SlideShare a Scribd company logo
โครงงานสุขภาพประเภททดลอง ชื่อโครงงาน การทำน้ำหมักชีวภาพ
ผู้จัดทำ ด.ญ. พรวลัย  เกียรติฐิตินันท์   ม.1/11  เลขที่ 35 นำเสนอ อ. สุมน  คณานิตย์
คำนำ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาสุขศึกษา   จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการทดลองเรื่อง การทำน้ำหมักชีวภาพ  เพื่อที่จะให้ผู้สนใจได้รับความรู้เรื่องของการทำน้ำหมักชีวภาพจากผักผลไม้ที่เหลือใช้ในบ้านและใบไม้ที่ร่วงหล่นตามสนามหญ้ามาก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเอง  ครอบครัว  ชุมชน  และสังคมของประเทศ
สารบัญ		                                               					        		       หน้า แนวคิดที่ทำโครงงาน					1 วัตถุประสงค์ในการทำโครงงาน             	2 ขั้นตอนการดำเนินงาน   				3 ผลการดำเนินงาน					7 ประโยชน์ที่ได้รับ          	    			8          สาระเพิ่มเติม						9
แนวคิดที่ทำโครงงาน ผู้จัดทำต้องการทราบว่าพืชผัก  ผลไม้ที่เหลือจากการใช้หรือบริโภค  หรือใบไม้ใบหญ้าที่ร่วงหล่นในบ้านสามารถนำมาทำน้ำหมักชีวภาพเหมือนกับที่ได้อ่านในหนังสือได้หรือไม่ซึ่งในปัจจุบันแนวความคิดในการใช้ประโยชน์จากของเหลือใช้ และลดการใช้สารเคมีในครอบครัวและสังคมได้มีการรณรงค์กันอย่างมาก  อีกทั้งบ้านของผู้จัดทำมีต้นไม้และใบไม้มาก   จึงคิดทำการทดลองนี้ขึ้น  เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง  ครอบครัว  และส่วนรวม 1
วัตถุประสงค์ในการทำโครงงาน 1.เพื่อศึกษาว่าพืชผัก  ผลไม้ที่เหลือจากการใช้หรือบริโภค  หรือใบไม้ใบหญ้าที่ร่วงหล่นในบ้านสามารถนำมาทำน้ำหมักชีวภาพได้หรือไม่ 2.เพื่อสามารถนำความรู้ความเข้าใจที่ได้จากการอ่านเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพสู่การปฎิบัติจริงได้หรือไม่ 2
ขั้นตอนการดำเนินงาน การเตรียมวัสดุ 1. พืชผักผลไม้  ใบไม้ใบหญ้า 3 ส่วน (3 กิโลกรัม) 2. น้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน (1 กิโลกรัม) 3. น้ำ 10 ส่วน (10 ลิตร) สูตร การทำน้ำหมักชีวภาพ 3 : 1 : 10  (ผลไม้: น้ำตาล: น้ำ) 3
การเตรียมอุปกรณ์ 1. ถังพลาสติก 1 ใบ 2. มีดสำหรับหั่นพืช และเขียงไว้รองหั่นพืช 3. กาละมัง 1 ใบ 4
วิธีการทำ หั่นพืชทุกชนิดยาวประมาณ 1-2 นิ้ว  ใส่กาละมัง ใส่น้ำตาล  แล้วคลุกเคล้าให้ทั่ว นำพืชที่คลุกเคล้าน้ำตาลแล้วไปไว้ในร่ม 2 ชั่วโมง 5
วิธีการทำ 4.    เมื่อครบ 2 ชั่วโมง  ให้เอาพืชในกาละมังใส่ถังพลาสติกประมาณ 4ใน 5 ส่วนของถัง  ปิดฝาให้แน่นหนา  เก็บถังหมักไว้ในที่ร่ม  อย่าให้ถูกแสงแดด หมั่นเปิดฝาระบายก๊าซออก  และปิดกลับให้สนิททันที  หมักไว้ 3 เดือน 6
ผลการดำเนินงาน พืชผักผลไม้ที่เหลือจากการใช้หรือบริโภค  หรือใบไม้ใบหญ้าที่ร่วงหล่นในบ้านสามารถนำมาทำน้ำหมักชีวภาพได้จริง ผู้จัดทำสามารถทำน้ำหมักชีวภาพได้สำเร็จ  และนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในครอบครัว 7
