SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 8
การคลังรัฐบาลและนโยบายการ
คลัง
1. ผลกระทบของการก่อหนี้
สาธารณะ
2. การดำาเนินนโยบายการคลังแบบ
ปรับเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ
1. ผลกระทบของการก่อหนี้
สาธารณะ
1) ผลต่ออุปสงค์มวลรวมและปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
 กรณีที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากประชาชนและสถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคาร
พาณิชย์ เป็นเพียงการโอนอำานาจการใช้จ่ายจากภาคเอกชนมาสู่ภาค
รัฐบาล ซึ่งไม่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์มวลรวมและปริมาณเงิน ดัง
นั้น จึงไม่ก่อให้เกิดภาวะเงินเฟ้อขึ้น
 กรณีที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากธนาคารพาณิชย์ โดยธนาคารพาณิชย์นำา
เงินสดสำารองส่วนเกินมาซื้อพันธบัตร โดยมิทำาให้การให้กู้ยืมเงินของ
ธนาคารพาณิชย์ลดลงแต่อย่างไร ธนาคารพาณิชย์ก็ยังสามารถขยายสิน
เชื่อได้ตามปกติ
ถ้าธนาคารพาณิชย์นำาพันธบัตรใช้เป็นเงินสดสำารองตามกฎหมายได้
ก็จะสามารถขยายสินเชื่อได้เพิ่มขึ้นอีก ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจจะ
เพิ่มขึ้น ตรงกันข้าม ถ้าธนาคารพาณิชย์ไม่มีเงินสดสำารองส่วนเกิน
สำาหรับซื้อพันธบัตร จะนำาเงินสดสำารองส่วนเกินสำาหรับการให้กู้ยืมมาซื้อ
พันธบัตร ทำาให้การขยายสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ลดลง ปริมาณเงิน
ก็จะลดน้อยลง
 กรณีที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากธนาคารกลาง โดยธนาคารกลางพิมพ์ธนบัตร
เพิ่มขึ้น=มูลค่าของพันธบัตรที่ซื้อจากรัฐบาล ปริมาณเงินในระบบ
เศรษฐกิจจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากฐานของเงิน (Monetary Base) เพิ่มขึ้น
2) ผลต่อประสิทธิภาพการผลิตของระบบเศรษฐกิจโดยส่วนรวม
 การก่อหนี้ของรัฐบาลเป็นการดึงทรัพยากรจากภาคเอกชนมา ทำาให้
การผลิตของภาคเอกชนลดลง ขณะที่การผลิตของภาครัฐบาลเพิ่มขึ้น
และเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าประสิทธิภาพการผลิตของภาค
เอกชนสูงกว่าภาครัฐบาล ผลคือ ประสิทธิภาพการผลิตของระบบ
เศรษฐกิจโดยส่วนรวมลดลง
3) ผลต่ออัตราดอกเบี้ยในประเทศ
 การก่อหนี้ของรัฐบาลจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ โดยขายหลัก
ทรัพย์รัฐบาลแก่ภาคเอกชน (ได้แก่ ประชาชน และสถาบันการเงินที่
มิใช่ธนาคารพาณิชย์) ทำาให้ปริมาณเงินของภาคเอกชนที่จะลงทุน
หรือซื้อหลักทรัพย์อื่นลดลง ราคาหลักทรัพย์อื่นจะลดลง ส่งผลให้อัตรา
ดอกเบี้ยในตลาดเงินตลาดทุนสูงขึ้น เป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวของ
การลงทุนในอนาคตต่อไป
4) ผลต่องบประมาณแผ่นดิน
 การก่อหนี้ของรัฐบาลทั้งภายในและภายนอกประเทศ จะเป็นภาระต่อ
งบประมาณแผ่นดิน เนื่องจากรัฐบาลต้องตั้งงบประมาณรายจ่าย
สำาหรับชำาระคืนเงินกู้ ทำาให้งบประมาณรายจ่ายสำาหรับการลงทุนลด
ลง ส่งผลทำาให้เศรษฐกิจชะลอตัวลง
