SlideShare a Scribd company logo
1 of 102
คูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบ
มิติใหมคณิตศาสตรในยุคการศึกษา
นางสาววิรมณ ป#$นงาม
โรงเรียนสตรีอางทอง จังหวัดอางทอง
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต
คูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบ
มิติใหมคณิตศาสตรในยุคการศึกษา
นางสาววิรมณ ป#$นงาม
โรงเรียนสตรีอางทอง จังหวัดอางทอง
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5
คูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบ
มิติใหมคณิตศาสตรในยุคการศึกษา 4.0
1
แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3
หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง
แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ
เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 1) เวลา 3 ชั่วโมง
_______________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
อสมการ เปนประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธของจํานวนโดยมีสัญลักษณ < , > , ≤ , ≥ หรือ
≠ แสดงความสัมพันธ
สัญลักษณที่ใช*ในอสมการมี 5 แบบ ดังนี้
< แทนความสัมพันธ น*อยกว.า หรือไม.ถึง
เช.น ba < หมายความว.า a น*อยกว.า b (a มีค.าไม.ถึง b)
> แทนความสัมพันธ มากกว.า หรือเกิน
เช.น ba > หมายความว.า a มากกว.า b (a มีค.าเกิน b)
≤ แทนความสัมพันธ น*อยกว.าหรือเท.ากับ หรือไม.เกิน
เช.น ba ≤ หมายความว.า a น*อยกว.า bหรือ a เท.ากับb
(a มีค.าไม.เกิน b)
≥ แทนความสัมพันธ มากกว.าหรือเท.ากับ หรือไม.น*อยกว.า
เช.น ba ≥ หมายความว.า a มากกว.า bหรือ a เท.ากับ b
(a มีค.าไม.น*อยกว.า b)
≠ แทนความสัมพันธ ไม.เท.ากับ
เช.น ba ≠ หมายความว.า a ไม.เท.ากับ b
ประโยคสัญลักษณจะประกอบด*วย 2 ส.วน ได*แก. 1) ส.วนที่กล.าวถึงจํานวน และ 2) ส.วนที่แสดง
ความสัมพันธระหว.างจํานวน มีรายละเอียดดังนี้
1) ส.วนที่กล.าวถึงจํานวน ในประโยคภาษาอาจมีส.วนนี้ได*มากกว.า 1 แห.ง ถ*ามีปริมาณที่ไม.ได*ระบุ
ให*เปนค.าคงที่ให*แทนจํานวนนั้นด*วยตัวแปร และเขียนให*อยู.ในรูปการดําเนินการของจํานวนกับจํานวน
หรือจํานวนกับตัวแปรด*วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร
2) ส.วนที่แสดงความสัมพันธระหว.างจํานวนเปนส.วนที่ใช*สัญลักษณ < , > , ≤ , ≥ หรือ ≠
แทนความสัมพันธส.วนที่กล.าวถึงจํานวน
2
2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.3/1 ใช*ความรู*เกี่ยวกับอสมการเชิงเส*นตัวแปรเดียวในการแก*ป>ญหา
พร*อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ค 6.1 ม.3/3 ใช*เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได*เหมาะสม
ค 6.1 ม.3/4 ใช*ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรู*ต.างๆ ในคณิตศาสตรและนําความรู* หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร ไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ
3. จุดประสงค#การเรียนรู
ดานความรู (K)
นักเรียนสามารถ
1) ระบุได*ว.าประโยคสัญลักษณทางคณิตศาสตรที่กําหนดให*เปนหรือไม.เปนอสมการ
เชิงเส*นตัวแปรเดียว
2) เขียนสัญลักษณแทนคําที่แสดงความสัมพันธของอสมการได*อย.างถูกต*อง
3) เขียนประโยคสัญลักษณทางคณิตศาสตรแทนประโยคภาษาที่กําหนดได*
ดานทักษะกระบวนการ (P)
1) การให*เหตุผล
2) การแก*ป>ญหา
3) การเชื่อมโยง
ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A)
1) ใฝCเรียนรู*
2) มุ.งมั่นในการทํางาน
4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการแก*ป>ญหา
3
5. สาระการเรียนรู
1) ความหมายของอสมการเชิงเส*นตัวแปรเดียว
2) การเขียนประโยคสัญลักษณแทนประโยคภาษา
6. กระบวนการเรียนรู
1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน
1.1) ครูจัดกลุ.มนักเรียนแบบคละความสามารถกลุ.มละ 4 คน ประกอบไปด*วยนักเรียนที่เรียนเก.ง
1 คน ปานกลาง 2 คน และอ.อน 1 คน (ตามที่ครูได*แบ.งไว*ในชั่วโมงที่ 1)
1.2) ครูทบทวนวิธีการเรียนรู*ตามแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู*แบบร.วมมือเทคนิค TAI (Team
Assisted Individualization) และชี้แจงจุดประสงคในการเรียนให*นักเรียนทราบ
1.3) นักเรียนทําแบบทดสอบก.อนเรียน (pre-test) เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ
เชิงเส*นตัวแปรเดียว ในแบบฝVกทักษะคณิตศาสตร เรื่อง อสมการ เล.มที่ 1 ความหมายและคําตอบของ
อสมการเชิงเส*นตัวแปรเดียว (หน*า 1-3) โดยใช*เวลา 10 นาที
2) ขั้นนําเสนอบทเรียน
2.1) ครูขออาสาสมัครนักเรียนออกมาหน*าชั้น จํานวน 4 คน ครูให*นักเรียนยืนเรียงแถวหน*า
กระดาน แล*วให*เพื่อนช.วยกันเปรียบเทียบความสูงของนักเรียนทั้ง 4 คน ครูใช*คําถามนําให*นักเรียนตอบว.า
มากกว.า น*อยกว.า หรือเท.ากัน แล*วให*นักเรียนเชื่อมโยงกับสัญลักษณทางคณิตศาสตร
2.2) ครูยกตัวอย.างสมการและอสมการ โดยเน*นที่สัญลักษณ ให*นักเรียนช.วยกันค*นหาข*อมูลใน
เว็ปไซตต.างๆ แล*วร.วมกันอภิปรายว.ามีคําแสดงความสัมพันธใดที่ตรงกับสัญลักษณของอสมการบ*าง
3) ขั้นการเขากลุม
3.1) นักเรียนในแต.ละกลุ.มจับคู.กันตามที่ครูกําหนดให* เพื่อช.วยเหลือซึ่งกันและกันในการทํา
กิจกรรม นักเรียนศึกษาใบความรู*ที่ 1 , 2 และทําแบบฝVกทักษะที่ 1.1 , 1.2 , 2.1 และ 2.2 ตามลําดับ
ในแบบฝVกทักษะคณิตศาสตร เรื่อง อสมการ เล.มที่ 1 ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเส*นตัวแปร
เดียว (หน*า 4 -17) เปนรายบุคคล โดยครูจะเดินสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู*ของนักเรียนให*ความช.วยเหลือ
เมื่อนักเรียนต*องการ รวมถึงคอยกระตุ*นให*นักเรียนแสดงบทบาทหน*าที่ของตนเองอย.างเต็มศักยภาพ
ตามรูปแบบการเรียนรู*แบบร.วมมือเทคนิค TAI (Team Assisted Individualization)
4
3.2) เมื่อนักเรียนทําแบบฝVกทักษะแต.ละชุดเสร็จแล*ว ให*นักเรียนแต.ละคู.ช.วยกันตรวจสอบ
ความถูกต*องจากเฉลยในภาคผนวกของแบบฝVกทักษะ หากมีเพื่อนในกลุ.มไม.เข*าใจ หรือทําแบบฝVกทักษะ
คะแนนไม.ผ.านเกณฑ 75% ให*สมาชิกช.วยกันอธิบายจนเพื่อนทําแบบฝVกทักษะซ้ําผ.านเกณฑ จึงทําแบบฝVก
ทักษะชุดต.อไปได* แล*วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน
4) ขั้นการสรุปบทเรียน/ทดสอบเนื้อหายอย
ครูและนักเรียนร.วมกันสรุปบทเรียน โดยครูใช*การถาม-ตอบ จนเกิดข*อสรุป ดังนี้
อสมการ เปนประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธของจํานวนโดยมีสัญลักษณ < , > , ≤ , ≥ หรือ
≠ แสดงความสัมพันธ
ประโยคสัญลักษณจะประกอบด*วย 2 ส.วน ได*แก. 1) ส.วนที่กล.าวถึงจํานวน และ 2) ส.วนที่แสดง
ความสัมพันธระหว.างจํานวน
5) ขั้นความสําเร็จของกลุม
ครูและนักเรียนร.วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู*ในชั่วโมงนี้ และร.วมกัน
อภิปรายประเด็นสิ่งที่ทําให*แต.ละกลุ.มทํากิจกรรมได*สําเร็จตามกําหนดเวลา และได*คะแนนสูง
7. สื่อและแหลงเรียนรู
7.1 สื่อการเรียนรู
1) แบบฝVกทักษะคณิตศาสตร เรื่อง อสมการ เล.มที่ 1 ความหมายและคําตอบของ
อสมการเชิงเส*นตัวแปรเดียว
7.2 แหลงเรียนรู/แหลงสืบคน(เพิ่มเติม)
1) http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=78495
2) http://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/inequation
5
8. การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช*ในการวัด เกณฑการประเมิน / เกณฑการตัดสิน
ด*านความรู* (K) 1) แบบฝVกทักษะระหว.างเรียน
(แบบฝVกทักษะที่ 1.1 , 1.2 ,
2.1 , 2.2)
เกณฑ#การประเมิน
อยู.ในภาคผนวกของแบบฝVกทักษะ
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนทําคะแนนได*มากกว.า
ร*อยละ 75 ถือว.าผ.าน
ด*านทักษะ/
กระบวนการ (P)
1) แบบประเมินด*านทักษะ/
กระบวนการ
2) แบบฝVกทักษะระหว.างเรียน
(แบบฝVกทักษะที่ 1.1 , 1.2 ,
2.1 , 2.2)
เกณฑ#การประเมินดานทักษะ/
กระบวนการ
0 - 3 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง
4 - 6 คะแนน ได*ระดับพอใช*
7 - 9 คะแนน ได*ระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน
ด*านคุณลักษณะ
อันพึงประสงค (A)
1) แบบประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค
เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค#
0 - 6 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง
7 – 12 คะแนน ได*ระดับพอใช*
13 – 18 คะแนน ได*ระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน
2) แบบสังเกตพฤติกรรม
การทํางานกลุ.ม
เกณฑ#การประเมินพฤติกรรม
การทํางานกลุม
0 - 7 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง
8 – 11 คะแนน ได*ระดับพอใช*
12 – 15 คะแนน ได*ระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน
6
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ (P)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเสน
ตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 1)
คําชี้แจง ให*สังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแต.ละคน แล*วทําเครื่องหมาย √ ลงในช.องระดับคะแนน
เลขที่ ชื่อ -นามสกุล
การให*เหตุผล การแก*ป>ญหา การเชื่อมโยง
รวม ระดับคุณภาพ
3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ลงชื่อ ผู*ประเมิน
(นางสาววิรมณ ป>sนงาม)
7
คะแนน ทักษะ/กระบวนการ (P) ที่ปรากฏใหเห็น
การใหเหตุผล
3 ใช*ยุทธวิธีดําเนินการแก*ป>ญหาสําเร็จ อย.างมีประสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล
ในการใช*วิธีการดังกล.าวได*เข*าใจชัดเจน
2 ใช*ยุทธวิธีดําเนินการแก*ป>ญหาสําเร็จ แต.อธิบายถึงเหตุผล
ในการใช*วิธีการดังกล.าวไม.ชัดเจน
1 ใช*ยุทธวิธีดําเนินการแก*ป>ญหา สําเร็จเพียงบางส.วน อธิบายถึงเหตุผล
ในการใช*วิธีการดังกล.าวได*บางส.วน
0 มีร.องรอยการดําเนินการแก*ป>ญหาบางส.วน เริ่มคิดว.าทําไมจึงต*องใช*วิธีการนั้น
แล*วหยุด อธิบายต.อไม.ได* และแก*ป>ญหาไม.สําเร็จ
การแกปJญหา
3 อธิบายเหตุผลและร.วมแสดงความคิดเห็นในการแก*ป>ญหาได*ชัดเจน
2 อธิบายเหตุผลและร.วมแสดงความคิดเห็นในการแก*ป>ญหาได*บางส.วนแต.ไม.ชัดเจน
1 อธิบายเหตุผลไม.ได*แต.ร.วมแสดงความคิดเห็นในการแก*ป>ญหาบางส.วนได*
0 อธิบายเหตุผลไม.ได*และร.วมแสดงความคิดเห็นในการแก*ป>ญหาไม.ได*
การเชื่อมโยง
3 นําความรู* หลักการ วิธีการทางคณิตศาสตรมาใช*เพื่อเชื่อมโยงกับกลุ.มสาระ
การเรียนรู*คณิตศาสตรและสาระอื่นๆ แล*วนํามาใช*ในชีวิตประจําวันได*ชัดเจน
2 นําความรู* หลักการ วิธีการทางคณิตศาสตรมาใช*เพื่อเชื่อมโยงกับกลุ.มสาระ
การเรียนรู*คณิตศาสตรและสาระอื่นๆ แล*วนํามาใช*ในชีวิตประจําวันได*บางส.วน
1 นําความรู* หลักการ วิธีการทางคณิตศาสตรมาใช*เพื่อเชื่อมโยงกับกลุ.มสาระการเรียนรู*
คณิตศาสตรและสาระอื่นๆ แล*วนํามาใช*ในชีวิตประจําวันได*บางส.วนแต.ไม.ชัดเจน
0 ไม.สามารถนําความรู* หลักการ วิธีการทางคณิตศาสตรมาใช*เพื่อเชื่อมโยงกับกลุ.มสาระ
การเรียนรู*คณิตศาสตรและสาระอื่น และนํามาใช*ในชีวิตประจําวันไม.ได*
เกณฑ#การใหคะแนนดานทักษะ/กระบวนการ (P)
8
0-3 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง 4-6 คะแนน ได*ระดับพอใช* 7-9 คะแนน ได*ระดับดี
นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน
เกณฑ#การประเมินระดับคุณภาพดานทักษะ/กระบวนการ (P)
เกณฑ#การตัดสินดานทักษะ/กระบวนการ (P)
9
ชื่อกลุ.ม .................................................................................................................................ชั้น................................