ประโยชน์ที่ได้รับ เราสามารถนำสิ่งเหลือใช้ที่คิดว่าไม่มีประโยชน์หรือไม่มีคุณค่ามาก่อให้เกิดประโยชน์และมูลค่าขึ้นมาต่อตนเอง  ครอบครัว  และสังคมโดยส่วนรวม ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัวในการซื้อปุ๋ย  สารเคมีในการกำจัดของเสียในท่อระบายน้ำและห้องส้วม  และลดขยะในบ้าน ผู้จัดทำได้รับความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ใหม่ๆ จากการทดลองที่ได้ฝึกปฏิบัติจริง 5 8
สาระเพิ่มเติมการทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักชีวภาพคือ การนำเอาพึช ผัก ผลไม้และสัตว์ชนิดต่างๆ มาหมักกับน้ำตาลทำให้เกิดจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์จำนวนมาก  ซึ่งจุลินทรีย์จะไปช่วยสลายธาตุอาหารต่างๆ  ที่อยู่ในพืช  มีคุณค่าในแง่ของธาตุอาหารพืชเมื่อถูกย่อยสลายโดยกระบวนการย่อยสลายของแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์สารต่างๆ จะถูกปลดปล่อยออกมา มี 2 ประเภท คือ 1. น้ำหมักชีวภาพจากพืช  ทำได้โดยการนำเศษพืชสด ผสมกับน้ำตาลทรายแดง หรือกากน้ำตาล 2. น้ำหมักชีวภาพจากสัตว์ ทำได้โดยการนำวัตถุดิบจากสัตว์ เช่น ก้างปลา       หัวปลา หอยเชอรี่ เป็นต้น 9
วิธีทำน้ำหมักชีวภาพ นำผลไม้หรือพืชผักหรือเศษอาหาร 3 ส่วน  น้ำตาล 1ส่วน  น้ำ 10 ส่วน  ใส่รวมกันในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท  เว้นที่ว่างไว้ประมาณ 1ใน 5ของภาชนะ  หมั่นเปิดฝาคลายแก๊สออก  และปิดกลับให้สนิททันที  วางไว้ในที่ร่ม  อย่าให้ถูกแสงแดด  หมักไว้ 3 เดือน สูตร  การทำน้ำหมักชีวภาพ 3 : 1 : 10           (ผลไม้: น้ำตาล: น้ำ)  หมักนาน 3 เดือน 10
การขยายน้ำหมักชีวภาพ นำน้ำหมักชีวภาพที่หมักได้ 3เดือนแล้ว ใช้เฉพาะน้ำใสเป็นหัวเชื้อน้ำหมักชีวภาพ 1 ส่วน  น้ำตาล 1 ส่วน  และน้ำ 10 ส่วน  ใส่รวมในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท เว้นที่ว่างไว้ประมาณ 1ใน 5ของภาชนะ  หมั่นเปิดฝาคลายแก๊สออก  และปิดกลับให้สนิททันที  วางไว้ในที่ร่ม  อย่าให้ถูกแสงแดด  หมักไว้ 2 เดือน สูตร การขยายน้ำหมักชีวภาพ 1 : 1 : 10           (น้ำหมักชีวภาพ: น้ำตาล: น้ำ)          หมักขยายต่อทุก 2 เดือน 11
เคล็ดลับในการทำน้ำหมักให้ได้ผลดี 1. ควรเลือกใช้เศษพืชผัก  ผลไม้  หรือเศษอาหารที่ยังไม่บูดเน่า  สับหรือบดให้เป็นชิ้นเล็กๆ ใส่ในภาชนะที่มีปากกว้าง  ปิดฝาภาชนะทิ้งไว้จนได้เป็นน้ำหมักชีวภาพ 2. ในระหว่างการหมัก ห้ามปิดฝาภาชนะจนแน่นสนิทเพราะอาจทำให้ระเบิดได้  เนื่องจากระหว่างการหมักจะเกิดก๊าซต่างๆ ขึ้น  เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  ก๊าซมีเทน  เป็นต้น 3. ไม่ควรเลือกพืชจำพวกเปลือกส้มใช้ทำน้ำหมัก  เพราะมีน้ำมันที่ผิวเปลือกจะทำให้จุลินทรีย์ไม่ย่อยสลาย 12
ข้อควรระวังในการทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักชีวภาพเป็นของเหลว  ถ้าใช้กับพืชต้องใช้เจือจาง  พืชแต่ละชนิดจะตอบสนองคล้ายกับได้รับฮอร์โมนพืชถ้าใช้ความเข้มข้นสูง  ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโตได้ ในระหว่างการหมัก ห้ามปิดฝาภาชนะจนแน่นสนิทเพราะอาจทำให้ระเบิดได้  เนื่องจากระหว่างการหมักจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน  เป็นต้น หากมีการใช้น้ำประปาในการหมักต้องต้มให้สุกหรือตากแดด  เพื่อไล่คลอรีนที่เป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพควรหมักให้ได้ที่  ถ้าหมักไม่ได้ที่น้ำตาลที่เหลืออยู่อาจทำให้พืชเกิดปัญหาเชื้อราได้ 13
