SlideShare a Scribd company logo
จิตวิทยาการแนะแนว
และการให้คาปรึกษา
จัดทาโดย
นิสิตหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู รุ่นที่ 2
ปีการศึกษา 2/2558 ห้องที่ 5 รุ่นที่ 2
อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.มัณฑรา ธรรมบุศย์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การแนะแนว หมายถึง กระบวนการทางการศึกษาที่ช่วยให้ บุคคลรู้จัก และ
เข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อม สามารถนาตนเองได้แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง และพัฒนา
ตนเองได้ตามศักยภาพ ปฏิบัติตนให้เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
การแนะแนวไม่ใช่การแนะนา อาจกล่าวได้ว่าการแนะแนวเป็นการช่วยเหลือ
ให้เขาสามารถช่วยตนเองได้
ความหมายของการแนะแนว
การที่วิชาการแนะแนวหรือปัจจุบันนี้นิยมเรียกว่า จิตวิทยาการแนะแนวเข้ามามีบทบาท
ในการศึกษามากขึ้นเนื่องจากเยาวชนเป็นผู้ที่มีความสาคัญต่อประเทศชาติ เพราะจะเป็นผู้ใหญ่ใน
อนาคต ซึ่งจะต้องรับผิดชอบประเทศชาติต่อไป จึงสมควรได้รับการส่งเสริมพัฒนาทุกๆด้าน ไม่
ว่าจะเป็นทางด้านร่างกายสติปัญญา อารมณ์สังคมและจิตใจ เพื่อช่วยให้เยาวชนเหล่านั้นสามารถ
ปรับตัวอยู่ในสักคมที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลาได้อย่างมีความสุข และเป็น
บุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นที่พึงประสงค์ของประเทศชาติ
ความสาคัญของการแนะแนว
ความมุ่งหมายของการแนะแนวสามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
1.ความมุ่งหมายทั่วไป
2.ความมุ่งหมายเฉพาะ
ความมุ่งหมายของการแนะแนว
ความมุ่งหมายทั่วไป หมายถึง ความมุ่งหมายของการแนะแนวโดยส่านรวมนั่นคือ การแนะแนวไม่ว่า
จะจัด ณ สถานที่ใดก็ตามย่อมจะมีความมุ่งหมายทั่วไปเหมือนกัน หรืออาจจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหน้าที่ของการ
แนะแนวก็ได้ซึ่งมี 3 ประการด้วยกัน
1.เพื่อป้องกันปัญหา ( Prevention ) นั้นคือการแนะแนวมุ่งป้องกันไม่ให้นักเรียนเกิดปัญหาหรือความ
ยุ่งยากในการดาเนินชีวิตของตนเพราะปัญหาและความยุ่งยากต่างๆ นั้น สามารถป้องกันได้และการปล่อยให้
นักเรียนเกินปัญหาขึ้นมาแล้วค่อยตามแก่ไขช่วยเหลือภายหลังนั้นทาได้ยากและต้องใช้เวลานาน ในบางกรณี
อาจจะแก้ไขไม่ได้อีกด้วย
2.เพื่อแก้ไขปัญหา ( Curation ) นั้นคือ การแนะแนวมุ่งจะให้ความช่วยเหลือนักเรียนในการแก้ไข
ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตน เพราะถ้าปล่อยให้นักเรียนประสบปัญหาโดยไม่ให้ความช่วยเหลือแล้ว นักเรียน
ย่อมจะไม่สามารถดารงตนอยู่ในสังคมอย่างปรกติสุขได้ และในบางครั้งอาจจะมีการปรับตัวที่ผิดๆ ทาให้เกิด
ปัญหาเพิ่มมากยิ่งขึ้น
ความมุ่งหมายของการแนะแนว (ต่อ)
3.เพื่อส่งเสริมพัฒนา ( Development ) นั่นคือการแนะแนวมุ่งจะให้การส่งเสริมนักเรียน
ทุกคนให้เกิดความเจริญงอกงามมีพัฒนาการในด้านต่างๆ อย่างสมบูรณ์ เพื่อให้นักเรียนแต่ละคน
จะได้รับการส่งเสริมและแสดงความสามารถในด้านต่างๆ ของตนออกมาอย่างเต็มที่ โดยไม่มีสิ่ง
ใดมาเป็นอุปสรรคขัดขวางความเจริญก้าวหน้าและพัฒนาการของนักเรียน
ความมุ่งหมายเฉพาะ หมายถึง ความมุ่งหมายของการแนะแนวที่สถานศึกษาซึ่งจัดให้มี
การบริการแนะแนวเป็นผู้กาหนดขึ้นมา เพื่อให้สอดคล้องกับปรัชญา เป้าหมายหลักสูตร และ
สภาพสังคมของสถานศึกษานั้นๆ แต่อย่างไรก็ตามความมุ่งหมายเฉพาะของการแนะแนวสาหลับ
สถานศึกษาแต่ละแห่งจะคล้ายคลึงกันไม่แตกต่างกันมากนัก