คําชี้แจง ให*สังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแต.ละกลุ.ม แล*วทําเครื่องหมาย √ ลงในช.องระดับคะแนน
ลําดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1 0
1 การแบ.งหน*าที่กันอย.างเหมาะสม
2 ความร.วมมือกันทํางาน
3 การแสดงความคิดเห็น
4 การรับฟ>งความคิดเห็น
5 ความมีน้ําใจช.วยเหลือกัน
รวม
ลงชื่อ
(นางสาววิรมณ ป>sนงาม)
ผู*ประเมิน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
10
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให* 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให* 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให* 1 คะแนน
ไมปฏิบัติหรือไมแสดงพฤติกรรม ให* 0 คะแนน
0 - 7 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง
8 – 11 คะแนน ได*ระดับพอใช*
12 – 15 คะแนน ได*ระดับดี
นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน
เกณฑ#การใหคะแนน
เกณฑ#การประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
เกณฑ#การตัดสิน
11
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเสน
ตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 1)
คําชี้แจง ให*สังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแต.ละคน แล*วทําเครื่องหมาย √ ลงในช.องระดับคะแนน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค#ดาน
รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1
ใฝOเรียนรู ตั้งใจเรียนรู*
เอาใจใส.ในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน
สนใจเข*าร.วมกิจกรรมการเรียนรู*ต.างๆ
มุงมั่นในการทํางาน มีความตั้งใจในการทํางานที่ได*รับมอบหมาย
มีความอดทนและไม.ท*อแท*ต.ออุปสรรคเพื่อให*งานสําเร็จ
มีความพยายามในการทํางานที่ได*รับมอบหมาย
ลงชื่อ ผู*ประเมิน
(นางสาววิรมณ ป>sนงาม)
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให* 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให* 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให* 1 คะแนน
0 - 6 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง
7 – 12 คะแนน ได*ระดับพอใช*
13 – 18 คะแนน ได*ระดับดี
นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A)
เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค#
เกณฑ#การตัดสิน
เกณฑ#การใหคะแนน
12
ขอเสนอแนะและความคิดเห็นของผูบริหาร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายกษิดิ์เดช พุ.มสาขา)
รองผู*อํานวยการกลุ.มบริหารวิชาการ
13
บันทึกหลังสอน
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ปJญหาและอุปสรรค
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ขอเสนอแนะ แนวทางแกปJญหา หรือพัฒนา
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ลงชื่อ ผู*สอน
(นางสาววิรมณ ป>sนงาม)
แนวทางการจัดการเรียนรู
แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3
หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง
แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ
เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 2) เวลา 3 ชั่วโมง
_______________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
อสมการจะมีคําตอบก็ตอเมื่ออสมการนั้นมีตัวแปรอยูดวย และเมื่อนําจํานวนมาแทนตัวแปร
ในอสมการแลวทําใหอสมการนั้นเป"นจริง จํานวนเหลานั้นเรียกวา คําตอบของอสมการ (solution of
inequality)
อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว จําแนกตามลักษณะของคําตอบได 3 แบบ ดังนี้
1) อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มีจํานวนจริงบางจํานวนเป"นคําตอบ
2) อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มีจํานวนจริงทุกจํานวนเป"นคําตอบ
3) อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่ไมมีจํานวนจริงใดเป"นคําตอบ
บทนิยาม อสมการ A สมมูล (equivalent) กับอสมการ B ก็ตอเมื่อ คําตอบทุกคําตอบ
ของอสมการ A เป"นคําตอบของอสมการ B และคําตอบทุกคําตอบของอสมการ B
เป"นคําตอบของอสมการ A
2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.3/1 ใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวในการแกปBญหา
พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ค 6.1 ม.3/3 ใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดเหมาะสม
ค 6.1 ม.3/4 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตรJและนําความรู หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตรJ ไปเชื่อมโยงกับศาสตรJอื่นๆ
3. จุดประสงค#การเรียนรู
ดานความรู (K)
นักเรียนสามารถ
1) หาคําตอบของอสมการโดยวิธีการแทนคาได
2) บอกไดวาอสมการใดสมมูลกัน
ดานทักษะกระบวนการ (P)
1) การใหเหตุผล
2) การแกปBญหา
3) การสื่อสาร สื่อความหมายและการนําเสนอ
ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A)
1) ใฝQเรียนรู
2) ซื่อสัตยJ สุจริต
4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการแกปBญหา
5. สาระการเรียนรู
1) คําตอบของอสมการ
2) อสมการที่สมมูลกัน
6. กระบวนการเรียนรู
1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน
ครูจัดกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถกลุมละ 4 คน ประกอบไปดวยนักเรียนที่เรียนเกง 1
คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน (ตามที่ครูไดแบงไวเดิม)
2) ขั้นนําเสนอบทเรียน
2.1) ครูทบทวนความรูเรื่องการหาคําตอบของสมการวา คําตอบของสมการ คือ จํานวนที่แทน
ตัวแปรในสมการแลวทําใหสมการเป"นจริง เชน
ตัวอยางที่ 1 จงหาคําตอบของสมการโดยใชวิธีลองแทนคาตัวแปรในสมการ x - 1 = 14
ถาแทนคา x ดวย 16 จะไดสมการ 16 - 1 = 14
15 = 14 เป"นเท็จ
ถาแทนคา x ดวย 15 จะไดสมการ 15 - 1 = 14
14 = 14 เป"นจริง
ดังนั้น 15 เป"นคําตอบของสมการ
2.2) ครูแนะนํานักเรียนวาในการหาคําตอบของอสมการสามารถทําไดโดยวิธีลองแทนคาตัวแปร
ไดเชนกัน พรอมยกตัวอยางแลวใหนักเรียนชวยกันลองแทนคาตัวแปรดวยจํานวนลงในอสมการ โดยครูใช
เทคนิคการตั้งคําถามเพื่อกระตุนการคิดของนักเรียนจนนําไปสูการหาคําตอบของอสมการไดถูกตอง
ตัวอยางที่ 2 จงหาคําตอบของอสมการ x 3≥
ถาแทน x ดวย 3 จะได 3 = 3เป"นจริง
ถาแทน x ดวยจํานวนจริงใดโดยที่ x 3> จะไดอสมการเป"นจริง
ดังนั้น คําตอบของอสมการ x 3≥ คือจํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือ
เทากับ 3
ตัวอยางที่ 3 จงหาคําตอบของอสมการ a + 5 < a + 6
เนื่องจากเมื่อแทน a ดวยจํานวนจริงใดๆ ใน a + 5 < a + 6
แลวจะไดอสมการเป"นจริงเสมอ
ดังนั้น คําตอบของอสมการ a + 5 < a + 6 คือจํานวนจริงทุกจํานวน
ตัวอยางที่ 4 จงหาคําตอบของอสมการ 7m 14≠
ถาแทน m ดวย 2 จะได 7 2 14× ≠
14 14≠ เป"นเท็จ
ถาแทน m ดวยจํานวนจริงใดโดยที่ m 2> จะไดอสมการเป"นจริง
ถาแทน m ดวยจํานวนจริงใดโดยที่ m 2< จะไดอสมการเป"นจริง
ดังนั้น คําตอบของอสมการ 7m 14≠ คือ จํานวนจริงทุกจํานวนที่ไมเทากับ 2
2.3) ครูใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันหาคําตอบของอสมการแตละขอตอไปนี้
1) x - 7 < 0 กับ x < 7
2) 4x - 16≥ กับ x - 4≥
3) x + 2 15≠ กับ x 13≠
นักเรียนรวมกันพิจารณาคําตอบของอสมการแตละขอ ซึ่งจะพบวาอสมการในแตละขอมีคําตอบ
เหมือนกันทุกคําตอบ ครูจึงแนะนําบทนิยามของอสมการที่สมมูลกัน
3) ขั้นการเขากลุม
3.1) นักเรียนศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในใบความรูที่ 3 , 4 และทําแบบฝTกทักษะที่ 3.1 , 3.2 , 3.3
และ 4 ตามลําดับในแบบฝTกทักษะคณิตศาสตรJ เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบของ
อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (หนา 18-27) เป"นรายบุคคล โดยครูเดินดูการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน
สังเกตพฤติกรรมระหวางการทํากิจกรรม พรอมทั้งเปZดโอกาสใหนักเรียนซักถามหากเกิดปBญหาหรือ
ขอสงสัย และคอยใหคําแนะนําเมื่อพบนักเรียนที่ปฏิบัติไมถูกตอง
3.2) เมื่อนักเรียนทําแบบฝTกทักษะเสร็จแลวใหนักเรียนแตละคูชวยกันตรวจแบบฝTกทักษะจาก
เฉลยในภาคผนวกของแบบฝTกทักษะ หากเพื่อนไมเขาใจ หรือทําแบบฝTกทักษะคะแนนไมผานเกณฑJ 75%
ใหสมาชิกในกลุมชวยกันอธิบายจนเพื่อนทําแบบฝTกทักษะซ้ําผานเกณฑJ แลวบันทึกคะแนนลงในแบบ
บันทึกคะแนน
4) ขั้นการสรุปบทเรียน/ทดสอบเนื้อหายอย
ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทเรียน โดยครูใชการถาม-ตอบ จนเกิดขอสรุปดังนี้
อสมการจะมีคําตอบก็ตอเมื่ออสมการนั้นมีตัวแปรอยูดวย และเมื่อนําจํานวนมาแทนตัวแปร
ในอสมการแลวทําใหอสมการนั้นเป"นจริง จํานวนเหลานั้นเรียกวา คําตอบของอสมการ
อสมการสองอสมการจะสมมูลกันก็ตอเมื่อมีคําตอบทุกคําตอบเหมือนกัน
5) ขั้นความสําเร็จของกลุม
1) ครูและนักเรียนชวยกันรวบรวมคะแนนจากการทําแบบฝTกทักษะของสมาชิกทุกคนในแตละ
กลุมแลวนํามาเรียงลําดับคะแนนเป"นความสําเร็จของกลุมในการเรียนรูชั่วโมงนี้ เพื่อกระตุนใหแตละกลุม
มีความกระตือรือรน และชวยเหลือกันและกันในการทํากิจกรรม
2) ครูใหขอเสนอแนะ จุดเดน จุดดอย และวิธีการปรับปรุงกระบวนการทํางานของแตละกลุม
เพื่อใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพมากขึ้น
7. สื่อและแหลงเรียนรู
7.1 สื่อการเรียนรู
1) แบบฝTกทักษะคณิตศาสตรJ เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบของ
อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
7.2 แหลงเรียนรู/แหลงสืบคน(เพิ่มเติม)
1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตรJ เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาป_ที่ 3 ของ สสวท.
2) http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=78495
3) http://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/inequation
8. การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใชในการวัด เกณฑJการประเมิน / เกณฑJการตัดสิน
ดานความรู (K) 1) แบบฝTกทักษะระหวางเรียน
(แบบฝTกทักษะที่ 3.1 , 3.2 , 3.3 ,
และ 4)
เกณฑ#การประเมินแบบฝGกทักษะ
อยูในภาคผนวกของแบบฝTกทักษะ
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนทําคะแนนไดมากกวา
รอยละ 75 ถือวาผาน
ดานทักษะ/
กระบวนการ (P)
1) แบบประเมินดานทักษะ/
กระบวนการ
2) แบบฝTกทักษะระหวางเรียน
(แบบฝTกทักษะที่ 3.1 , 3.2 , 3.3 ,
และ 4)
เกณฑ#การประเมินดานทักษะ/
กระบวนการ
0 - 3 คะแนน ไดระดับปรับปรุง
4 - 6 คะแนน ไดระดับพอใช
7 - 9 คะแนน ไดระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน
ดานคุณลักษณะ
อันพึงประสงคJ (A)
1) แบบประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงคJ
เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค#
0 - 6 คะแนน ไดระดับปรับปรุง
7 – 12 คะแนน ไดระดับพอใช
13 – 18 คะแนน ไดระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน
สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใชในการวัด เกณฑJการประเมิน / เกณฑJการตัดสิน
2) แบบสังเกตพฤติกรรม
การทํางานกลุม
เกณฑ#การประเมินพฤติกรรม
การทํางานกลุม
0 - 8 คะแนน ไดระดับปรับปรุง
8 – 11 คะแนน ไดระดับพอใช
12 – 15 คะแนน ไดระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน
แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ (P)
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ
เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 2)
คําชี้แจง ใหสังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแตละคน แลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองระดับคะแนน
เลขที่ ชื่อ -นามสกุล
การใหเหตุผล การแกปBญหา การสื่อสารฯ
รวม ระดับคุณภาพ
3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ลงชื่อ ผูประเมิน
(นางสาววิรมณ ปBwนงาม)
0-3 คะแนน ไดระดับปรับปรุง 4-6 คะแนน ไดระดับพอใช 7-9 คะแนน ไดระดับดี
นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน
คะแนน ทักษะ/กระบวนการ (P) ที่ปรากฏใหเห็น
การใหเหตุผล
3 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปBญหาสําเร็จ อยางมีประสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล
ในการใชวิธีการดังกลาวไดเขาใจชัดเจน
2 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปBญหาสําเร็จ แตอธิบายถึงเหตุผล
ในการใชวิธีการดังกลาวไมชัดเจน
1 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปBญหา สําเร็จเพียงบางสวน อธิบายถึงเหตุผล
ในการใชวิธีการดังกลาวไดบางสวน
0 มีรองรอยการดําเนินการแกปBญหาบางสวน เริ่มคิดวาทําไมจึงตองใชวิธีการนั้น
แลวหยุด อธิบายตอไมได และแกปBญหาไมสําเร็จ
การแกปKญหา
3 อธิบายเหตุผลและรวมแสดงความคิดเห็นในการแกปBญหาไดชัดเจน
2 อธิบายเหตุผลและรวมแสดงความคิดเห็นในการแกปBญหาไดบางสวนแตไมชัดเจน
1 อธิบายเหตุผลไมไดแตรวมแสดงความคิดเห็นในการแกปBญหาบางสวนได
0 อธิบายเหตุผลไมไดและรวมแสดงความคิดเห็นในการแกปBญหาไมได
การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนําเสนอทางคณิตศาสตร#
3 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJที่ถูกตอง นําเสนอขอมูลตามลําดับ
ขั้นตอน เป"นระบบ กระชับ ชัดเจน และมีรายละเอียดสมบูรณJ
2 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJ นําเสนอขอมูลตามลําดับขั้นตอน
ไดถูกตอง แตขาดรายละเอียดที่สมบูรณJ
1 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJ พยายามนําเสนอขอมูลประกอบ
ชัดเจนบางสวน
0 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJอยางงายไมได การนําเสนอขอมูลไมชัดเจน
เกณฑ#การใหคะแนนดานทักษะ/กระบวนการ (P)
เกณฑ#การประเมินระดับคุณภาพดานทักษะ/กระบวนการ (P)
เกณฑ#การตัดสินดานทักษะ/กระบวนการ (P)
ชื่อกลุม .......................................................................................................................................ชั้น..........................
