SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้
เรื่อง งานและพลังงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ งานและพลังงาน เรื่อง งาน
...............................................................................................
..................................................
งาน คือ การออกแรงกระทาต่อวัตถุ
และวัตถุที่ถูกกระทามีการเคลื่อนที่ไปตามทิศของแรง มีหน่วยเป็นจูล
พลังงาน คือ ความสามารถทางานได้
สิ่งใดที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีการเคลื่อนที่ สิ่งนั้นย่อมมีพลังงาน
พลังงานมีหลายรูปแบบ ได้แก่พลังงานความร้อน พลังงานแสง
พลังงานเสียง พลังงานกล พลังงานไฟฟ้ า พลังงานเคมี เป็นต้น
พลังงานมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
และมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์มาตั้งแต่โบราณ
จนกระทั่งปัจจุบันมนุษย์ได้ใช้พลังงานต่างๆ
ทากิจกรรมในการดารงชีวิตและใช้อานวยความสะดวกได้มากขึ้น
พลังงานกล แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่เกิดกับวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น
น้าไหล คนเดิน รถกาลังแล่น นกกาลังบิน เป็นต้น
วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
จะมีพลังงานจลน์มากกว่าวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่า
แต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันวัตถุที่มีมวลมากกว่า
จะมีพลังงานจลน์มากกว่า
2. พลังงานศักย์ คือ
พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุเนื่องมาจากตาแหน่งของวัตถุ แบ่งเป็น
2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง
เป็นพลังงานที่มีอยู่ในวัตถุซึ่งอยู่ในที่สูง
เกิดขึ้นเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทาต่อวัตถุ
วัตถุที่อยู่บนพื้นดินถือว่าไม่มีพลังงานศักย์โน้มถ่วง
แต่วัตถุที่อยู่สูงจากพื้นดิน มีพลังงานศักย์โน้มถ่วง
และถ้าวัตถุอยู่สูงจากพื้นดินมากเท่าใด ก็จะมีพลังงานศักย์
โน้มถ่วงมากขึ้นตามไปด้วย
2.1 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
เป็นพลังงานศักย์ที่มีอยู่ในวัตถุที่ยืดหยุ่นได้โดยเฉพาะสปริง
สปริงที่อยู่ในสภาพปกติคือไม่ถูกยืดหรือหด จะถือว่า
ไม่มีพลังงานศักย์ยืดหยุ่น แต่ถ้าเรายืดสปริง
หรือกดสปริงเข้าไปในขณะที่สปริงถูกยืดหรือถูกกดให้หดนั้น สปริงจะมี
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
พลังงานทั้งสองประเภทอาจอยู่ในรูปของพลังงานต่าง ๆ ดังนี้
1. พลังงานเคมี
เป็นพลังงานศักย์ที่แฝงหรือสะสมอยู่ในโครงสร้างของสสาร
เช่น
พลังงานเคมีที่อยู่ในน้ามันเชื้อเพลิง ถ่านหิน แก๊ซธรรมชาติ ในฟื น
ในถ่านไม้
เมื่อถูกเผาไหม้ก็จะปล่อยพลังงานเคมีออกมาในรูปของพลังงานความร้อน
พลังงานแสง หรือพลังงานกล
2. พลังงานไฟฟ้ า
เป็นพลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเลกตรอนไปตามวัตถุ
ที่
เป็นตัวนาไฟฟ้ า ดังนั้นพลังงานไฟฟ้ าจึงเป็นพลังงานจลน์
พลังงานไฟฟ้ าสามารถเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานความร้อน พลังงานแสง
พลังงานกล และอื่น ๆ
3. พลังงานกล เป็นพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
โดยตรงของวัตถุต่างๆ
ถ้าวัตถุอยู่นิ่งจะมีพลังงานศักย์ แต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จะมีพลังงานจลน์
4. พลังงานแผ่รังสี เป็นพลังงานที่อยู่ในรูปของคลื่น เช่น แสง
เสียง ความร้อน
คลื่นวิทยุ และรังสีต่าง ๆ ซึ่งเป็นพลังงานจลน์
5. พลังงานนิวเคลียร์
เป็นพลังงานที่ถูกปล่อยออกจากสารกัมมันตรังสีที่มีอยู่ตาม
ธรรมชาติหรือจากเตาปฏิกรณ์ปรมาณู หรือระเบิดนิวเคลียร์
งาน (Work , W) ความหมายโดยทั่วไป