ความมุ่งหมายของการแนะแนว (ต่อ)
การแบ่งประเภทของการแนะแนวนั้น สามารถแบ่งได้มากมายตามลักษณะปัญหาของ
นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ แต่ก็พอจะสรุปแบ่งกันแนะแนวออกเป็นประเภท
ใหญ่ๆ ได้3 ประเภท คือ
1.การแนะแนวการศึกษา
2.การแนะแนวอาชีพ
3.การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม
ประเภทของการแนะแนว
การแนะแนวการศึกษา ( Educational Guidance )หมายถึง กระบวนการให้ความ
ช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องที่เกี่ยวกับการศึกษาโดยเฉพาะ เช่น แนวทางการศึกษาต่อ การเลือก
โปรแกรมการเรียน การลงทะเบียน หลักสูตร การเรียนการสอน การวัดผลประเมินผลของ
โรงเรียน การค้นคว้าเขียนรายงาน การอ่านหนังสือ การเตรียมตัวสอบ การสร้างสมาธิในการเรียน
การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
การให้บริการแนวแนวการศึกษา จะช่วยให้นักเรียนรู้จักเลือกและปรับตัวได้อย่าง
เหมาะสมในเรื่องการศึกษาเล่าเรียนของตน ทั้งยังช่วยให้นักเรียนสามารถวางแผนการศึกษาต่อ
ของตนได้อย่างเหมาะสมอีกด้วย
การแนะแนวการศึกษา
1.เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรการเรียนการสอนการวักผลประเมินผล
ตลอดจนระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ ของโรงเรียนเพื่อที่นักเรียนจะได้ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง
2.เพื่อช่วยให้นักเรียนได้รูจักและเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเลือก
แผนการเรียนได้อย่างถูกต้องตรงกับความเข้าใจ ความต้องการ ความถนัดและความสามารถของตน
3.เพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับข้อสนเทศทางการศึกษาต่อในด้านต่างๆ คุณสมบัติของผู้ที่จะเข้าศึกษา
วิธีการเข้าการศึกษา จานวนที่รับ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาเล่าเรียนและระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา เป็นต้น
4.เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ทางโรงเรียนจักขึ้นได้อย่าง
เหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้ความสามารถพิเศษของนักเรียนปรากฏเด่นชัดและได้รับการส่งเสริมพัฒนาอย่างเต็มที่
5.เฟื่อช่วยให้นักเรียนได้ประสบความสาเร็จในการศึกษาตามแผนการเรียนของตน
จุดมุ่งหมายของการแนะแนวการศึกษา
การแนะแนวอาชีพ ( Vocational Guidance )หมายถึงกระบวนการให้ความช่วยเหลือ
นักเรียนเกี่ยวกับการวางแผนและการตัดสินใจเลือกอาชีพ เพื่อช่วยให้นักเรียนได้คนพบอาชีพที่
เหมาะสมกับความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และสภาพร่างกายของตน
การให้บริการแนะแนวอาชีพ จะช่วยให้นักเรียนได้ค้นพบและตัดสินใจเลือกอาชีพได้
อย่างถูกต้องซึ่งจะเป็นผลให้นักเรียนมีความพึงพอใจในงานของตน และมีชีวิตการทางานที่มี
ประสิทธิภาพ เป็นการช่วยให้ทรัพยากรมนุษย์ได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้เกิดประโยชน์แก่สังคม
และประเทศชาติอย่างแท้จริง
การแนะแนวอาชีพ
1. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มองเห็นความสาคัญของอาชีพ
2. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพต่างๆ ที่มีอยู่ในท้องถิ่น และ
ในโลกกว้าง
3. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้ตระหนักถึงอิทธิพลของสิ่งต่างๆ เช่น ความถนัด ความสนใจ
บุคลิกภาพระดับสติปัญญา สภาพร่างกาย ที่มีความสาคัญต่อการตัดสินใจเลือกอาชีพ