คําชี้แจง ใหสังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแตละกลุม แลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองระดับคะแนน
ลําดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1 0
1 การแบงหนาที่กันอยางเหมาะสม
2 ความรวมมือกันทํางาน
3 การแสดงความคิดเห็น
4 การรับฟBงความคิดเห็น
5 ความมีน้ําใจชวยเหลือกัน
รวม
ลงชื่อ
(นางสาววิรมณ ปBwนงาม)
ผูประเมิน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 1 คะแนน
ไมปฏิบัติหรือไมแสดงพฤติกรรม ให 0 คะแนน
0 - 7 คะแนน ไดระดับปรับปรุง
8 – 11 คะแนน ไดระดับพอใช
12 – 15 คะแนน ไดระดับดี
นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน
เกณฑ#การใหคะแนน
เกณฑ#การประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
เกณฑ#การตัดสิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ
เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 2)
คําชี้แจง ใหสังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแตละคน แลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองระดับคะแนน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค#ดาน
รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1
ใฝOเรียนรู ตั้งใจเรียนรู
เอาใจใสในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน
สนใจเขารวมกิจกรรมการเรียนรูตางๆ
ซื่อสัตย# สุจริต ใหขอมูลที่ถูกตอง และเป"นจริง
ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกตอง ละอาย และเกรงกลัวที่จะทําความผิด
ปฏิบัติตนตอผูอื่นดวยความซื่อตรง
ลงชื่อ ผูประเมิน
(นางสาววิรมณ ปBwนงาม)
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 1 คะแนน
0 - 6 คะแนน ไดระดับปรับปรุง
7 – 12 คะแนน ไดระดับพอใช
13 – 18 คะแนน ไดระดับดี
นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค#
เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค#
เกณฑ#การตัดสิน
เกณฑ#การใหคะแนน
ขอเสนอแนะและความคิดเห็นของผูบริหาร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายกษิดิ์เดช พุมสาขา)
รองผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการ
บันทึกหลังสอน
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ปKญหาและอุปสรรค
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ขอเสนอแนะ แนวทางแกปKญหา หรือพัฒนา
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ลงชื่อ ผูสอน
(นางสาววิรมณ ปBwนงาม)
แนวทางการจัดการเรียนรู
1
แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3
หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง
แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ
เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 3) เวลา 3 ชั่วโมง
_______________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
คําตอบของอสมการสวนใหญจะเปนจํานวนจริงซึ่งมีคําตอบหลายคําตอบสามารถแสดงได%ด%วย
เส%นจํานวน ซึ่งทําให%เห็นคําตอบได%ชัดเจนขึ้น เรียกเส%นจํานวนนี้วา กราฟแสดงคําตอบของอสมการ
กราฟของจํานวนทุกจํานวน เราแทนด%วยจุดทุกจุดบนเส%นจํานวน ซึ่งเขียนเปนเส%นตรงยาว
ไมมีขีดจํากัด โดยแบงสวนและกําหนดตําแหนง 0 และจํานวนอื่นไว%ตามความจําเปน เชน
- จุดหนึ่งจุดใดบนเส%นจํานวนเพียงหนึ่งจุดจะแทนได%เพียงจํานวนเดียว
- จุดที่อยูทางขวาจะแทนจํานวนที่มีคามากกวาจุดที่อยูทางซ%ายเสมอ
ถ%าอสมการใดมีคําตอบเปนจํานวนจริงทุกจํานวนแตยกเว%นจํานวนใดแล%ว เราก็แสดงคําตอบโดย
ลากเส%นทึบบนเส%นจํานวนทั้งเส%น และจุดโปรง ( ) ตรงคาจํานวนที่ยกเว%นนั้น เชน
คําตอบของอสมการมักจะเปนจํานวนจริง ซึ่งมีมากมายหลายคําตอบตอเนื่องกันบ%าง
ไมตอเนื่องกันบ%าง ดังนั้นการเขียนกราฟของคําตอบที่เปนจํานวนตอเนื่องกัน ต%องเขียนเส%นจํานวนสวนนั้น
ให%เปนเส%นหนากวาสวนอื่น ดังนี้
x 2>
| | | | | | |
7654321
| | | | | | |
คําตอบของอสมการ x 4≠
| | | | | | |
43210-1-2
2
สวนที่เปนเส%นทึบ คือกราฟของจํานวนทุกจํานวนที่มากกวา 2 สังเกตวาที่จุด 2 นั้น ทําเปน
จุดโปรงไว%เพื่อแสดงวาไมรวมคา 2 อยูในคําตอบนั้น
x 2≤
กราฟนี้แสดง จํานวนทุกจํานวนที่มีคาน%อยกวาหรือเทากับ 2 ลงไป หรือ จํานวน
ทุกจํานวนที่ไมเกิน 2 ซึ่งรวม 2 อยูในกราฟนี้ด%วย จึงแสดงจุดทึบไว%ที่ตําแหนงของ 2 ด%วย
2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.3/1 ใช%ความรู%เกี่ยวกับอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวในการแก%ป=ญหา
พร%อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ค 6.1 ม.3/3 ใช%เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได%เหมาะสม
ค 6.1 ม.3/4 ใช%ภาษาและสัญลักษณBทางคณิตศาสตรBในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรู%ตางๆ ในคณิตศาสตรBและนําความรู% หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตรB ไปเชื่อมโยงกับศาสตรBอื่นๆ
3. จุดประสงค#การเรียนรู
ดานความรู (K)
นักเรียนสามารถ
1) เขียนกราฟแสดงคําตอบของอสมการได%
2) บอกได%วากราฟอสมการที่กําหนดให%เปนคําตอบของอสมการใด
ดานทักษะกระบวนการ (P)
1) การเชื่อมโยง
2) การให%เหตุผล
3) การแก%ป=ญหา
| | | | | | |
43210-1-2
3
ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A)
1) มีวินัย รับผิดชอบ
2) มุงมั่นในการทํางาน
4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
1) ความสามารถในการคิด
2) ความสามารถในการแก%ป=ญหา
5. สาระการเรียนรู
กราฟแสดงคําตอบของอสมการ
6. กระบวนการเรียนรู
1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน
1.1) ครูจัดกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถกลุมละ 4 คน ประกอบไปด%วยนักเรียนที่เรียนเกง
1 คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน (ตามที่ครูได%แบงไว%เดิม)
1.2) ครูแจ%งคะแนนรวมของแตละกลุมจากการทําแบบฝFกทักษะชั่วโมงที่แล%วอีกครั้งและเสริมแรง
ทางบวกด%วยการชมเชยกลุมที่ได%คะแนนลําดับต%นๆ และให%กําลังใจกลุมที่ได%คะแนนน%อย
2) ขั้นนําเสนอบทเรียน
2.1) ครูทบทวนความรู%เรื่องการหาคําตอบของสมการและเส%นจํานวนบนกระดาน และใช%
คําถามนําให%นักเรียนเห็นวาเราสามารถใช%ความรู%เกี่ยวกับเรื่องการเขียนเส%นจํานวนมาเขียนกราฟ
แสดงคําตอบของอสมการได%
2.2) ครูอธิบายการเขียนกราฟแสดงคําตอบของอสมการ และยกตัวอยางประกอบ ดังนี้
กราฟนี้แสดงจํานวนทุกจํานวนที่มีคาตั้งแต 2− ถึง 1 ซึ่งรวม 2− และ 1 ด%วย
จึงแสดงจุดทึบไว%ที่ตําแหนงของ 2− และ 1 นั่นคือ - 2 x 1≤ ≤
| | | | | | |
210-1-2-3-4
| | | | | | |
210-1-2-3-4
4
กราฟนี้แสดง จํานวนทุกจํานวนที่มีคาตั้งแต 2− แตมีคาน%อยกวา 1 ซึ่งรวม 2− ด%วย
จึงแสดงจุดทึบไว%ที่ตําแหนงของ 2− แตไมรวม 1 จึงแสดงจุดโปรงไว%ที่ตําแหนงของ 1
นั่นคือ -2 x 1≤ <
กราฟนี้แสดง จํานวนทุกจํานวนที่มีคามากกวา 2− แตมีคาน%อยกวา 1 ซึ่งไมรวม 2−
และ 1 จึงแสดงจุดโปรงไว%ที่ตําแหนงของ 2− และ 1 นั่นคือ - 2 x 1< <
3) ขั้นการเขากลุม
3.1) นักเรียนศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในใบความรู%ที่ 5 และทําแบบฝFกทักษะที่ 5.1 , 5.2 และ 5.3
ตามลําดับในแบบฝFกทักษะคณิตศาสตรB เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบของอสมการเชิง
เส%นตัวแปรเดียว (หน%า 27-36) ในขั้นตอนนี้ครูเดินดูการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน กระตุ%นให%นักเรียน
แสดงศักยภาพของตนเองให%เต็มความสามารถ แสดงบทบาทหน%าที่สอดคล%องกับการเรียนรู%แบบรวมมือ
เทคนิค TAI (Team Assisted Individualization) และสังเกตพฤติกรรมระหวางการทํากิจกรรม
พร%อมทั้งเป[ดโอกาสให%นักเรียนซักถามหากเกิดป=ญหาหรือข%อสงสัย รวมทั้งคอยให%คําแนะนําเมื่อพบ
นักเรียนที่ปฏิบัติไมถูกต%อง
3.2) เมื่อนักเรียนทําแบบฝFกทักษะเสร็จแล%วให%จับคูชวยกันตรวจแบบฝFกทักษะจากเฉลย
ในภาคผนวกของแบบฝFกทักษะ หากเพื่อนในกลุมไมเข%าใจ หรือทําแบบฝFกทักษะคะแนนไมผานเกณฑB
75% ให%สมาชิกชวยกันอธิบายจนเพื่อนทําแบบฝFกทักษะซ้ําผานเกณฑB แล%วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึก
คะแนน
4) ขั้นการสรุปบทเรียน/ทดสอบเนื้อหายอย
4.1) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทเรียน โดยครูใช%การถาม-ตอบ จนเกิดข%อสรุปดังนี้
คําตอบของอสมการสวนใหญจะเปนจํานวนจริง ซึ่งมีมากมายหลายคําตอบตอเนื่องกันบ%าง
ไมตอเนื่องกันบ%าง สามารถแสดงได%ด%วยกราฟแสดงคําตอบของอสมการ ซึ่งจะชวยทําให%เห็นคําตอบ
ได%ชัดเจนขึ้น การเขียนกราฟของคําตอบที่เปนจํานวนตอเนื่องกัน ต%องเขียนเส%นจํานวนสวนนั้นให%เปนเส%น
หนากวาสวนอื่น ถ%าอสมการใดมีคําตอบเปนจํานวนจริงทุกจํานวนแตยกเว%นจํานวนใดแล%ว เราก็แสดง
คําตอบโดยลากเส%นทึบบนเส%นจํานวนทั้งเส%น และจุดโปรง ( ) ตรงคาจํานวนที่ยกเว%นนั้น หรือถ%ารวม
จํานวนนั้นด%วยแสดงคําตอบโดยใช% จุดทึบ ( ) ตรงคาจํานวนนั้น
4.2) นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน (post-test) เรื่องความหมายและคําตอบของอสมการ
เชิงเส%นตัวแปรเดียว (ชุด A) ในแบบฝFกทักษะคณิตศาสตรB เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบ
| | | | | | |
210-1-2-3-4
5
ของอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว หน%า 36-38 เปนรายบุคคล
4.3) ครูตรวจให%คะแนนนักเรียน หากพบวานักเรียนคนใดได%คะแนนไมถึงเกณฑB 75% ครูจะเปน
ผู%ให%ความชวยเหลือ โดยการสอนเพิ่มเติมจนนักเรียนเข%าใจดีแล%ว จากนั้นแจกแบบทดสอบชุด B ให%
นักเรียนกลับไปทํา
5) ขั้นความสําเร็จของกลุม
5.1) ครูและนักเรียนชวยกันรวบรวมคะแนนจากการทําแบบทดสอบหลังเรียน (post-test) เรื่อง
ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวของสมาชิกแตละคนในกลุม
5.2) ครูนําคะแนนของแตละกลุมมาทําการหาคาเฉลี่ยเปนคะแนนกลุมเพื่อจัดระดับความสําเร็จ
ของกลุม เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว แล%วแจ%งให%นักเรียนทราบ กลุมที่
ได%คะแนนสูงสุดเปนกลุมชนะเลิศ (Super Team) สวนกลุมที่เหลือครูจัดเปน 2 ระดับตามคะแนนเฉลี่ย
ให%เปนกลุมรองชนะเลิศ (Great Team) และกลุมดี (Good Team)
7. สื่อและแหลงเรียนรู
7.1 สื่อการเรียนรู
1) แบบฝFกทักษะคณิตศาสตรB เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบของ
อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว
2) แบบทดสอบหลังเรียน (post-test) เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเส%น
ตัวแปรเดียว
7.2 แหลงเรียนรู/แหลงสืบคน(เพิ่มเติม)
1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตรB เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปfที่ 3 ของ สสวท.