1. ผลกระทบของการก่อหนี้
สาธารณะ (ต่อ)
 ความยืดหยุ่นของรายได้จากภาษีอากรต่อรายได้
ประชาชาติ (Elasticity of Tax Revenue หรือ Elasticity of
Taxation : ET)
 ถ้า ET > 1 ระบบการจัดเก็บภาษีอากรมีความ
ยืดหยุ่นสูง
ถ้า ET < 1 ระบบการจัดเก็บภาษีอากรมีความ
ยืดหยุ่นตำ่า
 ตัวอย่างเช่น ET = 0.5 แสดงว่าเมื่อ Y = 1% จะมีผลให้ T
= 0.5%
ET = 1.5 แสดงว่าเมื่อ Y = 1% จะมีผลให้ T = 1.5%
 ค่าความยืดหยุ่นของรายได้จากภาษีอากรต่อรายได้
ประชาชาติ (ET) จะมากกว่า 1 ก็ต่อเมื่อ
1) การจัดเก็บภาษีฐานรายได้ ในอัตราก้าวหน้า
2. การดำาเนินนโยบายการคลังแบบปรับ
เสถียรภาพโดยอัตโนมัติ
2. การดำาเนินนโยบายการคลังแบบ
ปรับเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ (ต่อ)
 เครื่องมือที่ใช้เป็นตัวปรับเสถียรภาพอัตโนมัติ ได้แก่
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษี
สรรพสามิต
รูป 7-4 ตัวปรับเสถียรภาพอัตโนมัติ
จากรูป 7-4
 ดุลยภาพของรายได้ประชาชาติ (I + G) = (S + T) เดิม ดุลฯ
ของรายได้ประชาชาติอยู่ที่ระดับ Y0
 ถ้ารายได้ภาษีเป็นแบบไม่มีความยืดหยุ่นต่อรายได้
ประชาชาติ ( ) การเพิ่มขึ้นของการลงทุนจาก I0 เป็น I1
ทำาให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y1 ซึ่งสร้างแรงกดดันให้เกิดะ
เงินเฟ้อ เนื่องจากเมื่อเศรษฐกิจขยายตัว Y↑ ขณะที่ Tax คงที่
C↑ AD↑
 ถ้ารายได้ภาษีเป็นฟังก์ชั่นเพิ่มขึ้นของรายได้ประชาชาติ t (Y)
การเพิ่มการลงทุนจาก I0 เป็น I1 จะทำาให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก
Y0 เป็น Y2 เนื่องจากระบบภาษีในกรณีนี้จะเป็นตัวรักษา
เสถียรภาพได้โดยอัตโนมัติ โดยการลดอัตราการ
เปลี่ยนแปลงของรายได้อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ
ตัวแปรภายนอก ซึ่งในที่นี้ คือ การเปลี่ยนแปลงการลงทุน
อัตโนมัติ(autonomous investment) ทั้งนี้ เนื่องจาก Y↑ ขณะที่ T↑
→ AD↓
 ในทางตรงกันข้าม ถ้าการลงทุนลดลงจาก I0 เป็น I2
t
t
จากรูป 7-4
 ดุลยภาพของรายได้ประชาชาติ (I + G) = (S + T) เดิม ดุลฯ
ของรายได้ประชาชาติอยู่ที่ระดับ Y0
 ถ้ารายได้ภาษีเป็นแบบไม่มีความยืดหยุ่นต่อรายได้
ประชาชาติ ( ) การเพิ่มขึ้นของการลงทุนจาก I0 เป็น I1
ทำาให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y1 ซึ่งสร้างแรงกดดันให้เกิดะ
เงินเฟ้อ เนื่องจากเมื่อเศรษฐกิจขยายตัว Y↑ ขณะที่ Tax คงที่
C↑ AD↑
 ถ้ารายได้ภาษีเป็นฟังก์ชั่นเพิ่มขึ้นของรายได้ประชาชาติ t (Y)
การเพิ่มการลงทุนจาก I0 เป็น I1 จะทำาให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก
Y0 เป็น Y2 เนื่องจากระบบภาษีในกรณีนี้จะเป็นตัวรักษา
เสถียรภาพได้โดยอัตโนมัติ โดยการลดอัตราการ
เปลี่ยนแปลงของรายได้อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ
ตัวแปรภายนอก ซึ่งในที่นี้ คือ การเปลี่ยนแปลงการลงทุน
อัตโนมัติ(autonomous investment) ทั้งนี้ เนื่องจาก Y↑ ขณะที่ T↑
→ AD↓
 ในทางตรงกันข้าม ถ้าการลงทุนลดลงจาก I0 เป็น I2
t
t