การใช้น้ำหมักชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพ น้ำหมักชีวภาพมีค่าความเข้มข้นของสารละลายสูง (ค่า EC เกิน 4 Ds/m) และเป็นกรดจัด  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 3.6 - 4.5 ก่อนนำไปใช้กับพืชต้องปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างให้เป็นกลาง  โดยเติมหินฟอสเฟต  ปูนไดโลไมล์  ปูนขาว  กระดูกป่น อย่างใดอย่างหนึ่ง  อัตรา 5-10 กิโลกรัม/น้ำหมักชีวภาพ 100 ลิตร  แล้วผสมน้ำหมักชีวภาพ อัตรา 30-50 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร น้ำหมักชีวภาพจะเป็นประโยชน์สูงสุด  ต้องใช้เวลาในการหมักจนแน่ใจว่าจุลินทรีย์ย่อยสลายอินทรีย์สมบูรณ์แล้ว  จึงนำไปใช้กับพืชได้ น้ำหมักชีวภาพแต่ละสูตรมีธาตุอาหารเกือบทุกชนิด  แต่มีในปริมาณต่ำ  จึงควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยคอก  ปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ  ปุ๋ยพืชสด  หรือปุ๋ยเคมีเสริม 14
ประโยชน์ของน้ำหมักชีวภาพ ด้านการเกษตร ช่วยปรับสภาพความเป็นกรด-ด่างในดินและน้ำ ช่วยปรับสภาพของดินให้ร่วนซุย  อุ้มน้ำและอากาศได้ดียิ่งขึ้น ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุในดินให้เป็นธาตุอาหารแก่พืช ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืชให้สมบูรณ์แข็งแรง  ต้านทานโรคและแมลง ช่วยสร้างฮอร์โมนพืช  ทำให้ผลผลิตสูง  และคุณภาพของผลผลิตดีขึ้น ช่วยให้ผลผลิตคงทน  เก็บรักษาไว้ได้นาน 15
ด้านปศุสัตว์ ช่วยกำจัดกลิ่นเหม็นจากฟาร์มสัตว์ไก่สุกรได้ภายใน 24 ชั่วโมง ช่วยกำจัดน้ำเสียจากฟาร์มได้ภายใน 1-2 สัปดาห์ ช่วยป้องกันโรคอหิวาห์และโรคระบาดต่างๆ ในสัตว์แทนยาปฏิชีวนะและอื่นๆได้ ช่วยกำจัดแมลงวัน  ด้วยการตัดวงจรชีวิตของหนอนแมลงวัน ช่วยเสริมสุขภาพสัตว์เลี้ยงให้แข็งแรง  มีความต้านทานโรค  ให้ผลผลิตสูง  และอัตราการรอดสูง 16
ด้านการประมง ช่วยควบคุมคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำได้ ช่วยแก้ปัญหาโรคพยาธิในน้ำ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ ช่วยรักษาโรคแผลต่างๆ ในปลา กบ จระเข้ เป็นต้นได้ ช่วยลดปริมาณขี้เลนในบ่อ  และไม่เน่าเหม็น  สามารถนำไปผสมเป็นปุ๋ยหมัก  ใช้กับพืชต่างๆ ได้ 17
ด้านสิ่งแวดล้อม ช่วยบำบัดน้ำเสียจากการเกษตร  ปศุสัตว์การประมง  โรงงนอุตสาหกรรม  ชุมชน  และสถานประกอบการทั่วไป ช่วยกำจัดกลิ่นเหม็นจากกองขยะ  การเลี้ยงสัตว์โรงงานอุตสาหกรรม  และชุมชน ปรับสภาพของเสีย เช่น เศษอาหารจากครัวเรือนให้เป็นประโยชน์ต่อการเลี้ยงสัตว์และการเพาะปลูกพืช กำจัดขยะด้วยการย่อยสลายให้มีจำนวนลดน้อยลง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ช่วยปรับสภาพอากาศที่เสียให้สดชื่น  และมีสภาพดีขึ้น 18
