SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน โรคโนโมโฟเบีย (Nomophobia)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวกนกพิชญ์ ไชยคาวัง เลขที่ 15 ชั้นมัธยมศึกษา 6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาวกนกพิชญ์ ไชยคาวัง เลขที่ 15 ม.6/7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคโนโมโฟเบีย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Nomophobia
ประเภทโครงงาน โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกนกพิชญ์ ไชยคาวัง
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ใน
ปัจจุบันนั้นคนส่วนใหญ่มีมือถือพกติดตัวกันทุกคน ถือว่าเป็นปัจจัยที่5 ของมนุษย์กันเลยทีเดียว บ้างก็ใช้
ติดต่อทางไกล ทางใกล้ บ้างก็ใช้ทางาน บ้างก็ใช้เพื่อความบันเทิง บ้างก็ใช้เพื่อค้นคว้าข้อมูล และบ้างก็
ธุรกิจ ซึ่งในทุก เวลาต้องก้มหน้าใช้มือถือเสมอ จนกลายเป็นการเสพติด ขาดไม่ได้ และนาไปสู่โรคที่ชื่อว่า
“โรคโนโมโฟเบีย” โนโมโฟเบีย (Nomophobia) มาจากคาว่า "no mobile phone phobia" เป็นศัพท์
ที่หน่วยงายวิจัยทาง การตลาดขนาดใหญ่ (YouGov) บัญญัติขึ้นเมื่อปี 2010 เพื่อใช้เรียกอาการที่เกิด
จากความหวาดกลัว วิตกกังวลเมื่อ ขาดโทรศัพท์มือถือเพื่อติดต่อสื่อสาร และอาการนี้กาลังถูกเสนอ
จัดเป็นโรคจิตเวชประเภทหนึ่งที่อยู่ในกลุ่มวิตกกังวล ทั้งนี้ ถ้าเราอยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ ไม่มี
สัญญาณอินเทอร์เน็ต หรืออยู่ๆ แบตเตอรี่โทรศัพท์กลับหมด แล้วเรา รู้สึกหงุดหงิด กระวนกระวาย
แสดงว่าเข้าข่ายอาการโนโมโฟเบีย ถ้าบางคนเป็นมากๆ อาจมีอาการเครียด ตัวสั่น เหงื่อออก คลื่นไส้
ซึ่งอาการจะหนักเบาขนาดไหนขึ้นอยู่กับแต่ละคน ผู้จัดทาจึงต้องการจะศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด
เกี่ยวกับโรคโนโมโฟเบีย แล้วนามาสารวจในกลุ่มนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่6/7 โรงเรียนยุพราช
วิทยาลัย
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคโนโมโฟเบีย
2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของคนที่เป็นโรคโนโมโฟเบีย
3. เพื่อศึกษาแนวทางการรักษาโรคโนโมโฟเบีย
4. เพื่อสารวจผู้ที่เป็นโรคโนโมโฟเบียในขอบเขตที่กาหนดไว้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
งานวิจัยที่เป็นที่มาของโรคนี้ได้ทาการศึกษาผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ 2,163 คนในสหราชอาณาจักร
และพบว่า 53% ของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือในสหราชอาณาจักรจะเกิดอาการวิตกกังวลเมื่อพบว่าโทรศัพท์
หาย แบตเตอรี่หมด หรือ อยู่ในสถานที่ที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ อีกทั้งยังพบว่า 58% ของผู้ชาย และ
47% ของผู้หญิงที่ใช้โทรศัพท์มือถือมี อาการของ nomophobia และในจานวนนี้มีถึง 9% ของกลุ่มที่
ศึกษา ระบุว่ารู้สึกเครียดมากถ้าโทรศัพท์ของตนเองใช้ การไม่ได้ และเมื่อให้ผู้ที่ถูกสัมภาษณ์ระบุถึงระดับ
ของ ความเครียดจากการขาดโทรศัพท์มือถือนั้น ความเครียดที่ เกิดขึ้นเทียบเท่ากับความเครียดที่เกิดขึ้น
ก่อนวันแต่งงานหรือความเครียดระดับเดียวกับการไปพบทันตแพทย์เลย ทีเดียว อีกการศึกษาหนึ่งที่ทา
ในนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพเพศชาย 547 คน พบว่า 23% มีพฤติกรรมอยู่ในเกณฑ์ ที่จะถูกวินิจฉัย
ได้ว่าเป็น nomophobia และมีอีก 64% ที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดอาการนี้ และที่น่าสนใจก็คือ 77%
ของเด็กในกลุ่มที่ถูกทาการวิจัยเช็คโทรศัพท์มือถือของตนเองบ่อยมากโดยเฉลี่ย 35 ครั้งต่อวันเลยทีเดียว
จากงานวิจัย ที่ทาพบว่า โนโมโฟเบียพบ มากที่สุดในกลุ่มคนในช่วงอายุ 18-24 ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 77
รองลงมาคือกลุ่มคน ในช่วงอายุ 25-34 ปี และกลุ่มที่มีอายุมากกว่า 55 ปีตามลาดับ การสารวจ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครัวเรือนไทยว่าในช่วงปี 2546-2549 ว่า การใช้โทรศัพท์มือถือ
ของคนไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ระหว่างปี 2546-2549 โดยในปี 2549
จานวนคนไทยใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้นจากปี 2546 เกือบเท่าตัว คือ จากประชากร 100 คน มี
โทรศัพท์มือถือ ใช้ 23 คนใน ปี 2546 เพิ่มขึ้นเป็น 42 คนในปี 2549 โดยกลุ่มวัยรุ่น มีสัดส่วนผู้ใช้
โทรศัพท์เพิ่มขึ้นประมาณเท่าตัว ซึ่งมากกว่าทุก กลุ่มอายุ วัยรุ่นไทยมีและใช้โทรศัพท์มือถือเป็นอันดับ 1
ของเอเชีย และทาสถิติพูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือนานถึง 1.7 ชั่วโมงต่อวัน
4
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ปรึกษาเลือกหัวข้อโครงงาน
2.นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
3.ศึกษารวบรวมข้อมูล
4.จัดทารายงาน
5.นาเสนอครู
6.ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และโทรศัพท์มือถือ
2.งานวิจัยที่ข้อง
3.แบบสารวจ
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1 คิดหัวข้อโครงงาน กนกพิชญ์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล กนกพิชญ์
3 จัดทาโครงร่างงาน กนกพิชญ์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน กนกพิชญ์
5 ปรับปรุงทดสอบ กนกพิชญ์
6 การทาเอกสารรายงาน กนกพิชญ์
7 ประเมินผลงาน กนกพิชญ์
8 นาเสนอโครงงาน กนกพิชญ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้ที่สนใจเรื่องโรคโนโมโฟเบียได้ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคนี้ และตัวผู้จัดท าได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับโรค
นี้เช่นกัน
5
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิชาเทคโนโลยีและสารสนเทศ
วิชาชีววิทยา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
-https://health.kapook.com/view87257.html
-http://theeraprawit.blogspot.com/2015/09/nomophobia.html