2) http://www.sosmath.com/algebra/inequalities/ineq01/ineq01.html
3) http://www.bangkapi.ac.th/MediaOnLine/BenjawanMD/Inequation/
page64.htm
8. การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑBการประเมิน / เกณฑBการตัดสิน
ด%านความรู% (K) 1) แบบฝFกทักษะระหวางเรียน
(แบบฝFกทักษะที่ 5.1 , 5.2 และ
5.3)
เกณฑ#การประเมิน
อยูในภาคผนวกของแบบฝFกทักษะ
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนทําคะแนนได%มากกวา
ร%อยละ 75 ถือวาผาน
6
สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑBการประเมิน / เกณฑBการตัดสิน
2) แบบทดสอบหลังเรียน (post-test)
เรื่อง ความหมายและคําตอบของ
อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว
เกณฑ#การประเมิน
ตอบถูก 1 ข%อ ได% 1 คะแนน
ตอบผิด 1 ข%อ หรือไมตอบได% 0 คะแนน
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนทําคะแนนได%มากกวา
ร%อยละ 75 ถือวาผาน
(ตั้งแต 8 คะแนนขึ้นไป)
ด%านทักษะ/
กระบวนการ (P)
1) แบบประเมินด%านทักษะ/
กระบวนการ
2) แบบฝFกทักษะระหวางเรียน
(แบบฝFกทักษะที่ 5.1 , 5.2 และ
5.3)
3) แบบทดสอบหลังเรียน (post-test)
เรื่อง ความหมายและคําตอบของ
อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว
เกณฑ#การประเมินดานทักษะ/
กระบวนการ
0 - 3 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง
4 - 6 คะแนน ได%ระดับพอใช%
7 - 9 คะแนน ได%ระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน
ด%านคุณลักษณะ
อันพึงประสงคB (A)
1) แบบประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงคB
เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค#
0 - 6 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง
7 – 12 คะแนน ได%ระดับพอใช%
13 – 18 คะแนน ได%ระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน
7
สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑBการประเมิน / เกณฑBการตัดสิน
2) แบบสังเกตพฤติกรรม
การทํางานกลุม
เกณฑ#การประเมินพฤติกรรม
การทํางานกลุม
0 - 7 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง
8 – 11 คะแนน ได%ระดับพอใช%
12 – 15 คะแนน ได%ระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน
แนวทางการจัดการเรียนรู
1
แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3
หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง
แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 5 เรื่อง การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยใชสมบัติการบวก
ของการไมเทากัน (ชั่วโมงที่ 1) เวลา 2 ชั่วโมง
_______________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
สมบัติการบวกของการไมเทากัน
เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ
1. ถ%า a b< แล%ว a + c b + c<
2. ถ%า a b≤ แล%ว a + c b + c≤
3. ถ%า a > b แล%ว a + c b + c>
4. ถ%า a b≥ แล%ว a + c b + c≥
หมายเหตุ สมบัติการบวกของการไมเทากัน ถ%าลบด%วย c มีความหมายเชนเดียวกับการบวกด%วย
- c นั่นเอง
2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.3/1 ใช%ความรู%เกี่ยวกับอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวในการแก%ป2ญหา
พร%อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ค 6.1 ม.3/3 ใช%เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได%เหมาะสม
ค 6.1 ม.3/4 ใช%ภาษาและสัญลักษณ<ทางคณิตศาสตร<ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรู%ตางๆ ในคณิตศาสตร<และนําความรู% หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร< ไปเชื่อมโยงกับศาสตร<อื่นๆ
2
3. จุดประสงค#การเรียนรู
ดานความรู (K)
นักเรียนสามารถ
1) อธิบายสมบัติการบวกของการไมเทากันได%
2) ใช%สมบัติการบวกของการไมเทากันได%ถูกต%อง
ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
1) การเชื่อมโยง
2) การให%เหตุผล
3) การสื่อสาร สื่อความหมายและการนําเสนอ
ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A)
1) ใฝCเรียนรู%
2) มุงมั่นในการทํางาน
4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการแก%ป2ญหา
3) ความสามารถในการใช%ทักษะชีวิต
5. สาระการเรียนรู
สมบัติการบวกของการไมเทากัน
6. กระบวนการเรียนรู
1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน
1.1) ครูจัดกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถกลุมละ 4 คน ประกอบไปด%วยนักเรียนที่เรียนเกง
1 คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน (ตามที่ครูได%แบงไว%เดิม)
1.2) นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน (pre-test) เรื่อง การแก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว
โดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน ในแบบฝKกทักษะคณิตศาสตร< เรื่อง อสมการ เลมที่ 2 การแก%
อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน (หน%า 1-2) โดยใช%เวลา 10 นาที
3
2) ขั้นนําเสนอบทเรียน
2.1) ครูทบทวนความรู%เรื่องสมบัติการเทากันของสมการ คือ สมบัติการบวก แล%วให%นักเรียน
รวมกันอภิปรายวานําไปใช%อยางไรได%บ%าง ครูใช%คําถามนําเพื่อให%นักเรียนสรุปได%วานําไปใช%ในการแก%
สมการ
2.2) ครูแนะนําสมบัติการบวกของการไมเทากัน และแนะนํานักเรียนวาในการแก%อสมการ
สามารถทําได%คล%ายกับการแก%สมการ โดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน พร%อมยกตัวอยาง ดังนี้
1) ถ%า 6 < 12 แล%ว 6 + 3 < 12 + 3 จะได% 9 < 15
2) ถ%า -10 < 5 แล%ว -10 + (-2) < 5 + (-2) จะได% -12 < 3
3) ถ%า -2 > -4 แล%ว -2 + 1 > -4 + 1 จะได% -1 > -3
4) ถ%า x - 8 > 26 แล%ว x – 8 + 8 > 26 + 8 จะได% x > 34
5) ถ%า 4x + 10 ≥ 9 แล%ว 4x + 10 + 3 ≥ 9 + 3 จะได% 4x + 13 ≥ 12
2.3) ครูยกตัวอยางเพิ่มเติมบนกระดานดํา 4 – 5 ข%อ แล%วขออาสาสมัครแตละกลุมออกมาทํา
เพื่อฝKกให%นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การให%เหตุผล และกล%าแสดงออก
3) ขั้นการเขากลุม
3.1) นักเรียนศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในใบความรู%ที่ 1 และทําแบบฝKกทักษะที่ 1 ตามลําดับในแบบ
ฝKกทักษะคณิตศาสตร< เรื่อง อสมการ เลมที่ 2 การแก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวก
ของการไมเทากัน (หน%า 3-6) เปRนรายบุคคล ในขณะที่นักเรียนทํากิจกรรมครูเดินดูการปฏิบัติกิจกรรมของ
นักเรียน สังเกตพฤติกรรมระหวางการทํากิจกรรม พร%อมทั้งเปUดโอกาสให%นักเรียนซักถามถ%าเกิดป2ญหา
หรือข%อสงสัย และคอยให%คําแนะนําเมื่อพบนักเรียนที่ปฏิบัติไมถูกต%อง
3.2) เมื่อนักเรียนทําแบบฝKกทักษะเสร็จแล%วแตละคูชวยกันตรวจแบบฝKกทักษะจากเฉลยใน
ภาคผนวกของแบบฝKกทักษะ ถ%ามีเพื่อนในกลุมไมเข%าใจ หรือทําแบบฝKกทักษะคะแนนไมผานเกณฑ< 75%
ให%ชวยกันอธิบายจนเพื่อนทําแบบฝKกทักษะซ้ําผานเกณฑ< แล%วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน
4) ขั้นการสรุปบทเรียน/ทดสอบเนื้อหายอย
ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทเรียน โดยครูใช%การถาม-ตอบ จนเกิดข%อสรุปดังนี้
สมบัติการบวกของการไมเทากัน เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ
4
1. ถ%า a b< แล%ว a + c b + c<
2. ถ%า a b≤ แล%ว a + c b + c≤
3. ถ%า a > b แล%ว a + c b + c>
4. ถ%า a b≥ แล%ว a + c b + c≥
5) ขั้นความสําเร็จของกลุม
1) ครูและนักเรียนชวยกันรวบรวมคะแนนจากการทําแบบฝKกทักษะของสมาชิกทุกคนในแตละ
กลุมแล%วนํามาเรียงลําดับคะแนนเปRนความสําเร็จของกลุมในการเรียนรู%ชั่วโมงนี้ เพื่อกระตุ%นให%แตละกลุม
มีความกระตือรือร%น ชวยเหลือกันและกันในการทํากิจกรรม
2) ครูให%กลุมที่ได%คะแนนสูงสุด ออกมาเลาถึงวิธีและกระบวนการทํางานของกลุมตนเอง
หน%าชั้นเรียน แล%วให%กลุมอื่นๆ ชวยกันวิเคราะห<สิ่งที่ทําให%ประสบความสําเร็จ
7. สื่อและแหลงเรียนรู
7.1 สื่อการเรียนรู
1) แบบฝKกทักษะคณิตศาสตร< เรื่อง อสมการ เลมที่ 2 การแก%อสมการเชิงเส%น
ตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน
2) แบบทดสอบกอนเรียน (pre-test) เรื่อง การแก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว
โดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน
7.2 แหลงเรียนรู/แหลงสืบคน(เพิ่มเติม)
1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร< เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาป]ที่ 3 ของ สสวท.
2) http://www.purplemath.com/modules/ineqsolv.htm
8. การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑ<การประเมิน / เกณฑ<การตัดสิน
ด%านความรู% (K) 1) แบบฝKกทักษะระหวางเรียน
(แบบฝKกทักษะที่ 1)
เกณฑ#การประเมิน
อยูในภาคผนวกของแบบฝKกทักษะ
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนทําคะแนนได%มากกวา
ร%อยละ 75 ถือวาผาน
5
สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑ<การประเมิน / เกณฑ<การตัดสิน
ด%านทักษะ/
กระบวนการ (P)
1) แบบประเมินด%านทักษะ/
กระบวนการ
2) แบบฝKกทักษะระหวางเรียน
(แบบฝKกทักษะที่ 1)
เกณฑ#การประเมินดานทักษะ/
กระบวนการ
0 - 3 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง
4 - 6 คะแนน ได%ระดับพอใช%
7 - 9 คะแนน ได%ระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน
ด%านคุณลักษณะ
อันพึงประสงค< (A)
ด%านคุณลักษณะ
อันพึงประสงค< (A)
(ตอ)
1) แบบประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค<
เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค#
0 - 6 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง
7 – 12 คะแนน ได%ระดับพอใช%
13 – 18 คะแนน ได%ระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน
2) แบบสังเกตพฤติกรรม
การทํางานกลุม
เกณฑ#การประเมินพฤติกรรม
การทํางานกลุม
0 - 7 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง
8 – 11 คะแนน ได%ระดับพอใช%
12 – 15 คะแนน ได%ระดับดี
เกณฑ#การตัดสิน
นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน
แนวทางการจัดการเรียนรู
1
แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3
หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง
แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 6 เรื่อง การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยใชสมบัติการบวก
ของการไมเทากัน (ชั่วโมงที่ 2) เวลา 2 ชั่วโมง
_______________________________________________________________________
1. สาระสําคัญ
สมบัติการบวกของการไมเทากัน
เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ
1. ถ%า a b< แล%ว a + c b + c<
2. ถ%า a b≤ แล%ว a + c b + c≤
3. ถ%า a > b แล%ว a + c b + c>
4. ถ%า a b≥ แล%ว a + c b + c≥
หมายเหตุ สมบัติการบวกของการไมเทากัน ถ%าลบด%วย c มีความหมายเชนเดียวกับการบวกด%วย
- c นั่นเอง
2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ค 4.2 ม.3/1 ใช%ความรู%เกี่ยวกับอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวในการแก%ป2ญหา
พร%อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ
ค 6.1 ม.3/3 ใช%เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได%เหมาะสม
ค 6.1 ม.3/4 ใช%ภาษาและสัญลักษณ<ทางคณิตศาสตร<ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรู%ตางๆ ในคณิตศาสตร<และนําความรู% หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร< ไปเชื่อมโยงกับศาสตร<อื่นๆ
2
3. จุดประสงค#การเรียนรู
ดานความรู (K)
นักเรียนสามารถ
1) แก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากันได%
2) เขียนกราฟแสดงคําตอบของอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวได%
ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
1) การเชื่อมโยง
2) การให%เหตุผล
3) การแก%ป2ญหา
ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A)
1) ใฝCเรียนรู%
2) มุงมั่นในการทํางาน
4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแก%ป2ญหา
5. สาระการเรียนรู
การแก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน
6. กระบวนการเรียนรู
1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน
ครูจัดกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถกลุมละ 4 คน ประกอบไปด%วยนักเรียนที่เรียนเกง 1
คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน (ตามที่ครูได%แบงไว%เดิม)
2) ขั้นนําเสนอบทเรียน
2.1) ครูทบทวนสมบัติการบวกของการไมเทากัน โดยการยกตัวอยางแล%วถาม-ตอบ
2.2) ครูยกตัวอยางการใช%สมบัติการบวกของการไมเทากันในการแก%อสมการ
3
ตัวอยางที่ 1 จงแก%อสมการ x - 8 ≤ 3
จาก x - 8 ≤ 3
นํา 8 มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ x - 8 + 8 ≤ 3 + 8
x ≤ 11
ดังนั้น คําตอบของอสมการ x - 8 ≤ 3 คือ จํานวนจริงทุกจํานวนที่น%อยกวา
หรือเทากับ 11 และเขียนกราฟแสดงคําตอบได%ดังนี้
ตัวอยางที่ 2 จงแก%อสมการ 4(x + 5) < 3x - 1
จาก 4(x + 5) < 3x - 1
จะได% 4x + 20 < 3x - 1
นํา -20 มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ 4x + 20 + (-20) < 3x - 1 + (-20)
4x < 3x - 21