เป็นการกระทากิจกรรมหรือสิ่งใด ๆ เพื่อที่จะได้รับซึ่งผลตอบแทน เช่น
การรดน้าต้นไม้การเล่นฟุตบอล การวาดภาพ การล้างรถการล้างจาน
ความหมายของงานทางวิทยาศาสตร์ เป็นผลจากการกระทาของแ
รงต่อวัตถุอย่างต่อเนื่องและทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงกระทา
แรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวราบแสดงว่าเกิดงา
น ถ้าเราออกแรงกระทาต่อวัตถุแล้ววัตถุไม่เคลื่อนที่ แสดงว่าไม่เกิดงาน
ดังนั้นการเกิดงานจะต้องมีแรงกระทาและระยะทางการเคลื่อนที่เ
กี่ยวข้องเสมอเช่น การออกแรงดันตู้เสื้อผ้าจากกลางห้องเลื่อนไปติดผนัง
แต่ถ้าออกแรงดันแล้วตู้ไม่ขยับหรือเคลื่อนที่จากเดิมถือว่า
ไม่เกิดงาน
ปริมาณของงานขึ้นอยู่กับ
1. ขนาดของแรงที่ใช้
2. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแนวแรง
3. ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวแรง
เราสามารถหาขนาดของงานได้จากผลคูณระหว่างขนาดของแรงกับการก
ระจัดตามแนวแรงนั้น เขียนเป็นสมการจะได้
W = Fs
เมื่อ F คือ ขนาดของแรงที่ทาให้เกิดงาน มีหน่วยเป็น
นิวตัน (N)
s คือ ระยะกระจัด มีหน่วยเป็น เมตร(m)
W คือ งาน มีหน่วยเป็น นิวตันเมตร
(N m)หรือจูล (J)
เช่น การออกแรงยกกล่องให้สูงขึ้น
ทิศทางการเคลื่อนที่ของกล่องมีทิศทางเดียวกับแนวแรง
การกระทาเช่นนี้เป็นการทาให้เกิดงานทางวิทยาศาสตร์
หมายเหตุ
ถ้าทิศของแรงมีทิศเดียวกับทิศของระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่
ต้องแทนค่าแรง (F) เป็นบวก
ถ้าทิศของแรงมีทิศตรงกันข้ามกับทิศของระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ต้องแท
นค่าแรง (F) เป็นลบ
หน่วยของงานในระบบเอสไอ คือ จูล (J) หรือนิวตัน-เมตร (N-
m) โดยที่ 1 จูลของงานที่ทาเกิดจากการออกแรง 1
นิวตันกระทาต่อวัตถุให้วัตถุเคลื่อนที่ไปได้1 เมตร
ตามทิศทางของแนวแรง
จากรูป งานขนาด 1 จูลที่ทาได้เมื่อยกกล่องหนัก 1
นิวตันขึ้นไปในแนวดิ่งเป็นระยะทางสูง 1 เมตร
ซึ่งเราอาจใช้หน่วยของงานที่ใหญ่กว่าจูล เช่น กิโลจูล (kJ)เมกะจูล (MJ)
เป็นต้น
เมื่อ
1 kJ = 1,000 J
1 MJ = 1,000,000 J
ตัวอย่างวินัยออกแรงยกกล่องด้วยแรง 30 นิวตัน แล้วเดินขึ้นบันได5
ขั้น แต่ละขั้นสูง 20 เซนติเมตร
งานที่วินัยทาจากการยกกล่องขึ้นบันไดมีค่าเท่าใด
วิธีทา จากโจทย์ความสูงของขั้นบันใด= 5 x 20
= 100 cm
= 1 m
จากสูตร W = F x s
= 30 n x 1 m
= 30 J (n-m)
ตอบ วินัยทางานจากการลากกล่องได้30 จูล
กรณีแรง F
กระทาต่อวัตถุในแนวทามุมกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุแล้ว
ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะกระจัด S
แรง F ไม่ได้อยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่กล่าวคือแรง F
อยู่ในแนวเอียงแต่การเคลื่อนที่อยู่ในแนวราบ
ซึ่งจะคานวณหางานจากสูตร W=Fsไม่ได้ดังนั้น
จึงต้องพิจารณาโดยการแตกแรงคือแตกแรงเป็นแรงองค์ประกอบในแนว
ราบ และแนวดิ่ง
แรงที่อยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่คือแรง
Fcosซึ่งอยู่ในแนวราบ
และวัตถุก็เคลื่อนที่ในแนวราบจึงถือได้ว่าอยู่ในแนวเดียวกัน
เพราะฉะนั้นสามารถคานวณหางานได้จาก
งาน (W) = แรง (Fcos ) x ระยะ (S) ; คือมุมที่แรงทากับแนวระนาบ
ตัวอย่าง จงหางานที่เกิดขึ้น เมื่อสมปองออกแรง 200 นิวตัน
ลากกระสอบข้าวสาร เคลื่อนที่เป็นระยะทาง
20 เมตร
ก. ทามุม 0 องศากับพื้นราบ
ข. ทามุม 60 องศากับพื้นราบ
วิธีทา ก. เมื่อทามุม 0 องศากับพื้นราบ
จาก สูตร W = s cos
เมื่อ = 200 N
s = 20 m
cos 0 ํ = 1
แทนค่า W = 200 n x 20
m
= 4,000 J(n-
m)
งานที่เกิดขึ้น 4,000 จูล หรือ 4 กิโลจูล
ข. เมื่อทามุม 60 องศากับพื้นราบ
จาก สูตร W = s
cos
เมื่อ = 200 N
s = 20 m
cos 60 ํ = 0.5
แทนค่า W = 200 x 20 x
0.5
= 2,000 J
งานที่เกิดขึ้น 2,000 จูล

