์ เป็ นสิ่งพิมพ์ที่ควรแก่การอ่าน (รัญจวน อินทรกาแหง 2520 : 25 ) ประเภทของวารสาร 1. วารสารวิชาการ (5) เป็ นวารสารที่เน้นการนาเสนอบทความทางวิชาการและองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ วารสารประเภทนี้ ได้แก่ วารสารที่ออกโดยหน่ วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการศึกษา และวารสารที่ออกโดยหน่วยงานทางธุรกิจ 2. วารสารวิจารณ์หรือปริทัศน์ (6) เป็ นวารสารที่เน้ นการนาเสนอบทความเชิงวิจารณ์ วิเคราะห์ หรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องของการเมือง การปกครองวรรณกรรม ศิลปะ กีฬา ดนตรี ฯลฯ วารสารประเภทนี้ เช่น วารสารสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ วารสารมติชนสุดสัปดาห์ ฯลฯ 3. ว า ร ส า ร บั น เ ทิ ง ห รื อ นิ ต ย ส า ร (7) เป็ นวารสารที่เน้นการนาเสนอเรื่องราวทางด้านบันเทิงโดยอาจจะแทรกเรื่องราวทางวิชากา
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า ร เกร็ดความรู้ อาจแบ่งเป็ น นิ ตสารสาหรับผู้อ่านทั่วไปหรือผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม เช่น นิตยสารสาหรับสตรี บุรุษ หรือสาหรับเด็กและครอบครัว นิตยสารรถ นิตยสารการตกแต่งบ้าน นิ ต ย ส า รก า รท่ อ ง เ ที่ ย วนิ ต ย ส า รวง ก า รบัน เ ทิ ง ภ า พ ย น ต ร์ แ ล ะ โ ท รทัศ น์ อาจมีนวนิยายเรื่องสั้นหรือเรื่องแปลสอดแทรกอยู่ภายในเล่มก็ได้ ส่วนประกอบของวารสาร รูปแบบของวารสารนั้นมีหลากหลายขึ้นอยู่กับประเภทของวารสาร โดยทั่วไปส่วนประกอบที่สาคัญของวารสารมีดังต่อไปนี้ 1. ปก ปกของวารสารส่วนมากนั้นเป็ นปกอ่อน ข้อมูลสาคัญที่บันทึกไว้ในส่วนของปกวารสารได้แก่ ชื่อวารสาร ปี ที่ ฉบับที่ วัน/เดือน/ปี ที่ออกเผยแพร่ 2. หน้ าสารบัญ หน้ าสารบัญของวารสารอาจจะปรากฏในส่วนต่าง ๆ ได้ เช่น ปกหน้ าปกหลัง ด้านในปกหน้าหรือท้ายเล่ม แต่ส่วนมากมักจะพิมพ์ไว้ในหน้า ต่อจากปก เพื่อแจ้งให้ ผู้อ่าน ท ราบว่าภายในวารสารฉบับนั้น ๆ ประกอบด้วยบทความ ใดบ้าง พร้อมทั้งระบุเลขหน้ าที่มีข้อมูลเกี่ยวกับวารสารนั้น ๆ ด้วย เช่น ชื่อวารสารปี ที่ฉบับที่ วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่เลขมาตรฐานสากล ประจาวารสาร (International StandardSerials Number: ISSN) ราคาหรืออัตราค่าสมาชิกกาหนดเผยแพร่ เจ้าของ ผู้ผลิต หรือคณะผู้จัดทา พร้อมทั้งสถานที่สาหรับติดต่อ 3. บทบรรณาธิการ เป็ นบทความสั้น ๆ ที่ผู้รับผิดชอบในการผลิตวารสารนั้น ๆ เขียนขึ้น เพื่อสื่อสารสร้างความเข้าใจ กับผู้อ่าน อาจเกี่ยวกับการดาเนิ นจัดทาวารสารฉบับนั้ น เรื่องราวที่ลงตีพิมพ์หรือข้อคิดเห็น ของบรรณาธิการเกี่ยวกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ ซึ่ ง เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ผู้ อ่ า น ทาให้ทราบถึงแนวทางของเรื่องในวารสารหรือได้รับแนวคิดเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ 4. เ นื้ อ เ รื่ อ ง เ นื้ อ เ รื่ อ ง ใ น ว า ร ส า ร จ ะ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น บ ท ค ว า ม หรือบท ประพัน ธ์ ซึ่ งอาจจบใน ฉบับหรือต่อเนื่ องหลายฉบับก็ได้ ส่วน เนื้ อหาของ งานเขียนที่ตีพิมพ์นั้นจะสอดคล้องกับประเภทและ วัตถุประสงค์ ในการผลิตวารสาร