นํา -3x มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ 4x + (-3x) < 3x - 21 + (-3x)
x < -21
ดังนั้น คําตอบของอสมการ 4(x + 5) < 3x – 1 คือจํานวนจริงทุกจํานวน
ที่น%อยกวา -21 และเขียนกราฟแสดงคําตอบได%ดังนี้
ตัวอยางที่ 3 จํานวนนับที่มีคามากที่สุดที่เปLนไปได%จากอสมการ 10x - 7 ≤ 9x + 12
คือจํานวนใด
จาก 10x - 7 ≤ 9x + 12
นํา 7 มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ 10x - 7 + 7 ≤ 9x + 12 + 7
10x ≤ 9x + 19
นํา -9x มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ 10x + (-9x) ≤ 9x + 19 + (-9x)
x ≤ 19
คําตอบของอสมการ 10x - 7 ≤ 9x + 12 คือจํานวนจริงทุกจํานวนที่น%อยกวาหรือ
เทากับ 19
| | | | | | |
141312111098
| | | | | | |
-17-18-19-20-21-22-23
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้

More Related Content

What's hot

รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559KruKaiNui
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...KruKaiNui
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...Sircom Smarnbua
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...Nattapon
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557 (ยังไม่สมบูรณ์)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557  (ยังไม่สมบูรณ์)รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557  (ยังไม่สมบูรณ์)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557 (ยังไม่สมบูรณ์)Sircom Smarnbua
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
Book 2-report obec year 63 -teacher suchera
Book 2-report obec year 63 -teacher sucheraBook 2-report obec year 63 -teacher suchera
Book 2-report obec year 63 -teacher sucheraSucheraSupapimonwan
 

What's hot (20)

รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย อนุบาล-พฐ ปีงบประมาณ2559
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
 
SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557 (ยังไม่สมบูรณ์)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557  (ยังไม่สมบูรณ์)รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557  (ยังไม่สมบูรณ์)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557 (ยังไม่สมบูรณ์)
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
Book 2-report obec year 63 -teacher suchera
Book 2-report obec year 63 -teacher sucheraBook 2-report obec year 63 -teacher suchera
Book 2-report obec year 63 -teacher suchera
 

Similar to คู่มือการใช้

บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละApirak Potpipit
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรsomdetpittayakom school
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8kruchaily
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51krupornpana55
 

Similar to คู่มือการใช้ (20)

บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
Chai
ChaiChai
Chai
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
B1
B1B1
B1
 
Focus7
Focus7Focus7
Focus7
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
 

คู่มือการใช้

  • 1. คูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบ มิติใหมคณิตศาสตรในยุคการศึกษา นางสาววิรมณ ป#$นงาม โรงเรียนสตรีอางทอง จังหวัดอางทอง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต คูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบ มิติใหมคณิตศาสตรในยุคการศึกษา นางสาววิรมณ ป#$นงาม โรงเรียนสตรีอางทอง จังหวัดอางทอง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 คูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบ มิติใหมคณิตศาสตรในยุคการศึกษา 4.0
  • 2. 1 แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3 หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 1) เวลา 3 ชั่วโมง _______________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ อสมการ เปนประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธของจํานวนโดยมีสัญลักษณ < , > , ≤ , ≥ หรือ ≠ แสดงความสัมพันธ สัญลักษณที่ใช*ในอสมการมี 5 แบบ ดังนี้ < แทนความสัมพันธ น*อยกว.า หรือไม.ถึง เช.น ba < หมายความว.า a น*อยกว.า b (a มีค.าไม.ถึง b) > แทนความสัมพันธ มากกว.า หรือเกิน เช.น ba > หมายความว.า a มากกว.า b (a มีค.าเกิน b) ≤ แทนความสัมพันธ น*อยกว.าหรือเท.ากับ หรือไม.เกิน เช.น ba ≤ หมายความว.า a น*อยกว.า bหรือ a เท.ากับb (a มีค.าไม.เกิน b) ≥ แทนความสัมพันธ มากกว.าหรือเท.ากับ หรือไม.น*อยกว.า เช.น ba ≥ หมายความว.า a มากกว.า bหรือ a เท.ากับ b (a มีค.าไม.น*อยกว.า b) ≠ แทนความสัมพันธ ไม.เท.ากับ เช.น ba ≠ หมายความว.า a ไม.เท.ากับ b ประโยคสัญลักษณจะประกอบด*วย 2 ส.วน ได*แก. 1) ส.วนที่กล.าวถึงจํานวน และ 2) ส.วนที่แสดง ความสัมพันธระหว.างจํานวน มีรายละเอียดดังนี้ 1) ส.วนที่กล.าวถึงจํานวน ในประโยคภาษาอาจมีส.วนนี้ได*มากกว.า 1 แห.ง ถ*ามีปริมาณที่ไม.ได*ระบุ ให*เปนค.าคงที่ให*แทนจํานวนนั้นด*วยตัวแปร และเขียนให*อยู.ในรูปการดําเนินการของจํานวนกับจํานวน หรือจํานวนกับตัวแปรด*วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร 2) ส.วนที่แสดงความสัมพันธระหว.างจํานวนเปนส.วนที่ใช*สัญลักษณ < , > , ≤ , ≥ หรือ ≠ แทนความสัมพันธส.วนที่กล.าวถึงจํานวน
  • 3. 2 2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ค 4.2 ม.3/1 ใช*ความรู*เกี่ยวกับอสมการเชิงเส*นตัวแปรเดียวในการแก*ป>ญหา พร*อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ ค 6.1 ม.3/3 ใช*เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได*เหมาะสม ค 6.1 ม.3/4 ใช*ภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรู*ต.างๆ ในคณิตศาสตรและนําความรู* หลักการ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร ไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ 3. จุดประสงค#การเรียนรู ดานความรู (K) นักเรียนสามารถ 1) ระบุได*ว.าประโยคสัญลักษณทางคณิตศาสตรที่กําหนดให*เปนหรือไม.เปนอสมการ เชิงเส*นตัวแปรเดียว 2) เขียนสัญลักษณแทนคําที่แสดงความสัมพันธของอสมการได*อย.างถูกต*อง 3) เขียนประโยคสัญลักษณทางคณิตศาสตรแทนประโยคภาษาที่กําหนดได* ดานทักษะกระบวนการ (P) 1) การให*เหตุผล 2) การแก*ป>ญหา 3) การเชื่อมโยง ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A) 1) ใฝCเรียนรู* 2) มุ.งมั่นในการทํางาน 4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการแก*ป>ญหา
  • 4. 3 5. สาระการเรียนรู 1) ความหมายของอสมการเชิงเส*นตัวแปรเดียว 2) การเขียนประโยคสัญลักษณแทนประโยคภาษา 6. กระบวนการเรียนรู 1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน 1.1) ครูจัดกลุ.มนักเรียนแบบคละความสามารถกลุ.มละ 4 คน ประกอบไปด*วยนักเรียนที่เรียนเก.ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ.อน 1 คน (ตามที่ครูได*แบ.งไว*ในชั่วโมงที่ 1) 1.2) ครูทบทวนวิธีการเรียนรู*ตามแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู*แบบร.วมมือเทคนิค TAI (Team Assisted Individualization) และชี้แจงจุดประสงคในการเรียนให*นักเรียนทราบ 1.3) นักเรียนทําแบบทดสอบก.อนเรียน (pre-test) เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ เชิงเส*นตัวแปรเดียว ในแบบฝVกทักษะคณิตศาสตร เรื่อง อสมการ เล.มที่ 1 ความหมายและคําตอบของ อสมการเชิงเส*นตัวแปรเดียว (หน*า 1-3) โดยใช*เวลา 10 นาที 2) ขั้นนําเสนอบทเรียน 2.1) ครูขออาสาสมัครนักเรียนออกมาหน*าชั้น จํานวน 4 คน ครูให*นักเรียนยืนเรียงแถวหน*า กระดาน แล*วให*เพื่อนช.วยกันเปรียบเทียบความสูงของนักเรียนทั้ง 4 คน ครูใช*คําถามนําให*นักเรียนตอบว.า มากกว.า น*อยกว.า หรือเท.ากัน แล*วให*นักเรียนเชื่อมโยงกับสัญลักษณทางคณิตศาสตร 2.2) ครูยกตัวอย.างสมการและอสมการ โดยเน*นที่สัญลักษณ ให*นักเรียนช.วยกันค*นหาข*อมูลใน เว็ปไซตต.างๆ แล*วร.วมกันอภิปรายว.ามีคําแสดงความสัมพันธใดที่ตรงกับสัญลักษณของอสมการบ*าง 3) ขั้นการเขากลุม 3.1) นักเรียนในแต.ละกลุ.มจับคู.กันตามที่ครูกําหนดให* เพื่อช.วยเหลือซึ่งกันและกันในการทํา กิจกรรม นักเรียนศึกษาใบความรู*ที่ 1 , 2 และทําแบบฝVกทักษะที่ 1.1 , 1.2 , 2.1 และ 2.2 ตามลําดับ ในแบบฝVกทักษะคณิตศาสตร เรื่อง อสมการ เล.มที่ 1 ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเส*นตัวแปร เดียว (หน*า 4 -17) เปนรายบุคคล โดยครูจะเดินสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู*ของนักเรียนให*ความช.วยเหลือ เมื่อนักเรียนต*องการ รวมถึงคอยกระตุ*นให*นักเรียนแสดงบทบาทหน*าที่ของตนเองอย.างเต็มศักยภาพ ตามรูปแบบการเรียนรู*แบบร.วมมือเทคนิค TAI (Team Assisted Individualization)
  • 5. 4 3.2) เมื่อนักเรียนทําแบบฝVกทักษะแต.ละชุดเสร็จแล*ว ให*นักเรียนแต.ละคู.ช.วยกันตรวจสอบ ความถูกต*องจากเฉลยในภาคผนวกของแบบฝVกทักษะ หากมีเพื่อนในกลุ.มไม.เข*าใจ หรือทําแบบฝVกทักษะ คะแนนไม.ผ.านเกณฑ 75% ให*สมาชิกช.วยกันอธิบายจนเพื่อนทําแบบฝVกทักษะซ้ําผ.านเกณฑ จึงทําแบบฝVก ทักษะชุดต.อไปได* แล*วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน 4) ขั้นการสรุปบทเรียน/ทดสอบเนื้อหายอย ครูและนักเรียนร.วมกันสรุปบทเรียน โดยครูใช*การถาม-ตอบ จนเกิดข*อสรุป ดังนี้ อสมการ เปนประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธของจํานวนโดยมีสัญลักษณ < , > , ≤ , ≥ หรือ ≠ แสดงความสัมพันธ ประโยคสัญลักษณจะประกอบด*วย 2 ส.วน ได*แก. 1) ส.วนที่กล.าวถึงจํานวน และ 2) ส.วนที่แสดง ความสัมพันธระหว.างจํานวน 5) ขั้นความสําเร็จของกลุม ครูและนักเรียนร.วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู*ในชั่วโมงนี้ และร.วมกัน อภิปรายประเด็นสิ่งที่ทําให*แต.ละกลุ.มทํากิจกรรมได*สําเร็จตามกําหนดเวลา และได*คะแนนสูง 7. สื่อและแหลงเรียนรู 7.1 สื่อการเรียนรู 1) แบบฝVกทักษะคณิตศาสตร เรื่อง อสมการ เล.มที่ 1 ความหมายและคําตอบของ อสมการเชิงเส*นตัวแปรเดียว 7.2 แหลงเรียนรู/แหลงสืบคน(เพิ่มเติม) 1) http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=78495 2) http://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/inequation
  • 6. 5 8. การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช*ในการวัด เกณฑการประเมิน / เกณฑการตัดสิน ด*านความรู* (K) 1) แบบฝVกทักษะระหว.างเรียน (แบบฝVกทักษะที่ 1.1 , 1.2 , 2.1 , 2.2) เกณฑ#การประเมิน อยู.ในภาคผนวกของแบบฝVกทักษะ เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนทําคะแนนได*มากกว.า ร*อยละ 75 ถือว.าผ.าน ด*านทักษะ/ กระบวนการ (P) 1) แบบประเมินด*านทักษะ/ กระบวนการ 2) แบบฝVกทักษะระหว.างเรียน (แบบฝVกทักษะที่ 1.1 , 1.2 , 2.1 , 2.2) เกณฑ#การประเมินดานทักษะ/ กระบวนการ 0 - 3 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง 4 - 6 คะแนน ได*ระดับพอใช* 7 - 9 คะแนน ได*ระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน ด*านคุณลักษณะ อันพึงประสงค (A) 1) แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค# 0 - 6 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง 7 – 12 คะแนน ได*ระดับพอใช* 13 – 18 คะแนน ได*ระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม การทํางานกลุ.ม เกณฑ#การประเมินพฤติกรรม การทํางานกลุม 0 - 7 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง 8 – 11 คะแนน ได*ระดับพอใช* 12 – 15 คะแนน ได*ระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน
  • 7. 6 แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ (P) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเสน ตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 1) คําชี้แจง ให*สังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแต.ละคน แล*วทําเครื่องหมาย √ ลงในช.องระดับคะแนน เลขที่ ชื่อ -นามสกุล การให*เหตุผล การแก*ป>ญหา การเชื่อมโยง รวม ระดับคุณภาพ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชื่อ ผู*ประเมิน (นางสาววิรมณ ป>sนงาม)