More Related Content

What's hot

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Thepsatri Rajabhat University
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
Preeyapat Lengrabam
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
Thanuphong Ngoapm
 
ตัวแปร
ตัวแปร ตัวแปร
ตัวแปร
Por Oraya
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
oraneehussem
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapkrupornpana55
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
KruPa Jggdd
 

What's hot (20)

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
 
ตัวแปร
ตัวแปร ตัวแปร
ตัวแปร
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind map
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 

More from Kankamol Kunrat

ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
Kankamol Kunrat
 
Science.m.6.2
Science.m.6.2Science.m.6.2
Science.m.6.2
Kankamol Kunrat
 
Science.m.6.1
Science.m.6.1Science.m.6.1
Science.m.6.1
Kankamol Kunrat
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
Kankamol Kunrat
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
Kankamol Kunrat
 
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
Kankamol Kunrat
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
Kankamol Kunrat
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
Kankamol Kunrat
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
Kankamol Kunrat
 
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
Kankamol Kunrat
 

More from Kankamol Kunrat (10)

ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวันใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ พลังงานในชีวิตประจำวัน
 
Science.m.6.2
Science.m.6.2Science.m.6.2
Science.m.6.2
 
Science.m.6.1
Science.m.6.1Science.m.6.1
Science.m.6.1
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
การรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของน้ำในสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 

Recently uploaded (6)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 

ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง งานและพลังงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ งานและพลังงาน เรื่อง งาน ............................................................................................... .................................................. งาน คือ การออกแรงกระทาต่อวัตถุ และวัตถุที่ถูกกระทามีการเคลื่อนที่ไปตามทิศของแรง มีหน่วยเป็นจูล พลังงาน คือ ความสามารถทางานได้ สิ่งใดที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีการเคลื่อนที่ สิ่งนั้นย่อมมีพลังงาน พลังงานมีหลายรูปแบบ ได้แก่พลังงานความร้อน พลังงานแสง พลังงานเสียง พลังงานกล พลังงานไฟฟ้ า พลังงานเคมี เป็นต้น พลังงานมีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด และมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์มาตั้งแต่โบราณ จนกระทั่งปัจจุบันมนุษย์ได้ใช้พลังงานต่างๆ ทากิจกรรมในการดารงชีวิตและใช้อานวยความสะดวกได้มากขึ้น พลังงานกล แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. พลังงานจลน์ คือ พลังงานที่เกิดกับวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น น้าไหล คนเดิน รถกาลังแล่น นกกาลังบิน เป็นต้น วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง จะมีพลังงานจลน์มากกว่าวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่า แต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันวัตถุที่มีมวลมากกว่า จะมีพลังงานจลน์มากกว่า 2. พลังงานศักย์ คือ พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุเนื่องมาจากตาแหน่งของวัตถุ แบ่งเป็น 2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง เป็นพลังงานที่มีอยู่ในวัตถุซึ่งอยู่ในที่สูง เกิดขึ้นเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทาต่อวัตถุ วัตถุที่อยู่บนพื้นดินถือว่าไม่มีพลังงานศักย์โน้มถ่วง แต่วัตถุที่อยู่สูงจากพื้นดิน มีพลังงานศักย์โน้มถ่วง และถ้าวัตถุอยู่สูงจากพื้นดินมากเท่าใด ก็จะมีพลังงานศักย์ โน้มถ่วงมากขึ้นตามไปด้วย 2.1 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น เป็นพลังงานศักย์ที่มีอยู่ในวัตถุที่ยืดหยุ่นได้โดยเฉพาะสปริง สปริงที่อยู่ในสภาพปกติคือไม่ถูกยืดหรือหด จะถือว่า ไม่มีพลังงานศักย์ยืดหยุ่น แต่ถ้าเรายืดสปริง หรือกดสปริงเข้าไปในขณะที่สปริงถูกยืดหรือถูกกดให้หดนั้น สปริงจะมี พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
  • 2. พลังงานทั้งสองประเภทอาจอยู่ในรูปของพลังงานต่าง ๆ ดังนี้ 1. พลังงานเคมี เป็นพลังงานศักย์ที่แฝงหรือสะสมอยู่ในโครงสร้างของสสาร เช่น พลังงานเคมีที่อยู่ในน้ามันเชื้อเพลิง ถ่านหิน แก๊ซธรรมชาติ ในฟื น ในถ่านไม้ เมื่อถูกเผาไหม้ก็จะปล่อยพลังงานเคมีออกมาในรูปของพลังงานความร้อน พลังงานแสง หรือพลังงานกล 2. พลังงานไฟฟ้ า เป็นพลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเลกตรอนไปตามวัตถุ ที่ เป็นตัวนาไฟฟ้ า ดังนั้นพลังงานไฟฟ้ าจึงเป็นพลังงานจลน์ พลังงานไฟฟ้ าสามารถเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานความร้อน พลังงานแสง พลังงานกล และอื่น ๆ 3. พลังงานกล เป็นพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ โดยตรงของวัตถุต่างๆ ถ้าวัตถุอยู่นิ่งจะมีพลังงานศักย์ แต่ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จะมีพลังงานจลน์ 4. พลังงานแผ่รังสี เป็นพลังงานที่อยู่ในรูปของคลื่น เช่น แสง เสียง ความร้อน คลื่นวิทยุ และรังสีต่าง ๆ ซึ่งเป็นพลังงานจลน์ 5. พลังงานนิวเคลียร์ เป็นพลังงานที่ถูกปล่อยออกจากสารกัมมันตรังสีที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติหรือจากเตาปฏิกรณ์ปรมาณู หรือระเบิดนิวเคลียร์ งาน (Work , W) ความหมายโดยทั่วไป เป็นการกระทากิจกรรมหรือสิ่งใด ๆ เพื่อที่จะได้รับซึ่งผลตอบแทน เช่น การรดน้าต้นไม้การเล่นฟุตบอล การวาดภาพ การล้างรถการล้างจาน ความหมายของงานทางวิทยาศาสตร์ เป็นผลจากการกระทาของแ รงต่อวัตถุอย่างต่อเนื่องและทาให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงกระทา แรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวราบแสดงว่าเกิดงา น ถ้าเราออกแรงกระทาต่อวัตถุแล้ววัตถุไม่เคลื่อนที่ แสดงว่าไม่เกิดงาน ดังนั้นการเกิดงานจะต้องมีแรงกระทาและระยะทางการเคลื่อนที่เ กี่ยวข้องเสมอเช่น การออกแรงดันตู้เสื้อผ้าจากกลางห้องเลื่อนไปติดผนัง แต่ถ้าออกแรงดันแล้วตู้ไม่ขยับหรือเคลื่อนที่จากเดิมถือว่า ไม่เกิดงาน ปริมาณของงานขึ้นอยู่กับ 1. ขนาดของแรงที่ใช้ 2. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปตามทิศทางของแนวแรง 3. ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุตามแนวแรง
  • 3. เราสามารถหาขนาดของงานได้จากผลคูณระหว่างขนาดของแรงกับการก ระจัดตามแนวแรงนั้น เขียนเป็นสมการจะได้ W = Fs เมื่อ F คือ ขนาดของแรงที่ทาให้เกิดงาน มีหน่วยเป็น นิวตัน (N) s คือ ระยะกระจัด มีหน่วยเป็น เมตร(m) W คือ งาน มีหน่วยเป็น นิวตันเมตร (N m)หรือจูล (J) เช่น การออกแรงยกกล่องให้สูงขึ้น ทิศทางการเคลื่อนที่ของกล่องมีทิศทางเดียวกับแนวแรง การกระทาเช่นนี้เป็นการทาให้เกิดงานทางวิทยาศาสตร์ หมายเหตุ ถ้าทิศของแรงมีทิศเดียวกับทิศของระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ ต้องแทนค่าแรง (F) เป็นบวก ถ้าทิศของแรงมีทิศตรงกันข้ามกับทิศของระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ต้องแท นค่าแรง (F) เป็นลบ หน่วยของงานในระบบเอสไอ คือ จูล (J) หรือนิวตัน-เมตร (N- m) โดยที่ 1 จูลของงานที่ทาเกิดจากการออกแรง 1 นิวตันกระทาต่อวัตถุให้วัตถุเคลื่อนที่ไปได้1 เมตร ตามทิศทางของแนวแรง
  • 4. จากรูป งานขนาด 1 จูลที่ทาได้เมื่อยกกล่องหนัก 1 นิวตันขึ้นไปในแนวดิ่งเป็นระยะทางสูง 1 เมตร ซึ่งเราอาจใช้หน่วยของงานที่ใหญ่กว่าจูล เช่น กิโลจูล (kJ)เมกะจูล (MJ) เป็นต้น เมื่อ 1 kJ = 1,000 J 1 MJ = 1,000,000 J ตัวอย่างวินัยออกแรงยกกล่องด้วยแรง 30 นิวตัน แล้วเดินขึ้นบันได5 ขั้น แต่ละขั้นสูง 20 เซนติเมตร งานที่วินัยทาจากการยกกล่องขึ้นบันไดมีค่าเท่าใด วิธีทา จากโจทย์ความสูงของขั้นบันใด= 5 x 20 = 100 cm = 1 m จากสูตร W = F x s = 30 n x 1 m = 30 J (n-m) ตอบ วินัยทางานจากการลากกล่องได้30 จูล กรณีแรง F กระทาต่อวัตถุในแนวทามุมกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุแล้ว ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะกระจัด S
  • 5. แรง F ไม่ได้อยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่กล่าวคือแรง F อยู่ในแนวเอียงแต่การเคลื่อนที่อยู่ในแนวราบ ซึ่งจะคานวณหางานจากสูตร W=Fsไม่ได้ดังนั้น จึงต้องพิจารณาโดยการแตกแรงคือแตกแรงเป็นแรงองค์ประกอบในแนว ราบ และแนวดิ่ง แรงที่อยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่คือแรง Fcosซึ่งอยู่ในแนวราบ และวัตถุก็เคลื่อนที่ในแนวราบจึงถือได้ว่าอยู่ในแนวเดียวกัน เพราะฉะนั้นสามารถคานวณหางานได้จาก งาน (W) = แรง (Fcos ) x ระยะ (S) ; คือมุมที่แรงทากับแนวระนาบ ตัวอย่าง จงหางานที่เกิดขึ้น เมื่อสมปองออกแรง 200 นิวตัน ลากกระสอบข้าวสาร เคลื่อนที่เป็นระยะทาง 20 เมตร ก. ทามุม 0 องศากับพื้นราบ ข. ทามุม 60 องศากับพื้นราบ วิธีทา ก. เมื่อทามุม 0 องศากับพื้นราบ จาก สูตร W = s cos เมื่อ = 200 N s = 20 m cos 0 ํ = 1 แทนค่า W = 200 n x 20 m = 4,000 J(n- m) งานที่เกิดขึ้น 4,000 จูล หรือ 4 กิโลจูล
  • 6. ข. เมื่อทามุม 60 องศากับพื้นราบ จาก สูตร W = s cos เมื่อ = 200 N s = 20 m cos 60 ํ = 0.5 แทนค่า W = 200 x 20 x 0.5 = 2,000 J งานที่เกิดขึ้น 2,000 จูล