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
kooker
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
Oui Sudalak
 

What's hot (20)

2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
Sasawat
SasawatSasawat
Sasawat
 
11111
1111111111
11111
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เต้นะไอสาส
เต้นะไอสาสเต้นะไอสาส
เต้นะไอสาส
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -m
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
46 project 1
46 project 146 project 1
46 project 1
 
607_07
607_07607_07
607_07
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
608 23 projet
608 23 projet608 23 projet
608 23 projet
 
4k kk
4k kk4k kk
4k kk
 
2561 project computer
2561 project  computer2561 project  computer
2561 project computer
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
 

Similar to Project1

2559 project01
2559 project012559 project01
2559 project01
dewdrw
 

Similar to Project1 (20)

2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Acrophobia1
Acrophobia1Acrophobia1
Acrophobia1
 
Singular
SingularSingular
Singular
 
2562 final-project 0710
2562 final-project 07102562 final-project 0710
2562 final-project 0710
 
Singular
SingularSingular
Singular
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
้้้project01
้้้project01้้้project01
้้้project01
 
2559 project01
2559 project012559 project01
2559 project01
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2561 project 606.09
2561 project  606.092561 project  606.09
2561 project 606.09
 
Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603
 
2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค
 
Project11
Project11Project11
Project11
 
Baibai06
Baibai06Baibai06
Baibai06
 
2560 project 222
2560 project 2222560 project 222
2560 project 222
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
ภาคิน
ภาคิน ภาคิน
ภาคิน
 

More from jeerasak1210

More from jeerasak1210 (20)