นั้น ๆ เช่น วา รส า ร วิ ช า ก า ร ง า น เ ขี ย น ที่ ล ง ตี พิ ม พ์ จ ะ เ ป็ น บ ท ค วา ม ท า ง วิ ช า ก า ร วารสารทั่วไปหรือนิ ตยสารงานเขียน ที่ลงตีพิมพ์จะได้แก่ นวนิยาย เรื่องสั้น เรื่องเบ็ดเตล็ด เป็ นต้นบางเรื่องอาจมีภาพประกอบด้วย 5. โฆษณา สาหรับวารสารที่ผลิตเพื่อการค้านั้นจะมีโฆษณาสินค้าหรือบริการต่าง ๆ เป็ น ส่วน ป ระ กอบ สา คัญ ทั้ งนี้ เพรา ะ เป็ น รา ยได้ส่วน หนึ่ งของผู้ ผ ลิ ต วา รสาร ซึ่ ง โ ฆ ษ ณ า นั้ น อ า จ ก ร ะ จ า ย อ ยู่ ใ น ส่ ว น ต่ า ง ๆ ต ล อ ด เ ล่ ม ว า ร ส า ร วารสารบางชื่ออาจรวบไว้ตอนท้ายเล่ม ในกรณีที่เป็ นวารสารวิชาการของหน่วยงานราชการ รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ห รื อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ ส่วนมากไม่มีการโฆษณาเพราะได้รับงบประมาณอุดหนุนการผลิตวารสารจากหน่วยงาน ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ( Newspaper) ห ม า ย ถึ ง สิ่งพิมพ์ที่รายงานข้อเท็จจริงและเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้น ในแต่ละวัน รวมทั้งเนื้อหาสาระอื่น ๆ ที่น่าสนใจ ตลอดจนการโฆษณา มีวาระการวางจาหน่ายที่แน่นอน นิยมจาหน่ายเป็ นรายวัน ขนาดของหนังสือพิมพ์มี 2 ขนาด คือ ขนาดใหญ่หรือขนาดมาตรฐาน (Standard) ห รื อ ที่ เ รี ย ก ว่ า "บรอดชีท" (Broad Sheet) หรือ "Full Size" ซึ่งมีความกว้างยาวประมาณ 14 นิ้ ว คูณ23 นิ้ว หนังสือพิมพ์ที่มีขนาดนี้ เช่น หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, มติชน, เดลินิวส,์์ คมชัดลึก, เป็ นต้น
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ข น า ด เ ล็ ก ที่ เ รี ย ก ว่ า " ข น า ด แ ท ป ล อ ย ด์ " ( Tabloid) ซึ่ ง มี ค ว า ม ก ว้ า ง ย า ว ป ร ะ ม า ณ 11.5 คู ณ 14.5 นิ้ ว ห รื อ ป ระ ม า ณ ข น า ด ตัด ค รึ่ ง ข อ ง ข น า ด ม า ต รฐ า น นั่ น เ อ ง หนังสือพิมพ์ที่มีขนาดเล็กหรือแทปลอยด์ เช่น หนังสือพิมพ์ฉบับพิเศษของเดลินิวส์ ประเภทหนังสือพิมพ์ (Newspaper) แบ่งเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ 1 . ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ป ระ เ ภ ท ข่ า วทั่ วไป ( 8 ) ( General Newspaper) เช่ น ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ไ ท ย รัฐ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ เ ด ลิ นิ ว ส์ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ข่ า ว ส ด หนังสือพิมพ์แน วหน้ า และหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ซึ่ งเน้ นนาเสนอข่าวสารทั่ วๆไป มีเนื้อหาที่หลากหลาย (สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย : 2542) 2 . ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ป ร ะ เ ภ ท ข่ า ว ธุ ร กิ จ ( 9 ) ( Business Newspaper) จะเน้ นนาเสนอข่าวสารด้านเศรษฐกิจและการเมืองเป็ นหลัก เช่น หนังสือพิมพ์ธุ รกิจ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ผู้ จัด ก า ร รา ย วัน ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ป ระ ช า ช า ติ ธุ ร กิ จ เ ป็ น ต้ น (สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย : 2542) 3 . ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ป ระ เ ภ ท เ ฉพ า ะก ลุ่ ม ( 1 0 ) ( Specialied Newspaper) ห นั ง สื อ พิ ม พ์ แ น วนี้ จ ะ มุ่ ง เ น้ น น า เ ส น อ เ นื้ อ ห า เ ฉ พ า ะ ด้ า น ใ ด ด้ า น ห นึ่ ง มี กลุ่ ม ผู้ อ่า น เป้ า ห ม า ย จา เพา ะเจา ะ จง เช่ น ห นั งสือพิ ม พ์ แน วข่า วกี ฬ า เช่ น หนังสือพิมพ์สตาร์ซ็อกเกอร์ หนังสือพิมพ์สปอร์ตพูล เป็ นต้น ส่วนประกอบของหนังสือพิมพ์ มีดังต่อไปนี้ 1. พาดหัวข่าว (Headline) เป็ นการคัดเลือกข่าวที่สาคัญ และน่าสนใจที่สุดมาเรียบเรียงสรุปเป็ นสาระสาคัญสั้น ๆ พิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาดใหญ่ สะดุดตา เพื่อเรียกร้องความสนใจของผู้อ่าน และเพื่อประหยัดเวลาให้ผู้อ่าน สามารถเลือกอ่านข่าวได้ทุกข่าวโดยไม่เสียเวลามาก หนังสือพิมพ์ส่วนใหญ่จะพาดหัวข่าวเพียงหนึ่งหรือสองข่าว และมักไม่เกินสามข่าวโดยจัดพิมพ์ตัวอักษรให้มีขนาดลดหลั่นกันลงมาตามระดับความสาคัญข องข่าว 2. บทบรรณาธิการ หรือบทนา เขียนโดยบรรณาธิการจะเป็ นบทความ หรือบทวิจารณ์ ที่แสดงความคิดเห็นต่อการเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์ แต่ละฉบับ จึงเปรียบเหมือนนโยบาย หรือทิศทาง ของการเสนอข่าว ของหนังสือพิมพ์ฉบับนั้น ๆ 3. เนื้อข่าว (News) เป็ นรายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งข่าวต่าง ๆ ที่รายงานเหตุการณ์ หรือเรื่องราวที่น่าสนใจ ซึ่งข่าวมี 2 ประเภท คือ ข่าวแข็ง (Hard news) ได้แก่ข่าวที่มีสารประโยชน์ เช่นข่าวการศึกษา เศรษฐกิจการเมือง วัฒนธรรม การบริหารประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เป็ นต้น และข่าวอ่อน (Soft news) ได้แก่ ข่าวกีฬา อุบัติเหตุ อาชญากรรมบันเทิง และข่าวสังคม 4. สารคดี จะเป็ นเรื่องที่ให้ความรู้ เรื่องที่ให้สาระหรือเป็ นวิชาการ 5. บทความ เป็ นบทวิเคราะห์ วิจารณ์ข่าว ให้ความรู้และสาระในเรื่องราวต่าง ๆ
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ วิชา สารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า 6. คอลัมน์ประจา ผู้เขียนที่เรียกว่า คอลัมน์นิส เขียนแสดงความคิดเห็น หรือวิเคราะห์วิจารณ์ เกี่ยวกับเรื่องใด เรื่องหนึ่ง และตีพิมพ์เป็ นประจาในหนังสือพิมพ์ของแต่ละฉบับ 7. ภาพประกอบ เป็ นสิ่งสาคัญสาหรับหนังสือพิมพ์รายวันมากเพราะภาพประกอบจะทาให้ข่าวเกิดความน่าสนใจ และ ผู้อ่านมีความเข้าใจมากขึ้น 8. โฆษณา หนังสือพิมพ์รายวันจะได้รับค่าลงโฆษณาของบริษัท ห้างร้านต่าง ๆ และโฆษณาก็เป็ นสารนิเทศ อย่างหนึ่งด้วย ที่มา : ส่วนประกอบต่างๆ ของหนังสือ. (ม.ป.ป.) เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/334938 (วันที่ค้นข้อมูล : 6 พฤศจิกายน 2560). ส่วนประกอบต่างๆ ของหนังสือ. (ม.ป.ป.) เข้าถึงได้จาก : http://www.protexts.com/ส่วนประกอบของ หนังสือ. (วันที่ค้นข้อมูล : 10 พฤศจิกายน 2560). ประเภทวารสาร. (ม.ป.ป.) เข้าถึงได้จาก : http://thamonwantou.blogspot.com/2013/12/1.html (วันที่ค้นข้อมูล : 13 พฤศจิกายน 2560). ประเภทหนังสือพิมพ์. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : http://kanlayanee.ac.th/wbiprinting/WBI/wbi_7/Lesson/compos_2.htm. (วันที่ค้นข้อมูล : 13 พฤศจิกายน 2560).