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
Fah Philip
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
ศกลวรรณ ปิ่นแก้ว
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
Suwannaphum Charoensiri
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
surakitsiin
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดโครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดWannwipha Kanjan
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
Joy Jantima
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยKanokwan Makepothi
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศmungmat
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
LeoBlack1017
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
renusaowiang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 

What's hot (20)

ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดโครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทย
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 

Similar to โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaRn Tik Tok
 
โครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลกโครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลกพัน พัน
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)firstnarak
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EMการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EMDr.Woravith Chansuvarn
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
Wichai Likitponrak
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
SitthichaiChaikhan
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
Kanokwan Rapol
 
งานนำเสนอ ปิติกานต์สงแทน
งานนำเสนอ ปิติกานต์สงแทนงานนำเสนอ ปิติกานต์สงแทน
งานนำเสนอ ปิติกานต์สงแทนpitikan2557
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fernimagine
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้Beaubeau Reedus
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
Wichai Likitponrak
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
nampingtcn
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106Kinyokung
 

Similar to โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
โครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลกโครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลก
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EMการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
งานนำเสนอ ปิติกานต์สงแทน
งานนำเสนอ ปิติกานต์สงแทนงานนำเสนอ ปิติกานต์สงแทน