2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
 
2561 project-ketsarin
2561 project-ketsarin2561 project-ketsarin
2561 project-ketsarin
 
2561 project tirapond-19
2561 project tirapond-192561 project tirapond-19
2561 project tirapond-19
 
2561 project 607-18
2561 project  607-182561 project  607-18
2561 project 607-18
 
48586project
48586project48586project
48586project
 
Info com-version-02-02
Info com-version-02-02Info com-version-02-02
Info com-version-02-02
 
Main point
Main pointMain point
Main point
 
1
11
1
 
Single gateway
Single gatewaySingle gateway
Single gateway
 
24
2424
24
 
Chakpurinut charoendechawong
Chakpurinut  charoendechawongChakpurinut  charoendechawong
Chakpurinut charoendechawong
 
Ketttt
KettttKetttt
Ketttt
 
Sinaporn pengkun
Sinaporn  pengkunSinaporn  pengkun
Sinaporn pengkun
 
Kannika upanno
Kannika upannoKannika upanno
Kannika upanno
 
Jeerasak
JeerasakJeerasak
Jeerasak
 
Kanokphit Chaikhamwang 6/7
Kanokphit Chaikhamwang 6/7Kanokphit Chaikhamwang 6/7
Kanokphit Chaikhamwang 6/7
 
Chakpurinut charoendechawong 67 no.25
Chakpurinut charoendechawong 67 no.25Chakpurinut charoendechawong 67 no.25
Chakpurinut charoendechawong 67 no.25
 
Thanjira borkham
Thanjira borkhamThanjira borkham
Thanjira borkham
 
Kanokphit Chaikhamwang
Kanokphit ChaikhamwangKanokphit Chaikhamwang
Kanokphit Chaikhamwang
 