More Related Content

Viewers also liked

retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mail
tumetr1
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilities
tumetr1
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
tumetr1
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
tumetr1
 
การจัดหาเงินทุนระยะยาว
การจัดหาเงินทุนระยะยาวการจัดหาเงินทุนระยะยาว
การจัดหาเงินทุนระยะยาว
Naphaphat Niyomjan
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
tumetr1
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
tumetr1
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
tumetr1
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
tumetr1
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
tumetr1
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
tumetr1
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
tumetr1
 
Ec214 7 adas_2yr56
Ec214 7 adas_2yr56Ec214 7 adas_2yr56
Ec214 7 adas_2yr56
Kaew Say
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
Naphaphat Niyomjan
 
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
Utai Sukviwatsirikul
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014Wanida Kook
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
tumetr1
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
Naphaphat Niyomjan
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Viewers also liked (20)

retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mail
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilities
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
 
การจัดหาเงินทุนระยะยาว
การจัดหาเงินทุนระยะยาวการจัดหาเงินทุนระยะยาว
การจัดหาเงินทุนระยะยาว
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
Ec214 7 adas_2yr56
Ec214 7 adas_2yr56Ec214 7 adas_2yr56
Ec214 7 adas_2yr56
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 

Similar to การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง

งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80Phantipha Wannaphahoon
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
SCBEICSCB
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
koorimkhong
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Ornkapat Bualom
 

Similar to การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง (7)

งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
PDMO 2014 Annual Report_Sovereign Credit Ratings_page 75-80
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 

More from tumetr1

ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
connectivity utility
connectivity utilityconnectivity utility
connectivity utility
tumetr1
 
network hardware
network hardwarenetwork hardware
network hardware
tumetr1
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
tumetr1
 
routing
routingrouting
routing
tumetr1
 
the transport layer
the transport layerthe transport layer
the transport layer
tumetr1
 
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
tumetr1
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
tumetr1
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
tumetr1
 
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
tumetr1
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
tumetr1
 
พัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจพัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจ
tumetr1
 
พฤติกรรมการผลิต
 พฤติกรรมการผลิต พฤติกรรมการผลิต
พฤติกรรมการผลิต
tumetr1
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
tumetr1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
tumetr1
 

More from tumetr1 (20)

ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็คตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างประวัติผู้วิจัย เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็คตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างภาคผนวก เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบรรณานุกรม เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
connectivity utility
connectivity utilityconnectivity utility
connectivity utility
 
network hardware
network hardwarenetwork hardware
network hardware
 
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless lan)
 
routing
routingrouting
routing
 
the transport layer
the transport layerthe transport layer
the transport layer
 
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์กระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
ระดับชั้นเน็ตเวิร์ก
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์และบริการ
 
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
การส่งข้อมูลผ่านสายส่งและเทคนิคการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
 
พัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจพัฒนาเศรษฐกิจ
พัฒนาเศรษฐกิจ
 
พฤติกรรมการผลิต
 พฤติกรรมการผลิต พฤติกรรมการผลิต
พฤติกรรมการผลิต
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเข้ารหัสข้อมูล
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง

  • 1. บทที่ 8 การคลังรัฐบาลและนโยบายการ คลัง 1. ผลกระทบของการก่อหนี้ สาธารณะ 2. การดำาเนินนโยบายการคลังแบบ ปรับเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ
  • 2. 1. ผลกระทบของการก่อหนี้ สาธารณะ 1) ผลต่ออุปสงค์มวลรวมและปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ  กรณีที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากประชาชนและสถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคาร พาณิชย์ เป็นเพียงการโอนอำานาจการใช้จ่ายจากภาคเอกชนมาสู่ภาค รัฐบาล ซึ่งไม่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์มวลรวมและปริมาณเงิน ดัง นั้น จึงไม่ก่อให้เกิดภาวะเงินเฟ้อขึ้น  กรณีที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากธนาคารพาณิชย์ โดยธนาคารพาณิชย์นำา เงินสดสำารองส่วนเกินมาซื้อพันธบัตร โดยมิทำาให้การให้กู้ยืมเงินของ ธนาคารพาณิชย์ลดลงแต่อย่างไร ธนาคารพาณิชย์ก็ยังสามารถขยายสิน เชื่อได้ตามปกติ ถ้าธนาคารพาณิชย์นำาพันธบัตรใช้เป็นเงินสดสำารองตามกฎหมายได้ ก็จะสามารถขยายสินเชื่อได้เพิ่มขึ้นอีก ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจจะ เพิ่มขึ้น ตรงกันข้าม ถ้าธนาคารพาณิชย์ไม่มีเงินสดสำารองส่วนเกิน สำาหรับซื้อพันธบัตร จะนำาเงินสดสำารองส่วนเกินสำาหรับการให้กู้ยืมมาซื้อ พันธบัตร ทำาให้การขยายสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ลดลง ปริมาณเงิน ก็จะลดน้อยลง  กรณีที่รัฐบาลกู้ยืมเงินจากธนาคารกลาง โดยธนาคารกลางพิมพ์ธนบัตร เพิ่มขึ้น=มูลค่าของพันธบัตรที่ซื้อจากรัฐบาล ปริมาณเงินในระบบ เศรษฐกิจจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากฐานของเงิน (Monetary Base) เพิ่มขึ้น
  • 3. 2) ผลต่อประสิทธิภาพการผลิตของระบบเศรษฐกิจโดยส่วนรวม  การก่อหนี้ของรัฐบาลเป็นการดึงทรัพยากรจากภาคเอกชนมา ทำาให้ การผลิตของภาคเอกชนลดลง ขณะที่การผลิตของภาครัฐบาลเพิ่มขึ้น และเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าประสิทธิภาพการผลิตของภาค เอกชนสูงกว่าภาครัฐบาล ผลคือ ประสิทธิภาพการผลิตของระบบ เศรษฐกิจโดยส่วนรวมลดลง 3) ผลต่ออัตราดอกเบี้ยในประเทศ  การก่อหนี้ของรัฐบาลจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ โดยขายหลัก ทรัพย์รัฐบาลแก่ภาคเอกชน (ได้แก่ ประชาชน และสถาบันการเงินที่ มิใช่ธนาคารพาณิชย์) ทำาให้ปริมาณเงินของภาคเอกชนที่จะลงทุน หรือซื้อหลักทรัพย์อื่นลดลง ราคาหลักทรัพย์อื่นจะลดลง ส่งผลให้อัตรา ดอกเบี้ยในตลาดเงินตลาดทุนสูงขึ้น เป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวของ การลงทุนในอนาคตต่อไป 4) ผลต่องบประมาณแผ่นดิน  การก่อหนี้ของรัฐบาลทั้งภายในและภายนอกประเทศ จะเป็นภาระต่อ งบประมาณแผ่นดิน เนื่องจากรัฐบาลต้องตั้งงบประมาณรายจ่าย สำาหรับชำาระคืนเงินกู้ ทำาให้งบประมาณรายจ่ายสำาหรับการลงทุนลด ลง ส่งผลทำาให้เศรษฐกิจชะลอตัวลง 1. ผลกระทบของการก่อหนี้ สาธารณะ (ต่อ)