งานนำเสนอ ปิติกานต์สงแทน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องน้ำหมักผลไม้
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
 
botany
botanybotany
botany
 

โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ

  • 2. ผู้จัดทำ ด.ญ. พรวลัย เกียรติฐิตินันท์ ม.1/11 เลขที่ 35 นำเสนอ อ. สุมน คณานิตย์
  • 3. คำนำ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาสุขศึกษา จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการทดลองเรื่อง การทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อที่จะให้ผู้สนใจได้รับความรู้เรื่องของการทำน้ำหมักชีวภาพจากผักผลไม้ที่เหลือใช้ในบ้านและใบไม้ที่ร่วงหล่นตามสนามหญ้ามาก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมของประเทศ
  • 4. สารบัญ หน้า แนวคิดที่ทำโครงงาน 1 วัตถุประสงค์ในการทำโครงงาน 2 ขั้นตอนการดำเนินงาน 3 ผลการดำเนินงาน 7 ประโยชน์ที่ได้รับ 8 สาระเพิ่มเติม 9
  • 5. แนวคิดที่ทำโครงงาน ผู้จัดทำต้องการทราบว่าพืชผัก ผลไม้ที่เหลือจากการใช้หรือบริโภค หรือใบไม้ใบหญ้าที่ร่วงหล่นในบ้านสามารถนำมาทำน้ำหมักชีวภาพเหมือนกับที่ได้อ่านในหนังสือได้หรือไม่ซึ่งในปัจจุบันแนวความคิดในการใช้ประโยชน์จากของเหลือใช้ และลดการใช้สารเคมีในครอบครัวและสังคมได้มีการรณรงค์กันอย่างมาก อีกทั้งบ้านของผู้จัดทำมีต้นไม้และใบไม้มาก จึงคิดทำการทดลองนี้ขึ้น เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม 1
  • 6. วัตถุประสงค์ในการทำโครงงาน 1.เพื่อศึกษาว่าพืชผัก ผลไม้ที่เหลือจากการใช้หรือบริโภค หรือใบไม้ใบหญ้าที่ร่วงหล่นในบ้านสามารถนำมาทำน้ำหมักชีวภาพได้หรือไม่ 2.เพื่อสามารถนำความรู้ความเข้าใจที่ได้จากการอ่านเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพสู่การปฎิบัติจริงได้หรือไม่ 2
  • 7. ขั้นตอนการดำเนินงาน การเตรียมวัสดุ 1. พืชผักผลไม้ ใบไม้ใบหญ้า 3 ส่วน (3 กิโลกรัม) 2. น้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน (1 กิโลกรัม) 3. น้ำ 10 ส่วน (10 ลิตร) สูตร การทำน้ำหมักชีวภาพ 3 : 1 : 10 (ผลไม้: น้ำตาล: น้ำ) 3
  • 8. การเตรียมอุปกรณ์ 1. ถังพลาสติก 1 ใบ 2. มีดสำหรับหั่นพืช และเขียงไว้รองหั่นพืช 3. กาละมัง 1 ใบ 4
  • 9. วิธีการทำ หั่นพืชทุกชนิดยาวประมาณ 1-2 นิ้ว ใส่กาละมัง ใส่น้ำตาล แล้วคลุกเคล้าให้ทั่ว นำพืชที่คลุกเคล้าน้ำตาลแล้วไปไว้ในร่ม 2 ชั่วโมง 5
  • 10. วิธีการทำ 4. เมื่อครบ 2 ชั่วโมง ให้เอาพืชในกาละมังใส่ถังพลาสติกประมาณ 4ใน 5 ส่วนของถัง ปิดฝาให้แน่นหนา เก็บถังหมักไว้ในที่ร่ม อย่าให้ถูกแสงแดด หมั่นเปิดฝาระบายก๊าซออก และปิดกลับให้สนิททันที หมักไว้ 3 เดือน 6
  • 11. ผลการดำเนินงาน พืชผักผลไม้ที่เหลือจากการใช้หรือบริโภค หรือใบไม้ใบหญ้าที่ร่วงหล่นในบ้านสามารถนำมาทำน้ำหมักชีวภาพได้จริง ผู้จัดทำสามารถทำน้ำหมักชีวภาพได้สำเร็จ และนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในครอบครัว 7