Jeerasak
JeerasakJeerasak
Jeerasak
 

Project1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน โรคโนโมโฟเบีย (Nomophobia) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกนกพิชญ์ ไชยคาวัง เลขที่ 15 ชั้นมัธยมศึกษา 6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาวกนกพิชญ์ ไชยคาวัง เลขที่ 15 ม.6/7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคโนโมโฟเบีย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Nomophobia ประเภทโครงงาน โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกนกพิชญ์ ไชยคาวัง ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ใน ปัจจุบันนั้นคนส่วนใหญ่มีมือถือพกติดตัวกันทุกคน ถือว่าเป็นปัจจัยที่5 ของมนุษย์กันเลยทีเดียว บ้างก็ใช้ ติดต่อทางไกล ทางใกล้ บ้างก็ใช้ทางาน บ้างก็ใช้เพื่อความบันเทิง บ้างก็ใช้เพื่อค้นคว้าข้อมูล และบ้างก็ ธุรกิจ ซึ่งในทุก เวลาต้องก้มหน้าใช้มือถือเสมอ จนกลายเป็นการเสพติด ขาดไม่ได้ และนาไปสู่โรคที่ชื่อว่า “โรคโนโมโฟเบีย” โนโมโฟเบีย (Nomophobia) มาจากคาว่า "no mobile phone phobia" เป็นศัพท์ ที่หน่วยงายวิจัยทาง การตลาดขนาดใหญ่ (YouGov) บัญญัติขึ้นเมื่อปี 2010 เพื่อใช้เรียกอาการที่เกิด จากความหวาดกลัว วิตกกังวลเมื่อ ขาดโทรศัพท์มือถือเพื่อติดต่อสื่อสาร และอาการนี้กาลังถูกเสนอ จัดเป็นโรคจิตเวชประเภทหนึ่งที่อยู่ในกลุ่มวิตกกังวล ทั้งนี้ ถ้าเราอยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ ไม่มี สัญญาณอินเทอร์เน็ต หรืออยู่ๆ แบตเตอรี่โทรศัพท์กลับหมด แล้วเรา รู้สึกหงุดหงิด กระวนกระวาย แสดงว่าเข้าข่ายอาการโนโมโฟเบีย ถ้าบางคนเป็นมากๆ อาจมีอาการเครียด ตัวสั่น เหงื่อออก คลื่นไส้ ซึ่งอาการจะหนักเบาขนาดไหนขึ้นอยู่กับแต่ละคน ผู้จัดทาจึงต้องการจะศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด เกี่ยวกับโรคโนโมโฟเบีย แล้วนามาสารวจในกลุ่มนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่6/7 โรงเรียนยุพราช วิทยาลัย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคโนโมโฟเบีย 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของคนที่เป็นโรคโนโมโฟเบีย 3. เพื่อศึกษาแนวทางการรักษาโรคโนโมโฟเบีย 4. เพื่อสารวจผู้ที่เป็นโรคโนโมโฟเบียในขอบเขตที่กาหนดไว้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) งานวิจัยที่เป็นที่มาของโรคนี้ได้ทาการศึกษาผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ 2,163 คนในสหราชอาณาจักร และพบว่า 53% ของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือในสหราชอาณาจักรจะเกิดอาการวิตกกังวลเมื่อพบว่าโทรศัพท์ หาย แบตเตอรี่หมด หรือ อยู่ในสถานที่ที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ อีกทั้งยังพบว่า 58% ของผู้ชาย และ 47% ของผู้หญิงที่ใช้โทรศัพท์มือถือมี อาการของ nomophobia และในจานวนนี้มีถึง 9% ของกลุ่มที่ ศึกษา ระบุว่ารู้สึกเครียดมากถ้าโทรศัพท์ของตนเองใช้ การไม่ได้ และเมื่อให้ผู้ที่ถูกสัมภาษณ์ระบุถึงระดับ ของ ความเครียดจากการขาดโทรศัพท์มือถือนั้น ความเครียดที่ เกิดขึ้นเทียบเท่ากับความเครียดที่เกิดขึ้น ก่อนวันแต่งงานหรือความเครียดระดับเดียวกับการไปพบทันตแพทย์เลย ทีเดียว อีกการศึกษาหนึ่งที่ทา ในนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพเพศชาย 547 คน พบว่า 23% มีพฤติกรรมอยู่ในเกณฑ์ ที่จะถูกวินิจฉัย ได้ว่าเป็น nomophobia และมีอีก 64% ที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดอาการนี้ และที่น่าสนใจก็คือ 77% ของเด็กในกลุ่มที่ถูกทาการวิจัยเช็คโทรศัพท์มือถือของตนเองบ่อยมากโดยเฉลี่ย 35 ครั้งต่อวันเลยทีเดียว จากงานวิจัย ที่ทาพบว่า โนโมโฟเบียพบ มากที่สุดในกลุ่มคนในช่วงอายุ 18-24 ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 77 รองลงมาคือกลุ่มคน ในช่วงอายุ 25-34 ปี และกลุ่มที่มีอายุมากกว่า 55 ปีตามลาดับ การสารวจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครัวเรือนไทยว่าในช่วงปี 2546-2549 ว่า การใช้โทรศัพท์มือถือ ของคนไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ระหว่างปี 2546-2549 โดยในปี 2549 จานวนคนไทยใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้นจากปี 2546 เกือบเท่าตัว คือ จากประชากร 100 คน มี โทรศัพท์มือถือ ใช้ 23 คนใน ปี 2546 เพิ่มขึ้นเป็น 42 คนในปี 2549 โดยกลุ่มวัยรุ่น มีสัดส่วนผู้ใช้ โทรศัพท์เพิ่มขึ้นประมาณเท่าตัว ซึ่งมากกว่าทุก กลุ่มอายุ วัยรุ่นไทยมีและใช้โทรศัพท์มือถือเป็นอันดับ 1 ของเอเชีย และทาสถิติพูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือนานถึง 1.7 ชั่วโมงต่อวัน
  • 4. 4 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ปรึกษาเลือกหัวข้อโครงงาน 2.นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน 3.ศึกษารวบรวมข้อมูล 4.จัดทารายงาน 5.นาเสนอครู 6.ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และโทรศัพท์มือถือ 2.งานวิจัยที่ข้อง 3.แบบสารวจ งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 คิดหัวข้อโครงงาน กนกพิชญ์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล กนกพิชญ์ 3 จัดทาโครงร่างงาน กนกพิชญ์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน กนกพิชญ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ กนกพิชญ์ 6 การทาเอกสารรายงาน กนกพิชญ์ 7 ประเมินผลงาน กนกพิชญ์ 8 นาเสนอโครงงาน กนกพิชญ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้ที่สนใจเรื่องโรคโนโมโฟเบียได้ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคนี้ และตัวผู้จัดท าได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับโรค นี้เช่นกัน