  • 4.  ความยืดหยุ่นของรายได้จากภาษีอากรต่อรายได้ ประชาชาติ (Elasticity of Tax Revenue หรือ Elasticity of Taxation : ET)  ถ้า ET > 1 ระบบการจัดเก็บภาษีอากรมีความ ยืดหยุ่นสูง ถ้า ET < 1 ระบบการจัดเก็บภาษีอากรมีความ ยืดหยุ่นตำ่า  ตัวอย่างเช่น ET = 0.5 แสดงว่าเมื่อ Y = 1% จะมีผลให้ T = 0.5% ET = 1.5 แสดงว่าเมื่อ Y = 1% จะมีผลให้ T = 1.5%  ค่าความยืดหยุ่นของรายได้จากภาษีอากรต่อรายได้ ประชาชาติ (ET) จะมากกว่า 1 ก็ต่อเมื่อ 1) การจัดเก็บภาษีฐานรายได้ ในอัตราก้าวหน้า 2. การดำาเนินนโยบายการคลังแบบปรับ เสถียรภาพโดยอัตโนมัติ
  • 5. 2. การดำาเนินนโยบายการคลังแบบ ปรับเสถียรภาพโดยอัตโนมัติ (ต่อ)  เครื่องมือที่ใช้เป็นตัวปรับเสถียรภาพอัตโนมัติ ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษี สรรพสามิต รูป 7-4 ตัวปรับเสถียรภาพอัตโนมัติ
  • 6. จากรูป 7-4  ดุลยภาพของรายได้ประชาชาติ (I + G) = (S + T) เดิม ดุลฯ ของรายได้ประชาชาติอยู่ที่ระดับ Y0  ถ้ารายได้ภาษีเป็นแบบไม่มีความยืดหยุ่นต่อรายได้ ประชาชาติ ( ) การเพิ่มขึ้นของการลงทุนจาก I0 เป็น I1 ทำาให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y1 ซึ่งสร้างแรงกดดันให้เกิดะ เงินเฟ้อ เนื่องจากเมื่อเศรษฐกิจขยายตัว Y↑ ขณะที่ Tax คงที่ C↑ AD↑  ถ้ารายได้ภาษีเป็นฟังก์ชั่นเพิ่มขึ้นของรายได้ประชาชาติ t (Y) การเพิ่มการลงทุนจาก I0 เป็น I1 จะทำาให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y2 เนื่องจากระบบภาษีในกรณีนี้จะเป็นตัวรักษา เสถียรภาพได้โดยอัตโนมัติ โดยการลดอัตราการ เปลี่ยนแปลงของรายได้อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ ตัวแปรภายนอก ซึ่งในที่นี้ คือ การเปลี่ยนแปลงการลงทุน อัตโนมัติ(autonomous investment) ทั้งนี้ เนื่องจาก Y↑ ขณะที่ T↑ → AD↓  ในทางตรงกันข้าม ถ้าการลงทุนลดลงจาก I0 เป็น I2 t t
  • 7. จากรูป 7-4  ดุลยภาพของรายได้ประชาชาติ (I + G) = (S + T) เดิม ดุลฯ ของรายได้ประชาชาติอยู่ที่ระดับ Y0  ถ้ารายได้ภาษีเป็นแบบไม่มีความยืดหยุ่นต่อรายได้ ประชาชาติ ( ) การเพิ่มขึ้นของการลงทุนจาก I0 เป็น I1 ทำาให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y1 ซึ่งสร้างแรงกดดันให้เกิดะ เงินเฟ้อ เนื่องจากเมื่อเศรษฐกิจขยายตัว Y↑ ขณะที่ Tax คงที่ C↑ AD↑  ถ้ารายได้ภาษีเป็นฟังก์ชั่นเพิ่มขึ้นของรายได้ประชาชาติ t (Y) การเพิ่มการลงทุนจาก I0 เป็น I1 จะทำาให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y2 เนื่องจากระบบภาษีในกรณีนี้จะเป็นตัวรักษา เสถียรภาพได้โดยอัตโนมัติ โดยการลดอัตราการ เปลี่ยนแปลงของรายได้อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ ตัวแปรภายนอก ซึ่งในที่นี้ คือ การเปลี่ยนแปลงการลงทุน อัตโนมัติ(autonomous investment) ทั้งนี้ เนื่องจาก Y↑ ขณะที่ T↑ → AD↓  ในทางตรงกันข้าม ถ้าการลงทุนลดลงจาก I0 เป็น I2 t t