  • 12. ประโยชน์ที่ได้รับ เราสามารถนำสิ่งเหลือใช้ที่คิดว่าไม่มีประโยชน์หรือไม่มีคุณค่ามาก่อให้เกิดประโยชน์และมูลค่าขึ้นมาต่อตนเอง ครอบครัว และสังคมโดยส่วนรวม ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัวในการซื้อปุ๋ย สารเคมีในการกำจัดของเสียในท่อระบายน้ำและห้องส้วม และลดขยะในบ้าน ผู้จัดทำได้รับความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ใหม่ๆ จากการทดลองที่ได้ฝึกปฏิบัติจริง 5 8
  • 13. สาระเพิ่มเติมการทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักชีวภาพคือ การนำเอาพึช ผัก ผลไม้และสัตว์ชนิดต่างๆ มาหมักกับน้ำตาลทำให้เกิดจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์จำนวนมาก ซึ่งจุลินทรีย์จะไปช่วยสลายธาตุอาหารต่างๆ ที่อยู่ในพืช มีคุณค่าในแง่ของธาตุอาหารพืชเมื่อถูกย่อยสลายโดยกระบวนการย่อยสลายของแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์สารต่างๆ จะถูกปลดปล่อยออกมา มี 2 ประเภท คือ 1. น้ำหมักชีวภาพจากพืช ทำได้โดยการนำเศษพืชสด ผสมกับน้ำตาลทรายแดง หรือกากน้ำตาล 2. น้ำหมักชีวภาพจากสัตว์ ทำได้โดยการนำวัตถุดิบจากสัตว์ เช่น ก้างปลา หัวปลา หอยเชอรี่ เป็นต้น 9
  • 14. วิธีทำน้ำหมักชีวภาพ นำผลไม้หรือพืชผักหรือเศษอาหาร 3 ส่วน น้ำตาล 1ส่วน น้ำ 10 ส่วน ใส่รวมกันในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท เว้นที่ว่างไว้ประมาณ 1ใน 5ของภาชนะ หมั่นเปิดฝาคลายแก๊สออก และปิดกลับให้สนิททันที วางไว้ในที่ร่ม อย่าให้ถูกแสงแดด หมักไว้ 3 เดือน สูตร การทำน้ำหมักชีวภาพ 3 : 1 : 10 (ผลไม้: น้ำตาล: น้ำ) หมักนาน 3 เดือน 10
  • 15. การขยายน้ำหมักชีวภาพ นำน้ำหมักชีวภาพที่หมักได้ 3เดือนแล้ว ใช้เฉพาะน้ำใสเป็นหัวเชื้อน้ำหมักชีวภาพ 1 ส่วน น้ำตาล 1 ส่วน และน้ำ 10 ส่วน ใส่รวมในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท เว้นที่ว่างไว้ประมาณ 1ใน 5ของภาชนะ หมั่นเปิดฝาคลายแก๊สออก และปิดกลับให้สนิททันที วางไว้ในที่ร่ม อย่าให้ถูกแสงแดด หมักไว้ 2 เดือน สูตร การขยายน้ำหมักชีวภาพ 1 : 1 : 10 (น้ำหมักชีวภาพ: น้ำตาล: น้ำ) หมักขยายต่อทุก 2 เดือน 11
  • 16. เคล็ดลับในการทำน้ำหมักให้ได้ผลดี 1. ควรเลือกใช้เศษพืชผัก ผลไม้ หรือเศษอาหารที่ยังไม่บูดเน่า สับหรือบดให้เป็นชิ้นเล็กๆ ใส่ในภาชนะที่มีปากกว้าง ปิดฝาภาชนะทิ้งไว้จนได้เป็นน้ำหมักชีวภาพ 2. ในระหว่างการหมัก ห้ามปิดฝาภาชนะจนแน่นสนิทเพราะอาจทำให้ระเบิดได้ เนื่องจากระหว่างการหมักจะเกิดก๊าซต่างๆ ขึ้น เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน เป็นต้น 3. ไม่ควรเลือกพืชจำพวกเปลือกส้มใช้ทำน้ำหมัก เพราะมีน้ำมันที่ผิวเปลือกจะทำให้จุลินทรีย์ไม่ย่อยสลาย 12
  • 17. ข้อควรระวังในการทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักชีวภาพเป็นของเหลว ถ้าใช้กับพืชต้องใช้เจือจาง พืชแต่ละชนิดจะตอบสนองคล้ายกับได้รับฮอร์โมนพืชถ้าใช้ความเข้มข้นสูง ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโตได้ ในระหว่างการหมัก ห้ามปิดฝาภาชนะจนแน่นสนิทเพราะอาจทำให้ระเบิดได้ เนื่องจากระหว่างการหมักจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน เป็นต้น หากมีการใช้น้ำประปาในการหมักต้องต้มให้สุกหรือตากแดด เพื่อไล่คลอรีนที่เป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพควรหมักให้ได้ที่ ถ้าหมักไม่ได้ที่น้ำตาลที่เหลืออยู่อาจทำให้พืชเกิดปัญหาเชื้อราได้ 13
  • 18. การใช้น้ำหมักชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพ น้ำหมักชีวภาพมีค่าความเข้มข้นของสารละลายสูง (ค่า EC เกิน 4 Ds/m) และเป็นกรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 3.6 - 4.5 ก่อนนำไปใช้กับพืชต้องปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างให้เป็นกลาง โดยเติมหินฟอสเฟต ปูนไดโลไมล์ ปูนขาว กระดูกป่น อย่างใดอย่างหนึ่ง อัตรา 5-10 กิโลกรัม/น้ำหมักชีวภาพ 100 ลิตร แล้วผสมน้ำหมักชีวภาพ อัตรา 30-50 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร น้ำหมักชีวภาพจะเป็นประโยชน์สูงสุด ต้องใช้เวลาในการหมักจนแน่ใจว่าจุลินทรีย์ย่อยสลายอินทรีย์สมบูรณ์แล้ว จึงนำไปใช้กับพืชได้ น้ำหมักชีวภาพแต่ละสูตรมีธาตุอาหารเกือบทุกชนิด แต่มีในปริมาณต่ำ จึงควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ ปุ๋ยพืชสด หรือปุ๋ยเคมีเสริม 14
  • 19. ประโยชน์ของน้ำหมักชีวภาพ ด้านการเกษตร ช่วยปรับสภาพความเป็นกรด-ด่างในดินและน้ำ ช่วยปรับสภาพของดินให้ร่วนซุย อุ้มน้ำและอากาศได้ดียิ่งขึ้น ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุในดินให้เป็นธาตุอาหารแก่พืช ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืชให้สมบูรณ์แข็งแรง ต้านทานโรคและแมลง ช่วยสร้างฮอร์โมนพืช ทำให้ผลผลิตสูง และคุณภาพของผลผลิตดีขึ้น ช่วยให้ผลผลิตคงทน เก็บรักษาไว้ได้นาน 15
  • 20. ด้านปศุสัตว์ ช่วยกำจัดกลิ่นเหม็นจากฟาร์มสัตว์ไก่สุกรได้ภายใน 24 ชั่วโมง ช่วยกำจัดน้ำเสียจากฟาร์มได้ภายใน 1-2 สัปดาห์ ช่วยป้องกันโรคอหิวาห์และโรคระบาดต่างๆ ในสัตว์แทนยาปฏิชีวนะและอื่นๆได้ ช่วยกำจัดแมลงวัน ด้วยการตัดวงจรชีวิตของหนอนแมลงวัน ช่วยเสริมสุขภาพสัตว์เลี้ยงให้แข็งแรง มีความต้านทานโรค ให้ผลผลิตสูง และอัตราการรอดสูง 16
  • 21. ด้านการประมง ช่วยควบคุมคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำได้ ช่วยแก้ปัญหาโรคพยาธิในน้ำ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ ช่วยรักษาโรคแผลต่างๆ ในปลา กบ จระเข้ เป็นต้นได้ ช่วยลดปริมาณขี้เลนในบ่อ และไม่เน่าเหม็น สามารถนำไปผสมเป็นปุ๋ยหมัก ใช้กับพืชต่างๆ ได้ 17
  • 22. ด้านสิ่งแวดล้อม ช่วยบำบัดน้ำเสียจากการเกษตร ปศุสัตว์การประมง โรงงนอุตสาหกรรม ชุมชน และสถานประกอบการทั่วไป ช่วยกำจัดกลิ่นเหม็นจากกองขยะ การเลี้ยงสัตว์โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชน ปรับสภาพของเสีย เช่น เศษอาหารจากครัวเรือนให้เป็นประโยชน์ต่อการเลี้ยงสัตว์และการเพาะปลูกพืช กำจัดขยะด้วยการย่อยสลายให้มีจำนวนลดน้อยลง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ช่วยปรับสภาพอากาศที่เสียให้สดชื่น และมีสภาพดีขึ้น 18