  • 8. 7 คะแนน ทักษะ/กระบวนการ (P) ที่ปรากฏใหเห็น การใหเหตุผล 3 ใช*ยุทธวิธีดําเนินการแก*ป>ญหาสําเร็จ อย.างมีประสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล ในการใช*วิธีการดังกล.าวได*เข*าใจชัดเจน 2 ใช*ยุทธวิธีดําเนินการแก*ป>ญหาสําเร็จ แต.อธิบายถึงเหตุผล ในการใช*วิธีการดังกล.าวไม.ชัดเจน 1 ใช*ยุทธวิธีดําเนินการแก*ป>ญหา สําเร็จเพียงบางส.วน อธิบายถึงเหตุผล ในการใช*วิธีการดังกล.าวได*บางส.วน 0 มีร.องรอยการดําเนินการแก*ป>ญหาบางส.วน เริ่มคิดว.าทําไมจึงต*องใช*วิธีการนั้น แล*วหยุด อธิบายต.อไม.ได* และแก*ป>ญหาไม.สําเร็จ การแกปJญหา 3 อธิบายเหตุผลและร.วมแสดงความคิดเห็นในการแก*ป>ญหาได*ชัดเจน 2 อธิบายเหตุผลและร.วมแสดงความคิดเห็นในการแก*ป>ญหาได*บางส.วนแต.ไม.ชัดเจน 1 อธิบายเหตุผลไม.ได*แต.ร.วมแสดงความคิดเห็นในการแก*ป>ญหาบางส.วนได* 0 อธิบายเหตุผลไม.ได*และร.วมแสดงความคิดเห็นในการแก*ป>ญหาไม.ได* การเชื่อมโยง 3 นําความรู* หลักการ วิธีการทางคณิตศาสตรมาใช*เพื่อเชื่อมโยงกับกลุ.มสาระ การเรียนรู*คณิตศาสตรและสาระอื่นๆ แล*วนํามาใช*ในชีวิตประจําวันได*ชัดเจน 2 นําความรู* หลักการ วิธีการทางคณิตศาสตรมาใช*เพื่อเชื่อมโยงกับกลุ.มสาระ การเรียนรู*คณิตศาสตรและสาระอื่นๆ แล*วนํามาใช*ในชีวิตประจําวันได*บางส.วน 1 นําความรู* หลักการ วิธีการทางคณิตศาสตรมาใช*เพื่อเชื่อมโยงกับกลุ.มสาระการเรียนรู* คณิตศาสตรและสาระอื่นๆ แล*วนํามาใช*ในชีวิตประจําวันได*บางส.วนแต.ไม.ชัดเจน 0 ไม.สามารถนําความรู* หลักการ วิธีการทางคณิตศาสตรมาใช*เพื่อเชื่อมโยงกับกลุ.มสาระ การเรียนรู*คณิตศาสตรและสาระอื่น และนํามาใช*ในชีวิตประจําวันไม.ได* เกณฑ#การใหคะแนนดานทักษะ/กระบวนการ (P)
  • 9. 8 0-3 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง 4-6 คะแนน ได*ระดับพอใช* 7-9 คะแนน ได*ระดับดี นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน เกณฑ#การประเมินระดับคุณภาพดานทักษะ/กระบวนการ (P) เกณฑ#การตัดสินดานทักษะ/กระบวนการ (P)
  • 10. 9 ชื่อกลุ.ม .................................................................................................................................ชั้น................................ คําชี้แจง ให*สังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแต.ละกลุ.ม แล*วทําเครื่องหมาย √ ลงในช.องระดับคะแนน ลําดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 1 การแบ.งหน*าที่กันอย.างเหมาะสม 2 ความร.วมมือกันทํางาน 3 การแสดงความคิดเห็น 4 การรับฟ>งความคิดเห็น 5 ความมีน้ําใจช.วยเหลือกัน รวม ลงชื่อ (นางสาววิรมณ ป>sนงาม) ผู*ประเมิน แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
  • 11. 10 ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให* 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให* 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให* 1 คะแนน ไมปฏิบัติหรือไมแสดงพฤติกรรม ให* 0 คะแนน 0 - 7 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง 8 – 11 คะแนน ได*ระดับพอใช* 12 – 15 คะแนน ได*ระดับดี นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน เกณฑ#การใหคะแนน เกณฑ#การประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม เกณฑ#การตัดสิน
  • 12. 11 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเสน ตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 1) คําชี้แจง ให*สังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแต.ละคน แล*วทําเครื่องหมาย √ ลงในช.องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค#ดาน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 ใฝOเรียนรู ตั้งใจเรียนรู* เอาใจใส.ในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน สนใจเข*าร.วมกิจกรรมการเรียนรู*ต.างๆ มุงมั่นในการทํางาน มีความตั้งใจในการทํางานที่ได*รับมอบหมาย มีความอดทนและไม.ท*อแท*ต.ออุปสรรคเพื่อให*งานสําเร็จ มีความพยายามในการทํางานที่ได*รับมอบหมาย ลงชื่อ ผู*ประเมิน (นางสาววิรมณ ป>sนงาม) ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให* 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให* 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให* 1 คะแนน 0 - 6 คะแนน ได*ระดับปรับปรุง 7 – 12 คะแนน ได*ระดับพอใช* 13 – 18 คะแนน ได*ระดับดี นักเรียนได*ระดับพอใช*ขึ้นไป ถือว.าผ.าน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A) เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค# เกณฑ#การตัดสิน เกณฑ#การใหคะแนน
  • 13. 12 ขอเสนอแนะและความคิดเห็นของผูบริหาร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นายกษิดิ์เดช พุ.มสาขา) รองผู*อํานวยการกลุ.มบริหารวิชาการ
  • 14. 13 บันทึกหลังสอน ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ปJญหาและอุปสรรค ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ขอเสนอแนะ แนวทางแกปJญหา หรือพัฒนา ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ผู*สอน (นางสาววิรมณ ป>sนงาม)
  • 16. แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3 หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 2) เวลา 3 ชั่วโมง _______________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ อสมการจะมีคําตอบก็ตอเมื่ออสมการนั้นมีตัวแปรอยูดวย และเมื่อนําจํานวนมาแทนตัวแปร ในอสมการแลวทําใหอสมการนั้นเป"นจริง จํานวนเหลานั้นเรียกวา คําตอบของอสมการ (solution of inequality) อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว จําแนกตามลักษณะของคําตอบได 3 แบบ ดังนี้ 1) อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มีจํานวนจริงบางจํานวนเป"นคําตอบ 2) อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มีจํานวนจริงทุกจํานวนเป"นคําตอบ 3) อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่ไมมีจํานวนจริงใดเป"นคําตอบ บทนิยาม อสมการ A สมมูล (equivalent) กับอสมการ B ก็ตอเมื่อ คําตอบทุกคําตอบ ของอสมการ A เป"นคําตอบของอสมการ B และคําตอบทุกคําตอบของอสมการ B เป"นคําตอบของอสมการ A 2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ค 4.2 ม.3/1 ใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวในการแกปBญหา พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ ค 6.1 ม.3/3 ใชเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดเหมาะสม ค 6.1 ม.3/4 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJในการสื่อสาร การสื่อความหมาย ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตรJและนําความรู หลักการ กระบวนการ ทางคณิตศาสตรJ ไปเชื่อมโยงกับศาสตรJอื่นๆ
  • 17. 3. จุดประสงค#การเรียนรู ดานความรู (K) นักเรียนสามารถ 1) หาคําตอบของอสมการโดยวิธีการแทนคาได 2) บอกไดวาอสมการใดสมมูลกัน ดานทักษะกระบวนการ (P) 1) การใหเหตุผล 2) การแกปBญหา 3) การสื่อสาร สื่อความหมายและการนําเสนอ ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A) 1) ใฝQเรียนรู 2) ซื่อสัตยJ สุจริต 4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการแกปBญหา 5. สาระการเรียนรู 1) คําตอบของอสมการ 2) อสมการที่สมมูลกัน 6. กระบวนการเรียนรู 1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน ครูจัดกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถกลุมละ 4 คน ประกอบไปดวยนักเรียนที่เรียนเกง 1 คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน (ตามที่ครูไดแบงไวเดิม) 2) ขั้นนําเสนอบทเรียน 2.1) ครูทบทวนความรูเรื่องการหาคําตอบของสมการวา คําตอบของสมการ คือ จํานวนที่แทน ตัวแปรในสมการแลวทําใหสมการเป"นจริง เชน
  • 18. ตัวอยางที่ 1 จงหาคําตอบของสมการโดยใชวิธีลองแทนคาตัวแปรในสมการ x - 1 = 14 ถาแทนคา x ดวย 16 จะไดสมการ 16 - 1 = 14 15 = 14 เป"นเท็จ ถาแทนคา x ดวย 15 จะไดสมการ 15 - 1 = 14 14 = 14 เป"นจริง ดังนั้น 15 เป"นคําตอบของสมการ 2.2) ครูแนะนํานักเรียนวาในการหาคําตอบของอสมการสามารถทําไดโดยวิธีลองแทนคาตัวแปร ไดเชนกัน พรอมยกตัวอยางแลวใหนักเรียนชวยกันลองแทนคาตัวแปรดวยจํานวนลงในอสมการ โดยครูใช เทคนิคการตั้งคําถามเพื่อกระตุนการคิดของนักเรียนจนนําไปสูการหาคําตอบของอสมการไดถูกตอง ตัวอยางที่ 2 จงหาคําตอบของอสมการ x 3≥ ถาแทน x ดวย 3 จะได 3 = 3เป"นจริง ถาแทน x ดวยจํานวนจริงใดโดยที่ x 3> จะไดอสมการเป"นจริง ดังนั้น คําตอบของอสมการ x 3≥ คือจํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือ เทากับ 3 ตัวอยางที่ 3 จงหาคําตอบของอสมการ a + 5 < a + 6 เนื่องจากเมื่อแทน a ดวยจํานวนจริงใดๆ ใน a + 5 < a + 6 แลวจะไดอสมการเป"นจริงเสมอ ดังนั้น คําตอบของอสมการ a + 5 < a + 6 คือจํานวนจริงทุกจํานวน ตัวอยางที่ 4 จงหาคําตอบของอสมการ 7m 14≠ ถาแทน m ดวย 2 จะได 7 2 14× ≠ 14 14≠ เป"นเท็จ ถาแทน m ดวยจํานวนจริงใดโดยที่ m 2> จะไดอสมการเป"นจริง ถาแทน m ดวยจํานวนจริงใดโดยที่ m 2< จะไดอสมการเป"นจริง ดังนั้น คําตอบของอสมการ 7m 14≠ คือ จํานวนจริงทุกจํานวนที่ไมเทากับ 2
  • 19. 2.3) ครูใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันหาคําตอบของอสมการแตละขอตอไปนี้ 1) x - 7 < 0 กับ x < 7 2) 4x - 16≥ กับ x - 4≥ 3) x + 2 15≠ กับ x 13≠ นักเรียนรวมกันพิจารณาคําตอบของอสมการแตละขอ ซึ่งจะพบวาอสมการในแตละขอมีคําตอบ เหมือนกันทุกคําตอบ ครูจึงแนะนําบทนิยามของอสมการที่สมมูลกัน 3) ขั้นการเขากลุม 3.1) นักเรียนศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในใบความรูที่ 3 , 4 และทําแบบฝTกทักษะที่ 3.1 , 3.2 , 3.3 และ 4 ตามลําดับในแบบฝTกทักษะคณิตศาสตรJ เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบของ อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (หนา 18-27) เป"นรายบุคคล โดยครูเดินดูการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน สังเกตพฤติกรรมระหวางการทํากิจกรรม พรอมทั้งเปZดโอกาสใหนักเรียนซักถามหากเกิดปBญหาหรือ ขอสงสัย และคอยใหคําแนะนําเมื่อพบนักเรียนที่ปฏิบัติไมถูกตอง 3.2) เมื่อนักเรียนทําแบบฝTกทักษะเสร็จแลวใหนักเรียนแตละคูชวยกันตรวจแบบฝTกทักษะจาก เฉลยในภาคผนวกของแบบฝTกทักษะ หากเพื่อนไมเขาใจ หรือทําแบบฝTกทักษะคะแนนไมผานเกณฑJ 75% ใหสมาชิกในกลุมชวยกันอธิบายจนเพื่อนทําแบบฝTกทักษะซ้ําผานเกณฑJ แลวบันทึกคะแนนลงในแบบ บันทึกคะแนน 4) ขั้นการสรุปบทเรียน/ทดสอบเนื้อหายอย ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทเรียน โดยครูใชการถาม-ตอบ จนเกิดขอสรุปดังนี้ อสมการจะมีคําตอบก็ตอเมื่ออสมการนั้นมีตัวแปรอยูดวย และเมื่อนําจํานวนมาแทนตัวแปร ในอสมการแลวทําใหอสมการนั้นเป"นจริง จํานวนเหลานั้นเรียกวา คําตอบของอสมการ อสมการสองอสมการจะสมมูลกันก็ตอเมื่อมีคําตอบทุกคําตอบเหมือนกัน 5) ขั้นความสําเร็จของกลุม 1) ครูและนักเรียนชวยกันรวบรวมคะแนนจากการทําแบบฝTกทักษะของสมาชิกทุกคนในแตละ กลุมแลวนํามาเรียงลําดับคะแนนเป"นความสําเร็จของกลุมในการเรียนรูชั่วโมงนี้ เพื่อกระตุนใหแตละกลุม มีความกระตือรือรน และชวยเหลือกันและกันในการทํากิจกรรม 2) ครูใหขอเสนอแนะ จุดเดน จุดดอย และวิธีการปรับปรุงกระบวนการทํางานของแตละกลุม เพื่อใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 20. 7. สื่อและแหลงเรียนรู 7.1 สื่อการเรียนรู 1) แบบฝTกทักษะคณิตศาสตรJ เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบของ อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 7.2 แหลงเรียนรู/แหลงสืบคน(เพิ่มเติม) 1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตรJ เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาป_ที่ 3 ของ สสวท. 2) http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=78495 3) http://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/inequation 8. การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใชในการวัด เกณฑJการประเมิน / เกณฑJการตัดสิน ดานความรู (K) 1) แบบฝTกทักษะระหวางเรียน (แบบฝTกทักษะที่ 3.1 , 3.2 , 3.3 , และ 4) เกณฑ#การประเมินแบบฝGกทักษะ อยูในภาคผนวกของแบบฝTกทักษะ เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนทําคะแนนไดมากกวา รอยละ 75 ถือวาผาน ดานทักษะ/ กระบวนการ (P) 1) แบบประเมินดานทักษะ/ กระบวนการ 2) แบบฝTกทักษะระหวางเรียน (แบบฝTกทักษะที่ 3.1 , 3.2 , 3.3 , และ 4) เกณฑ#การประเมินดานทักษะ/ กระบวนการ 0 - 3 คะแนน ไดระดับปรับปรุง 4 - 6 คะแนน ไดระดับพอใช 7 - 9 คะแนน ไดระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน ดานคุณลักษณะ อันพึงประสงคJ (A) 1) แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงคJ เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค# 0 - 6 คะแนน ไดระดับปรับปรุง 7 – 12 คะแนน ไดระดับพอใช 13 – 18 คะแนน ไดระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน
  • 21. สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใชในการวัด เกณฑJการประเมิน / เกณฑJการตัดสิน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม การทํางานกลุม เกณฑ#การประเมินพฤติกรรม การทํางานกลุม 0 - 8 คะแนน ไดระดับปรับปรุง 8 – 11 คะแนน ไดระดับพอใช 12 – 15 คะแนน ไดระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน
  • 22. แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ (P) แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 2) คําชี้แจง ใหสังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแตละคน แลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองระดับคะแนน เลขที่ ชื่อ -นามสกุล การใหเหตุผล การแกปBญหา การสื่อสารฯ รวม ระดับคุณภาพ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชื่อ ผูประเมิน (นางสาววิรมณ ปBwนงาม)