4. เพื่อให้ข้อสนเทศแก่นักเรียนเกี่ยวกับอาชีพที่นักเรียนสนใจ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้มี
ความเข้าใจในอาชีพนั้นๆ ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น
5. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักวิธีการแสวงหางาน วิธีการสมัครงานวิธีการปรับตัวให้เข้ากับ
งานและวิธีการปฏิบัติตนให้มีความเจริญก้าวหน้าในการทางาน
6. เพื่อช่วยให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพที่สุจริตทุกอาชีพ
จุดมุ่งหมายของการแนะแนวอาชีพ
การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม ( Personal and Social Guidance )
หมายถึง กระบวนการให้ความช่วยเหลือนักเรียน ในเรื่องที่นอกเหลือจากด้าน
การศึกษาและอาชีพ เป็นการช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจตนเองและ
สภาพแวดล้อม ทาให้สามารถมีชีวิตและปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข
การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม
1. เพื่อช่วยให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะและบุคลิกภาพที่เหมาะสมเป็นที่ชื่นชมแก่ผู้พบเห็น
2. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักตนเอง ยอมรับความจริงเกี่ยวกับตนเอง และรู้จักปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
ของตนให้มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
3. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความเข้าใจผู้อื่น ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนมีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับ
ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ทาให้มีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
4. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักรักษาสุขภาพกายและสุขภาพจิตของตนเองให้ดีอยู่เสมอเพื่อจะได้ไม่เป็นปัญหา
หรืออุปสรรคต่อการดาเนินชีวิตของตน
5. เพื่อช่วยให้นักเรียนเป็นผู้มีเจตคติ ค่านิยมและจริยธรรมที่ถูกต้อง ไม่ประพฤติปฏิบัติตนไปในทางที่
เสื่อมเสีย
6. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างและใช่จ่ายเงินให้เกิดประโยชน์แก่ตนอย่างแท้จริง
จุดมุ่งหมายของการแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม
กระบวนการแนะแนวและช่วยเหลือนักเรียน
กระบวนการแนะแนวและช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
การที่ทางโรงเรียนมีความจาเป็นที่ต้องจัดให้มีบริการแนะแนวขึ้นในโรงเรียน ก็
เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่นักเรียนในการปรับตัว เนื่องจากสภาพสังคมในปัจจุบันมีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างมากมายและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น
ได้แก่
1.การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
2.การเปลี่ยนแปลงด้านงานอาชีพ
3.การเปลี่ยนแปลงด้านจานวนประชากร
4.การเปลี่ยนแปลงด้านศีลธรรมและวัฒนธรรม
5.ความเปลี่ยนแปลงด้านปรัชญาการศึกษาและหลักสูตร
สาเหตุที่ทาให้จาเป็นต้องมีการแนะแนว
บริการแนะแนวที่ถือปฏิบัติกันอยู่ในเวลานี้ ได้อาศัยทัศนะหรือแนวคิดดังต่อไปนี้เป็น
รากฐานคือ
1.บุคคลแต่ละคนที่เกิดมาย่อมมีความแตกต่างกันทั้งในทางร่างกาย สังคม อารมณ์ ความรู้
เชาว์ความถนัดตามธรรมชาติ เจตนคติ ความสนใจ ความสามารถ
2.มนุษย์เป็นทรัพยาการที่มีค่าสูงยิ่ง
3.บุคคลจะมีความสุขก็ในเมื่อแต่ละบุคลได้รับการศึกษาจนสุดขีดแห่งสติปัญญาและ
ความสามารถของเขา มีแผนการดาเนินชีวิตที่ถูกหลักวิชา สามารถแก้ปัญหาต่างๆ
4.บุคคลทุกคนย่อมต้องการความช่วยเหลือ
5.บุคคลแต่ละคนย่อมมีศักดิ์ศรีและศักยภาพประจาตัว
ปรัชญาของการแนะแนว
1 การแนะแนวเป็นงานส่วนหนึ่งของงานจัดการศึกษา
2 การแนะแนวจัดขึ้นเพื่อบุคคลแต่ละคน
3 การแนะแนวเป็นกระบวนการที่ต้องมีอยู่ตลอดชีวิตของคนเรา บิดา มารดา ญาติพี่น้อง
มิตรสหายของเรา ครู พระสงฆ์ตลอดจนผู้ชานาญการในสาขาวิชาชีพต่างๆ
4 การแนะแนว เน้นความสาคัญในเรื่องการเข้าใจตนเอง (Self-understanding) การ
ตัดสินใจด้วยตนเอง (Self-determination) และการปรับตนของตนเอง (Self-adjustment)
5 การแนะแนะควรจะเน้นในเรื่องการป้องกันการปรับตัวไม่เข้าหรือการปรับปรุงตัว
คลาด (Prevention of maladjustment) ยิ่งกว่าการแก้ไขหรือการรักษา
หลักสาคัญๆ ของการแนะแนวที่ควรยึดถือใน
การดาเนินงานมีดังนี้
6 ผู้ที่ทาหน้าที่แนะแนวจะต้องผู้ที่มีความสามารถในการรวบรวมข้อมูลและแปล
ความหมายของข้อมูลต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
7 การแนะแนวเป็นกระบวนการรวม (Unified process) ซึ่งในการพิจารณาทั้งคนหรือ
ทั้งตัว (as a whole) ดังนั้นจึงควรพิจารณากันถึงการแนะแนวชีวิต (Life guidance)
8 ในการดาเนินการแนะแนวนั้น ถ้าจะให้ได้ผลดีประสิทธิภาพจะต้องได้ผู้บริหารที่ดีมี
ความสามารถในการเป็นผู้นา
9 ครูทุกๆ คนในโรงเรียนจะต้องมีบทบาทหรือมีหน้าที่บางประการในโครงการแนะแนว
ของโรงเรียน การแนะแนวมิใช่บริการให้ความช่วยเหลือของบุคคลผู้ทาหน้าที่แนะแนว
โดยเฉพาะเพียงคนหนึ่งหรือสองคนเท่านั้น
หลักสาคัญๆ ของการแนะแนวที่ควรยึดถือใน
การดาเนินงานมีดังนี้ (ต่อ)
10 การแนะแนวจะได้ผลดีก็ต่อเมื่อได้บุคลาการแนะแนวที่มีคุณสมบัติดี
11 โครงการแนะแนวจะให้ผลดีก็ต่อเมื่อได้จัดให้มีบริการต่างๆ ที่สาคัญและ
จาเป็นไว้ในโครงการ
12 ในการดาเนินงานแนะแนวนั้น ควรมีการประเมินผลงานของโครงการแนะ
แนวเป็นระยะๆ เพื่อดูว่าโครงการแนะแนวของโรงเรียนที่ได้ดาเนินการไปแล้วให้ผล
แก่พฤติกรรมของนักเรียนได้อย่างไรบ้าง มีข้อบกพร่องที่สมควรแกไขปรับปรุงให้ดี
ขึ้นอย่างไร
หลักสาคัญๆ ของการแนะแนวที่ควรยึดถือใน
การดาเนินงานมีดังนี้ (ต่อ)
1.ช่วยให้นักเรียนได้รู้จักและเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ทาให้สามารถปรับตัวอยู่ในสังคม
ได้เป็นอย่างดี รู้จักเลือกและตัดสินใจได้อย่างฉลาดและเหมาะสมสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่ตน
ประสบได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางแผนการชีวิตในอนาคตของตนเองและสามารถนา
ตนเองไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ทั้งยังช่วยให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้เกิดความเจริญงอก
งามทุกด้านอย่างมีบูรณาการ
2.ช่วยให้คณะครูได้รู้จักนักเรียนของตนแต่ละคนอย่างลึกซึ้ง ทาให้ยอมรับนักเรียนใน
ฐานะเป็นเอกัตบุคคล เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างในด้านต่างๆ เช่น สติปัญญา
สภาพร่างกาย ความถนัด ความสนใจ ค่านิยม ทาให้ทางโรงเรียนสามารถจัดการเรียนการสอน
และจิตกรรมต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน และช่วยให้
ปัญหาของโรงเรียนที่เกิดจากนักเรียนลดน้อยลงไปอีกด้วย
ประโยชน์ของการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียน
3.ช่วยให้บิดามารดาและผู้ปกครองของนักเรียนรู้จักและเข้าใจเด็กของตนดีขึ้น
ยอมรับสภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับบุตรหลานของตนในฐานะที่เป็นบุคคลคนหนึ่งซึ่ง
แตกต่างจากบุคคลอื่นๆ และให้ความร่วมมือแก่ทางโรงเรียนในการส่งเสริมพัฒนาบุตร
หลานของตน
4.ช่วยให้สังคมและประเทศชาติได้รับประชากรที่มีคุณภาพ ไม่เป็นผู้ที่
ก่อให้เกิดปัญหาสังคมและช่วยเพิ่มพูนเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากเด็กได้เรียนและ
ได้ประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตน
ประโยชน์ของการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียน (ต่อ)
กระบวนการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้มาขอคาปรึกษา เพื่อให้เขาได้ใช้
ความสามารถที่เขามีอยู่จัดการกับปัญหาของเขาได้ สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาได้
กระบวนการให้คาปรึกษาจะเกี่ยวข้องกับสิ่งสาคัญ 3 ประการ
1. ผู้ให้คาปรึกษา (Counselor)
2. ผู้มาขอรับคาปรึกษา (Counselee)
3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง Counselor และ Counselee
การให้คาปรึกษา (Counseling)
กระบวนการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบปัญหา โดยอาศัย
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้คาปรึกษาและผู้รับการปรึกษา ใช้เทคนิคการ
สื่อสาร ทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ถึงสาเหตุของปัญหา ใช้ศักยภาพ
ของ ตนเองในการคิด ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
ความหมายของการให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษาแก่นักเรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยนักเรียนในเรื่องต่อไปนี้
1. สารวจตนเอง และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และเข้าใจ
2. ลดระดับความเครียด และความไม่สบายใจที่เกิดการมีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อม
3. พัฒนาทักษะทางด้านสังคม ทักษะการตัดสินใจ และทักษะการจัดการกับ
ปัญหาให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
4. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่พึงประสงค์ เช่น มีความรับผิดชอบ
ในหน้าที่ต่างๆ มากขึ้น มีพฤติกรรมการเรียนที่ดี และสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ดี
ขึ้น
วัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษาสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. การให้คาปรึกษารายบุคคล คือ การให้ความช่วยเหลือแก่นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
ครั้งละ 1 คน
2. การให้คาปรึกษากลุ่ม คือการให้การช่วยเหลือแก่นักเรียนจานวนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่มี
พฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องที่คล้ายคลึงกัน หรือมีความต้องการที่จะพัฒนาตนในเรื่องเดียวกัน
ประเภทของการให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษาแก่นักเรียนครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ตรงต่อเวลานัดหมายทั้งเริ่มต้น และสิ้นสุดการให้คาปรึกษา
2. ให้ความสาคัญกับภาษาท่าทางของนักเรียนให้มาก
3. หลีกเลี่ยงการถามข้อมูลที่ละเอียดอ่อน หรือเจาะจงเกินไป
4. หลีกเลี่ยงการแนะนาให้นักเรียนปฏิบัติตามความเห็นของครู
5. หลีกเลี่ยงการเกิดอารมณ์ร่วมและการเห็นชอบกับพฤติกรรมของนักเรียนที่จะเป็นการ
เสริมแรงให้นักเรียนคิดและทาพฤติกรรมเหมือนเดิมทาให้นักเรียนไม่มีโอกาสเปลี่ยนแปลงไป