  • 23. 0-3 คะแนน ไดระดับปรับปรุง 4-6 คะแนน ไดระดับพอใช 7-9 คะแนน ไดระดับดี นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน คะแนน ทักษะ/กระบวนการ (P) ที่ปรากฏใหเห็น การใหเหตุผล 3 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปBญหาสําเร็จ อยางมีประสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล ในการใชวิธีการดังกลาวไดเขาใจชัดเจน 2 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปBญหาสําเร็จ แตอธิบายถึงเหตุผล ในการใชวิธีการดังกลาวไมชัดเจน 1 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปBญหา สําเร็จเพียงบางสวน อธิบายถึงเหตุผล ในการใชวิธีการดังกลาวไดบางสวน 0 มีรองรอยการดําเนินการแกปBญหาบางสวน เริ่มคิดวาทําไมจึงตองใชวิธีการนั้น แลวหยุด อธิบายตอไมได และแกปBญหาไมสําเร็จ การแกปKญหา 3 อธิบายเหตุผลและรวมแสดงความคิดเห็นในการแกปBญหาไดชัดเจน 2 อธิบายเหตุผลและรวมแสดงความคิดเห็นในการแกปBญหาไดบางสวนแตไมชัดเจน 1 อธิบายเหตุผลไมไดแตรวมแสดงความคิดเห็นในการแกปBญหาบางสวนได 0 อธิบายเหตุผลไมไดและรวมแสดงความคิดเห็นในการแกปBญหาไมได การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนําเสนอทางคณิตศาสตร# 3 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJที่ถูกตอง นําเสนอขอมูลตามลําดับ ขั้นตอน เป"นระบบ กระชับ ชัดเจน และมีรายละเอียดสมบูรณJ 2 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJ นําเสนอขอมูลตามลําดับขั้นตอน ไดถูกตอง แตขาดรายละเอียดที่สมบูรณJ 1 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJ พยายามนําเสนอขอมูลประกอบ ชัดเจนบางสวน 0 ใชภาษาและสัญลักษณJทางคณิตศาสตรJอยางงายไมได การนําเสนอขอมูลไมชัดเจน เกณฑ#การใหคะแนนดานทักษะ/กระบวนการ (P) เกณฑ#การประเมินระดับคุณภาพดานทักษะ/กระบวนการ (P) เกณฑ#การตัดสินดานทักษะ/กระบวนการ (P)
  • 24. ชื่อกลุม .......................................................................................................................................ชั้น.......................... คําชี้แจง ใหสังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแตละกลุม แลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองระดับคะแนน ลําดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 1 การแบงหนาที่กันอยางเหมาะสม 2 ความรวมมือกันทํางาน 3 การแสดงความคิดเห็น 4 การรับฟBงความคิดเห็น 5 ความมีน้ําใจชวยเหลือกัน รวม ลงชื่อ (นางสาววิรมณ ปBwนงาม) ผูประเมิน แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
  • 25. ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 1 คะแนน ไมปฏิบัติหรือไมแสดงพฤติกรรม ให 0 คะแนน 0 - 7 คะแนน ไดระดับปรับปรุง 8 – 11 คะแนน ไดระดับพอใช 12 – 15 คะแนน ไดระดับดี นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน เกณฑ#การใหคะแนน เกณฑ#การประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม เกณฑ#การตัดสิน
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 2) คําชี้แจง ใหสังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนแตละคน แลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค#ดาน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 ใฝOเรียนรู ตั้งใจเรียนรู เอาใจใสในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน สนใจเขารวมกิจกรรมการเรียนรูตางๆ ซื่อสัตย# สุจริต ใหขอมูลที่ถูกตอง และเป"นจริง ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกตอง ละอาย และเกรงกลัวที่จะทําความผิด ปฏิบัติตนตอผูอื่นดวยความซื่อตรง ลงชื่อ ผูประเมิน (นางสาววิรมณ ปBwนงาม) ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 1 คะแนน 0 - 6 คะแนน ไดระดับปรับปรุง 7 – 12 คะแนน ไดระดับพอใช 13 – 18 คะแนน ไดระดับดี นักเรียนไดระดับพอใชขึ้นไป ถือวาผาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค# เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค# เกณฑ#การตัดสิน เกณฑ#การใหคะแนน
  • 27. ขอเสนอแนะและความคิดเห็นของผูบริหาร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นายกษิดิ์เดช พุมสาขา) รองผูอํานวยการกลุมบริหารวิชาการ
  • 28. บันทึกหลังสอน ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ปKญหาและอุปสรรค ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ขอเสนอแนะ แนวทางแกปKญหา หรือพัฒนา ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ผูสอน (นางสาววิรมณ ปBwนงาม)
  • 30. 1 แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3 หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการ เชิงเสนตัวแปรเดียว (ชั่วโมงที่ 3) เวลา 3 ชั่วโมง _______________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ คําตอบของอสมการสวนใหญจะเปนจํานวนจริงซึ่งมีคําตอบหลายคําตอบสามารถแสดงได%ด%วย เส%นจํานวน ซึ่งทําให%เห็นคําตอบได%ชัดเจนขึ้น เรียกเส%นจํานวนนี้วา กราฟแสดงคําตอบของอสมการ กราฟของจํานวนทุกจํานวน เราแทนด%วยจุดทุกจุดบนเส%นจํานวน ซึ่งเขียนเปนเส%นตรงยาว ไมมีขีดจํากัด โดยแบงสวนและกําหนดตําแหนง 0 และจํานวนอื่นไว%ตามความจําเปน เชน - จุดหนึ่งจุดใดบนเส%นจํานวนเพียงหนึ่งจุดจะแทนได%เพียงจํานวนเดียว - จุดที่อยูทางขวาจะแทนจํานวนที่มีคามากกวาจุดที่อยูทางซ%ายเสมอ ถ%าอสมการใดมีคําตอบเปนจํานวนจริงทุกจํานวนแตยกเว%นจํานวนใดแล%ว เราก็แสดงคําตอบโดย ลากเส%นทึบบนเส%นจํานวนทั้งเส%น และจุดโปรง ( ) ตรงคาจํานวนที่ยกเว%นนั้น เชน คําตอบของอสมการมักจะเปนจํานวนจริง ซึ่งมีมากมายหลายคําตอบตอเนื่องกันบ%าง ไมตอเนื่องกันบ%าง ดังนั้นการเขียนกราฟของคําตอบที่เปนจํานวนตอเนื่องกัน ต%องเขียนเส%นจํานวนสวนนั้น ให%เปนเส%นหนากวาสวนอื่น ดังนี้ x 2> | | | | | | | 7654321 | | | | | | | คําตอบของอสมการ x 4≠ | | | | | | | 43210-1-2
  • 31. 2 สวนที่เปนเส%นทึบ คือกราฟของจํานวนทุกจํานวนที่มากกวา 2 สังเกตวาที่จุด 2 นั้น ทําเปน จุดโปรงไว%เพื่อแสดงวาไมรวมคา 2 อยูในคําตอบนั้น x 2≤ กราฟนี้แสดง จํานวนทุกจํานวนที่มีคาน%อยกวาหรือเทากับ 2 ลงไป หรือ จํานวน ทุกจํานวนที่ไมเกิน 2 ซึ่งรวม 2 อยูในกราฟนี้ด%วย จึงแสดงจุดทึบไว%ที่ตําแหนงของ 2 ด%วย 2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ค 4.2 ม.3/1 ใช%ความรู%เกี่ยวกับอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวในการแก%ป=ญหา พร%อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ ค 6.1 ม.3/3 ใช%เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได%เหมาะสม ค 6.1 ม.3/4 ใช%ภาษาและสัญลักษณBทางคณิตศาสตรBในการสื่อสาร การสื่อความหมาย ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรู%ตางๆ ในคณิตศาสตรBและนําความรู% หลักการ กระบวนการ ทางคณิตศาสตรB ไปเชื่อมโยงกับศาสตรBอื่นๆ 3. จุดประสงค#การเรียนรู ดานความรู (K) นักเรียนสามารถ 1) เขียนกราฟแสดงคําตอบของอสมการได% 2) บอกได%วากราฟอสมการที่กําหนดให%เปนคําตอบของอสมการใด ดานทักษะกระบวนการ (P) 1) การเชื่อมโยง 2) การให%เหตุผล 3) การแก%ป=ญหา | | | | | | | 43210-1-2
  • 32. 3 ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A) 1) มีวินัย รับผิดชอบ 2) มุงมั่นในการทํางาน 4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1) ความสามารถในการคิด 2) ความสามารถในการแก%ป=ญหา 5. สาระการเรียนรู กราฟแสดงคําตอบของอสมการ 6. กระบวนการเรียนรู 1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน 1.1) ครูจัดกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถกลุมละ 4 คน ประกอบไปด%วยนักเรียนที่เรียนเกง 1 คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน (ตามที่ครูได%แบงไว%เดิม) 1.2) ครูแจ%งคะแนนรวมของแตละกลุมจากการทําแบบฝFกทักษะชั่วโมงที่แล%วอีกครั้งและเสริมแรง ทางบวกด%วยการชมเชยกลุมที่ได%คะแนนลําดับต%นๆ และให%กําลังใจกลุมที่ได%คะแนนน%อย 2) ขั้นนําเสนอบทเรียน 2.1) ครูทบทวนความรู%เรื่องการหาคําตอบของสมการและเส%นจํานวนบนกระดาน และใช% คําถามนําให%นักเรียนเห็นวาเราสามารถใช%ความรู%เกี่ยวกับเรื่องการเขียนเส%นจํานวนมาเขียนกราฟ แสดงคําตอบของอสมการได% 2.2) ครูอธิบายการเขียนกราฟแสดงคําตอบของอสมการ และยกตัวอยางประกอบ ดังนี้ กราฟนี้แสดงจํานวนทุกจํานวนที่มีคาตั้งแต 2− ถึง 1 ซึ่งรวม 2− และ 1 ด%วย จึงแสดงจุดทึบไว%ที่ตําแหนงของ 2− และ 1 นั่นคือ - 2 x 1≤ ≤ | | | | | | | 210-1-2-3-4 | | | | | | | 210-1-2-3-4
  • 33. 4 กราฟนี้แสดง จํานวนทุกจํานวนที่มีคาตั้งแต 2− แตมีคาน%อยกวา 1 ซึ่งรวม 2− ด%วย จึงแสดงจุดทึบไว%ที่ตําแหนงของ 2− แตไมรวม 1 จึงแสดงจุดโปรงไว%ที่ตําแหนงของ 1 นั่นคือ -2 x 1≤ < กราฟนี้แสดง จํานวนทุกจํานวนที่มีคามากกวา 2− แตมีคาน%อยกวา 1 ซึ่งไมรวม 2− และ 1 จึงแสดงจุดโปรงไว%ที่ตําแหนงของ 2− และ 1 นั่นคือ - 2 x 1< < 3) ขั้นการเขากลุม 3.1) นักเรียนศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในใบความรู%ที่ 5 และทําแบบฝFกทักษะที่ 5.1 , 5.2 และ 5.3 ตามลําดับในแบบฝFกทักษะคณิตศาสตรB เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบของอสมการเชิง เส%นตัวแปรเดียว (หน%า 27-36) ในขั้นตอนนี้ครูเดินดูการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน กระตุ%นให%นักเรียน แสดงศักยภาพของตนเองให%เต็มความสามารถ แสดงบทบาทหน%าที่สอดคล%องกับการเรียนรู%แบบรวมมือ เทคนิค TAI (Team Assisted Individualization) และสังเกตพฤติกรรมระหวางการทํากิจกรรม พร%อมทั้งเป[ดโอกาสให%นักเรียนซักถามหากเกิดป=ญหาหรือข%อสงสัย รวมทั้งคอยให%คําแนะนําเมื่อพบ นักเรียนที่ปฏิบัติไมถูกต%อง 3.2) เมื่อนักเรียนทําแบบฝFกทักษะเสร็จแล%วให%จับคูชวยกันตรวจแบบฝFกทักษะจากเฉลย ในภาคผนวกของแบบฝFกทักษะ หากเพื่อนในกลุมไมเข%าใจ หรือทําแบบฝFกทักษะคะแนนไมผานเกณฑB 75% ให%สมาชิกชวยกันอธิบายจนเพื่อนทําแบบฝFกทักษะซ้ําผานเกณฑB แล%วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึก คะแนน 4) ขั้นการสรุปบทเรียน/ทดสอบเนื้อหายอย 4.1) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทเรียน โดยครูใช%การถาม-ตอบ จนเกิดข%อสรุปดังนี้ คําตอบของอสมการสวนใหญจะเปนจํานวนจริง ซึ่งมีมากมายหลายคําตอบตอเนื่องกันบ%าง ไมตอเนื่องกันบ%าง สามารถแสดงได%ด%วยกราฟแสดงคําตอบของอสมการ ซึ่งจะชวยทําให%เห็นคําตอบ ได%ชัดเจนขึ้น การเขียนกราฟของคําตอบที่เปนจํานวนตอเนื่องกัน ต%องเขียนเส%นจํานวนสวนนั้นให%เปนเส%น หนากวาสวนอื่น ถ%าอสมการใดมีคําตอบเปนจํานวนจริงทุกจํานวนแตยกเว%นจํานวนใดแล%ว เราก็แสดง คําตอบโดยลากเส%นทึบบนเส%นจํานวนทั้งเส%น และจุดโปรง ( ) ตรงคาจํานวนที่ยกเว%นนั้น หรือถ%ารวม จํานวนนั้นด%วยแสดงคําตอบโดยใช% จุดทึบ ( ) ตรงคาจํานวนนั้น 4.2) นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน (post-test) เรื่องความหมายและคําตอบของอสมการ เชิงเส%นตัวแปรเดียว (ชุด A) ในแบบฝFกทักษะคณิตศาสตรB เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบ | | | | | | | 210-1-2-3-4
  • 34. 5 ของอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว หน%า 36-38 เปนรายบุคคล 4.3) ครูตรวจให%คะแนนนักเรียน หากพบวานักเรียนคนใดได%คะแนนไมถึงเกณฑB 75% ครูจะเปน ผู%ให%ความชวยเหลือ โดยการสอนเพิ่มเติมจนนักเรียนเข%าใจดีแล%ว จากนั้นแจกแบบทดสอบชุด B ให% นักเรียนกลับไปทํา 5) ขั้นความสําเร็จของกลุม 5.1) ครูและนักเรียนชวยกันรวบรวมคะแนนจากการทําแบบทดสอบหลังเรียน (post-test) เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวของสมาชิกแตละคนในกลุม 5.2) ครูนําคะแนนของแตละกลุมมาทําการหาคาเฉลี่ยเปนคะแนนกลุมเพื่อจัดระดับความสําเร็จ ของกลุม เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว แล%วแจ%งให%นักเรียนทราบ กลุมที่ ได%คะแนนสูงสุดเปนกลุมชนะเลิศ (Super Team) สวนกลุมที่เหลือครูจัดเปน 2 ระดับตามคะแนนเฉลี่ย ให%เปนกลุมรองชนะเลิศ (Great Team) และกลุมดี (Good Team) 7. สื่อและแหลงเรียนรู 7.1 สื่อการเรียนรู 1) แบบฝFกทักษะคณิตศาสตรB เรื่อง อสมการ เลมที่ 1 ความหมายและคําตอบของ อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว 2) แบบทดสอบหลังเรียน (post-test) เรื่อง ความหมายและคําตอบของอสมการเชิงเส%น ตัวแปรเดียว 7.2 แหลงเรียนรู/แหลงสืบคน(เพิ่มเติม) 1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตรB เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปfที่ 3 ของ สสวท. 2) http://www.sosmath.com/algebra/inequalities/ineq01/ineq01.html 3) http://www.bangkapi.ac.th/MediaOnLine/BenjawanMD/Inequation/ page64.htm 8. การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑBการประเมิน / เกณฑBการตัดสิน ด%านความรู% (K) 1) แบบฝFกทักษะระหวางเรียน (แบบฝFกทักษะที่ 5.1 , 5.2 และ 5.3) เกณฑ#การประเมิน อยูในภาคผนวกของแบบฝFกทักษะ เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนทําคะแนนได%มากกวา ร%อยละ 75 ถือวาผาน
  • 35. 6 สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑBการประเมิน / เกณฑBการตัดสิน 2) แบบทดสอบหลังเรียน (post-test) เรื่อง ความหมายและคําตอบของ อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว เกณฑ#การประเมิน ตอบถูก 1 ข%อ ได% 1 คะแนน ตอบผิด 1 ข%อ หรือไมตอบได% 0 คะแนน เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนทําคะแนนได%มากกวา ร%อยละ 75 ถือวาผาน (ตั้งแต 8 คะแนนขึ้นไป) ด%านทักษะ/ กระบวนการ (P) 1) แบบประเมินด%านทักษะ/ กระบวนการ 2) แบบฝFกทักษะระหวางเรียน (แบบฝFกทักษะที่ 5.1 , 5.2 และ 5.3) 3) แบบทดสอบหลังเรียน (post-test) เรื่อง ความหมายและคําตอบของ อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว เกณฑ#การประเมินดานทักษะ/ กระบวนการ 0 - 3 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง 4 - 6 คะแนน ได%ระดับพอใช% 7 - 9 คะแนน ได%ระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน ด%านคุณลักษณะ อันพึงประสงคB (A) 1) แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงคB เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค# 0 - 6 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง 7 – 12 คะแนน ได%ระดับพอใช% 13 – 18 คะแนน ได%ระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน
  • 36. 7 สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑBการประเมิน / เกณฑBการตัดสิน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม การทํางานกลุม เกณฑ#การประเมินพฤติกรรม การทํางานกลุม 0 - 7 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง 8 – 11 คะแนน ได%ระดับพอใช% 12 – 15 คะแนน ได%ระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน
  • 38. 1 แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3 หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 5 เรื่อง การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยใชสมบัติการบวก ของการไมเทากัน (ชั่วโมงที่ 1) เวลา 2 ชั่วโมง _______________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ สมบัติการบวกของการไมเทากัน เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ 1. ถ%า a b< แล%ว a + c b + c< 2. ถ%า a b≤ แล%ว a + c b + c≤ 3. ถ%า a > b แล%ว a + c b + c> 4. ถ%า a b≥ แล%ว a + c b + c≥ หมายเหตุ สมบัติการบวกของการไมเทากัน ถ%าลบด%วย c มีความหมายเชนเดียวกับการบวกด%วย - c นั่นเอง 2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ค 4.2 ม.3/1 ใช%ความรู%เกี่ยวกับอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวในการแก%ป2ญหา พร%อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ ค 6.1 ม.3/3 ใช%เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได%เหมาะสม ค 6.1 ม.3/4 ใช%ภาษาและสัญลักษณ<ทางคณิตศาสตร<ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรู%ตางๆ ในคณิตศาสตร<และนําความรู% หลักการ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร< ไปเชื่อมโยงกับศาสตร<อื่นๆ
  • 39. 2 3. จุดประสงค#การเรียนรู ดานความรู (K) นักเรียนสามารถ 1) อธิบายสมบัติการบวกของการไมเทากันได% 2) ใช%สมบัติการบวกของการไมเทากันได%ถูกต%อง ดานทักษะ/กระบวนการ (P) 1) การเชื่อมโยง 2) การให%เหตุผล 3) การสื่อสาร สื่อความหมายและการนําเสนอ ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A) 1) ใฝCเรียนรู% 2) มุงมั่นในการทํางาน 4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการแก%ป2ญหา 3) ความสามารถในการใช%ทักษะชีวิต 5. สาระการเรียนรู สมบัติการบวกของการไมเทากัน 6. กระบวนการเรียนรู 1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน 1.1) ครูจัดกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถกลุมละ 4 คน ประกอบไปด%วยนักเรียนที่เรียนเกง 1 คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน (ตามที่ครูได%แบงไว%เดิม) 1.2) นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน (pre-test) เรื่อง การแก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว โดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน ในแบบฝKกทักษะคณิตศาสตร< เรื่อง อสมการ เลมที่ 2 การแก% อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน (หน%า 1-2) โดยใช%เวลา 10 นาที
  • 40. 3 2) ขั้นนําเสนอบทเรียน 2.1) ครูทบทวนความรู%เรื่องสมบัติการเทากันของสมการ คือ สมบัติการบวก แล%วให%นักเรียน รวมกันอภิปรายวานําไปใช%อยางไรได%บ%าง ครูใช%คําถามนําเพื่อให%นักเรียนสรุปได%วานําไปใช%ในการแก% สมการ 2.2) ครูแนะนําสมบัติการบวกของการไมเทากัน และแนะนํานักเรียนวาในการแก%อสมการ สามารถทําได%คล%ายกับการแก%สมการ โดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน พร%อมยกตัวอยาง ดังนี้ 1) ถ%า 6 < 12 แล%ว 6 + 3 < 12 + 3 จะได% 9 < 15 2) ถ%า -10 < 5 แล%ว -10 + (-2) < 5 + (-2) จะได% -12 < 3 3) ถ%า -2 > -4 แล%ว -2 + 1 > -4 + 1 จะได% -1 > -3 4) ถ%า x - 8 > 26 แล%ว x – 8 + 8 > 26 + 8 จะได% x > 34 5) ถ%า 4x + 10 ≥ 9 แล%ว 4x + 10 + 3 ≥ 9 + 3 จะได% 4x + 13 ≥ 12 2.3) ครูยกตัวอยางเพิ่มเติมบนกระดานดํา 4 – 5 ข%อ แล%วขออาสาสมัครแตละกลุมออกมาทํา เพื่อฝKกให%นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การให%เหตุผล และกล%าแสดงออก 3) ขั้นการเขากลุม 3.1) นักเรียนศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในใบความรู%ที่ 1 และทําแบบฝKกทักษะที่ 1 ตามลําดับในแบบ ฝKกทักษะคณิตศาสตร< เรื่อง อสมการ เลมที่ 2 การแก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวก ของการไมเทากัน (หน%า 3-6) เปRนรายบุคคล ในขณะที่นักเรียนทํากิจกรรมครูเดินดูการปฏิบัติกิจกรรมของ นักเรียน สังเกตพฤติกรรมระหวางการทํากิจกรรม พร%อมทั้งเปUดโอกาสให%นักเรียนซักถามถ%าเกิดป2ญหา หรือข%อสงสัย และคอยให%คําแนะนําเมื่อพบนักเรียนที่ปฏิบัติไมถูกต%อง 3.2) เมื่อนักเรียนทําแบบฝKกทักษะเสร็จแล%วแตละคูชวยกันตรวจแบบฝKกทักษะจากเฉลยใน ภาคผนวกของแบบฝKกทักษะ ถ%ามีเพื่อนในกลุมไมเข%าใจ หรือทําแบบฝKกทักษะคะแนนไมผานเกณฑ< 75% ให%ชวยกันอธิบายจนเพื่อนทําแบบฝKกทักษะซ้ําผานเกณฑ< แล%วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน 4) ขั้นการสรุปบทเรียน/ทดสอบเนื้อหายอย ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทเรียน โดยครูใช%การถาม-ตอบ จนเกิดข%อสรุปดังนี้ สมบัติการบวกของการไมเทากัน เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ
  • 41. 4 1. ถ%า a b< แล%ว a + c b + c< 2. ถ%า a b≤ แล%ว a + c b + c≤ 3. ถ%า a > b แล%ว a + c b + c> 4. ถ%า a b≥ แล%ว a + c b + c≥ 5) ขั้นความสําเร็จของกลุม 1) ครูและนักเรียนชวยกันรวบรวมคะแนนจากการทําแบบฝKกทักษะของสมาชิกทุกคนในแตละ กลุมแล%วนํามาเรียงลําดับคะแนนเปRนความสําเร็จของกลุมในการเรียนรู%ชั่วโมงนี้ เพื่อกระตุ%นให%แตละกลุม มีความกระตือรือร%น ชวยเหลือกันและกันในการทํากิจกรรม 2) ครูให%กลุมที่ได%คะแนนสูงสุด ออกมาเลาถึงวิธีและกระบวนการทํางานของกลุมตนเอง หน%าชั้นเรียน แล%วให%กลุมอื่นๆ ชวยกันวิเคราะห<สิ่งที่ทําให%ประสบความสําเร็จ 7. สื่อและแหลงเรียนรู 7.1 สื่อการเรียนรู 1) แบบฝKกทักษะคณิตศาสตร< เรื่อง อสมการ เลมที่ 2 การแก%อสมการเชิงเส%น ตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน 2) แบบทดสอบกอนเรียน (pre-test) เรื่อง การแก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียว โดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน 7.2 แหลงเรียนรู/แหลงสืบคน(เพิ่มเติม) 1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร< เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาป]ที่ 3 ของ สสวท. 2) http://www.purplemath.com/modules/ineqsolv.htm 8. การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑ<การประเมิน / เกณฑ<การตัดสิน ด%านความรู% (K) 1) แบบฝKกทักษะระหวางเรียน (แบบฝKกทักษะที่ 1) เกณฑ#การประเมิน อยูในภาคผนวกของแบบฝKกทักษะ เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนทําคะแนนได%มากกวา ร%อยละ 75 ถือวาผาน
  • 42. 5 สิ่งที่จะวัด เครื่องมือที่ใช%ในการวัด เกณฑ<การประเมิน / เกณฑ<การตัดสิน ด%านทักษะ/ กระบวนการ (P) 1) แบบประเมินด%านทักษะ/ กระบวนการ 2) แบบฝKกทักษะระหวางเรียน (แบบฝKกทักษะที่ 1) เกณฑ#การประเมินดานทักษะ/ กระบวนการ 0 - 3 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง 4 - 6 คะแนน ได%ระดับพอใช% 7 - 9 คะแนน ได%ระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน ด%านคุณลักษณะ อันพึงประสงค< (A) ด%านคุณลักษณะ อันพึงประสงค< (A) (ตอ) 1) แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค< เกณฑ#การประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค# 0 - 6 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง 7 – 12 คะแนน ได%ระดับพอใช% 13 – 18 คะแนน ได%ระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม การทํางานกลุม เกณฑ#การประเมินพฤติกรรม การทํางานกลุม 0 - 7 คะแนน ได%ระดับปรับปรุง 8 – 11 คะแนน ได%ระดับพอใช% 12 – 15 คะแนน ได%ระดับดี เกณฑ#การตัดสิน นักเรียนได%ระดับพอใช%ขึ้นไป ถือวาผาน
  • 44. 1 แนวทางการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TAI กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร# ชั้นมัธยมศึกษาป*ที่ 3 หนวยการเรียนรู อสมการ เวลา 16 ชั่วโมง แนวทางการจัดการเรียนรูที่ 6 เรื่อง การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยใชสมบัติการบวก ของการไมเทากัน (ชั่วโมงที่ 2) เวลา 2 ชั่วโมง _______________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ สมบัติการบวกของการไมเทากัน เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ 1. ถ%า a b< แล%ว a + c b + c< 2. ถ%า a b≤ แล%ว a + c b + c≤ 3. ถ%า a > b แล%ว a + c b + c> 4. ถ%า a b≥ แล%ว a + c b + c≥ หมายเหตุ สมบัติการบวกของการไมเทากัน ถ%าลบด%วย c มีความหมายเชนเดียวกับการบวกด%วย - c นั่นเอง 2. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ค 4.2 ม.3/1 ใช%ความรู%เกี่ยวกับอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวในการแก%ป2ญหา พร%อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ ค 6.1 ม.3/3 ใช%เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได%เหมาะสม ค 6.1 ม.3/4 ใช%ภาษาและสัญลักษณ<ทางคณิตศาสตร<ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย ค 6.1 ม.3/5 เชื่อมโยงความรู%ตางๆ ในคณิตศาสตร<และนําความรู% หลักการ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร< ไปเชื่อมโยงกับศาสตร<อื่นๆ
  • 45. 2 3. จุดประสงค#การเรียนรู ดานความรู (K) นักเรียนสามารถ 1) แก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากันได% 2) เขียนกราฟแสดงคําตอบของอสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวได% ดานทักษะ/กระบวนการ (P) 1) การเชื่อมโยง 2) การให%เหตุผล 3) การแก%ป2ญหา ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค# (A) 1) ใฝCเรียนรู% 2) มุงมั่นในการทํางาน 4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก%ป2ญหา 5. สาระการเรียนรู การแก%อสมการเชิงเส%นตัวแปรเดียวโดยใช%สมบัติการบวกของการไมเทากัน 6. กระบวนการเรียนรู 1) ขั้นจัดกลุมนักเรียน ครูจัดกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถกลุมละ 4 คน ประกอบไปด%วยนักเรียนที่เรียนเกง 1 คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน (ตามที่ครูได%แบงไว%เดิม) 2) ขั้นนําเสนอบทเรียน 2.1) ครูทบทวนสมบัติการบวกของการไมเทากัน โดยการยกตัวอยางแล%วถาม-ตอบ 2.2) ครูยกตัวอยางการใช%สมบัติการบวกของการไมเทากันในการแก%อสมการ
  • 46. 3 ตัวอยางที่ 1 จงแก%อสมการ x - 8 ≤ 3 จาก x - 8 ≤ 3 นํา 8 มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ x - 8 + 8 ≤ 3 + 8 x ≤ 11 ดังนั้น คําตอบของอสมการ x - 8 ≤ 3 คือ จํานวนจริงทุกจํานวนที่น%อยกวา หรือเทากับ 11 และเขียนกราฟแสดงคําตอบได%ดังนี้ ตัวอยางที่ 2 จงแก%อสมการ 4(x + 5) < 3x - 1 จาก 4(x + 5) < 3x - 1 จะได% 4x + 20 < 3x - 1 นํา -20 มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ 4x + 20 + (-20) < 3x - 1 + (-20) 4x < 3x - 21 นํา -3x มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ 4x + (-3x) < 3x - 21 + (-3x) x < -21 ดังนั้น คําตอบของอสมการ 4(x + 5) < 3x – 1 คือจํานวนจริงทุกจํานวน ที่น%อยกวา -21 และเขียนกราฟแสดงคําตอบได%ดังนี้ ตัวอยางที่ 3 จํานวนนับที่มีคามากที่สุดที่เปLนไปได%จากอสมการ 10x - 7 ≤ 9x + 12 คือจํานวนใด จาก 10x - 7 ≤ 9x + 12 นํา 7 มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ 10x - 7 + 7 ≤ 9x + 12 + 7 10x ≤ 9x + 19 นํา -9x มาบวกทั้งสองข%างของอสมการ 10x + (-9x) ≤ 9x + 19 + (-9x) x ≤ 19 คําตอบของอสมการ 10x - 7 ≤ 9x + 12 คือจํานวนจริงทุกจํานวนที่น%อยกวาหรือ เทากับ 19 | | | | | | | 141312111098 | | | | | | | -17-18-19-20-21-22-23