ในทางที่ดีขึ้น
ข้อควรคานึงในการให้คาปรึกษา
6. ไม่ควรรีบด่วนที่จะสรุปและแก้ปัญหา
7. หลังจากการให้คาปรึกษาแต่ละครั้งแล้ว ครูควรบันทึกผลการให้คาปรึกษาไว้เพื่อเป็น
ข้อมูลในการให้คาปรึกษาต่อไป
8. ต้องรักษาความลับ และประโยชน์ของนักเรียน โดยต้องระมัดระวังที่จะไม่นา
เรื่องราวของนักเรียนไปพูดในที่ต่างๆ แม้จะไม่เอ่ยชื่อก็ตาม
ข้อควรคานึงในการให้คาปรึกษา (ต่อ)
ครูผู้ที่จะทาหน้าที่ให้คาปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพควรมีลักษณะส่วนตัว ดังต่อไปนี้
1. รู้จัก และยอมรับตนเอง
2. อดทน ใจเย็น
3. จริงใจ และตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น
4. มีท่าทีที่เป็นมิตร และมองโลกในแง่ดี
5. ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น และช่างสังเกต
6. ใช้คาพูดได้เหมาะสม
7. เป็นผู้รับฟังที่ดี
คุณลักษณะของครูผู้ให้คาปรึกษา
ทักษะการให้คาปรึกษา คือความสามารถหรือความชานาญในการสื่อสาร ทั้งการใช้ภาษา
ท่าทางและภาษาพูด ซึ่งเป็นเครื่องมือสาคัญของผู้ให้คาปรึกษาในการช่วยเหลือบุคคลที่มีความ
ทุกข์หรือผู้รับคาปรึกษาให้
1) มีความไว้วางใจและมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ให้คาปรึกษาและการปรึกษา
2) เข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหาและความต้องการของตัวเอง
3) แสวงหาและแนวทางการปรับเปลี่ยนการคิด การรู้สึกและการปฏิบัติตนเพื่อให้มีชีวิต
ที่ดีขึ้น
ทักษะการให้คาปรึกษา
ขั้นตอนการให้คาปรึกษารายบุคคล
ขั้นตอนการให้คาปรึกษารายกลุ่ม
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อตั้งกลุ่ม ในขั้นนี้สมาชิกที่เข้ากลุ่มยังไม่กล้าเปิดเผย
ตนเอง เพราะยังไม่ไว้วางใจในกลุ่ม ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องชี้แจงวัตถุประสงค์
ของการให้คาปรึกษา และสร้างสัมพันธภาพที่ดี ให้เกิดขึ้นในกลุ่ม และต้องให้
เวลาแก่สมาชิกกลุ่มพอสมควรอย่ารีบเร่ง
ขั้นที่ 2 ขั้นการเปลี่ยนแปลงลักษณะของสมาชิก เป็นขั้นตอนต่อจาก
ขั้นแรกกลุ่มเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการขึ้นบ้าง สมาชิกเริ่มรู้จัก
ไว้วางใจกันแต่ก็ยังมีความวิตกกังวล มีความตึงเครียดอยู่บ้าง ผู้ให้คาปรึกษา
จะต้องพยายามชี้แจงให้สมาชิกกล้า อภิปรายปัญหาตัวเอง อย่างเปิดเผย
ขั้นตอนการให้คาปรึกษารายกลุ่ม (ต่อ)
ขั้นที่ 3 ขั้นดาเนินการ ขั้นนี้สัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในกลุ่มจะดี
ขึ้นมาก กล้าเปิดเผยตนเอง อภิปรายปัญหาตามความเป็นจริง ร่วมกัน
แก้ปัญหาของสมาชิก ทุกคนได้สารวจตัวเอง เข้าใจปัญหาและพร้อมจะ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตน
ขั้นที่ 4 ขั้นยุติการให้คาปรึกษา เมื่อสมาชิกเข้าใจปัญหาอย่างกระจ่าง
แจ้ง รู้จักแก้และเลือกวิธีที่เหมาะสมกับตน นาไปปฏิบัติด้วยความพอใจ ไม่มี
ข้อข้องใจตกค้าง ก็ให้ยุติการให้คาปรึกษาแบบกลุ่มได้
คณะผู้จัดทา
นางสาวภาวิณี บุญช่วย นางสาวสุจิรา ทองอินทร์ นางสาวอริษา สิงห์เส
นางสาวคุณากร แก้วรัตน์ นายภัทรธียศ ร อดเหล็ง นางสาวญาณิศา ไหลพึ่งทอง
การค้นคว้าข้อมูล
นางสาวสุจิรา ทองอินทร์
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. การให้คาปรึกษา หลักการให้คาปรึกษา ขั้นตอนการให้คาปรึกษารายบุคคลและแบบกลุ่ม
คุณลักษณะของครูผู้ให้คาปรึกษา ทักษะการให้คาปรึกษา
นางสาวญาณิศา ไหลพึ่งทอง
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. การแนะแนว ความหมายและความสาคัญของการบริการแนะแนวในโรงเรียน ประโยชน์
ของการแนะแนว กระบวนการแนะแนวช่วยเหลือดูแลนักเรียน
• สุรางค์ โค้วตระกูล (2545). จิตวิทยาการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 5 ) . กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• การแนะแนว (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/a/nareerat.ac.th/ed_guide_nareerat/guide (วันที่ค้นข้อมูล : 12
เมษายน 2559)
เอกสารอ้างอิง

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
DuangdenSandee
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
คุณครูพี่อั๋น
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
Arisa Srising
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
Green Greenz
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์พัน พัน
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
CAPD AngThong
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
Chainarong Maharak
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
คุณครูพี่อั๋น
 
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ritthiporn Lekdee
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
earlychildhood024057
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
Aj.Mallika Phongphaew
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
khanidthakpt
 

What's hot (20)

ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
ภาษาและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน)
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
การจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนวการจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนว
 

Similar to จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา

รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนวรายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
โม่ย แสงจันทร์
 
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนวรายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
โม่ย แสงจันทร์
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Korakob Noi
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
สรสิช ขันตรีมิตร
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
kanwan0429
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
Ailada_oa
 
Develop Buddhist Teacher.pdf
Develop Buddhist Teacher.pdfDevelop Buddhist Teacher.pdf
Develop Buddhist Teacher.pdf
Pattie Pattie
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 

Similar to จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา (20)

รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนวรายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
 
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนวรายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
รายงานการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
Develop Buddhist Teacher.pdf
Develop Buddhist Teacher.pdfDevelop Buddhist Teacher.pdf
Develop Buddhist Teacher.pdf
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 

จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา