SlideShare a Scribd company logo
เสนอ

                อาจารย์          วีระพงษ์
บรรจง


                               จัดทำาโดย

                เด็กหญิง       นิดชุดา
หนูสุวรรณ์

                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٣/١ เลขที่ ٣
٠

        ผู้อำานวยการโรงเรียน     นาย พัฒนเทพ
จันทรสาขา
รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา
วิทยาศาสตร์




                       การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยไดนาโม



                                                          โดย.......ครูโดม


         ไฟฟ้าที่เราใช้กันทั่วไปตามบ้านเรือน หรือสถานที่ต่างๆ หรือกระแสไฟฟ้าที่
  ใช้ในการประกอบกิจการต่าง ๆนั้น ทั้งหมดเป็นกระแสไฟฟ้าที่ผลิตด้วยไดนาโม
  ดังนั้นเราควรรูสักนิดครับว่า เจ้าไดนาโม ( หรือบางคนอาจเรียกว่าเครื่องกำาเนิด
                  ้
  ไฟฟ้าก็ได้) มันทำาประกอบด้วยสิ่งใดบ้างและมันทำาให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้
  อย่างไร.......ส่วนประกอบหลักๆ หรือส่วนที่สำาคัญของเจ้าไดนาโมนี้ไม่มีอะไร
  มากหรือไม่ซับซ้อนเลยครับ มันประกอบด้วย.........

  1.....แม่เหล็ก ไว้สำาหรับทำาให้เกิดสนามแม่เหล็กครับ

  2.............ขดลวด ซึ่งต้องเป็นขดลวดที่มีฉนวนหุ้มหรือเคลือบด้วยฉนวน
  ครับ..............

  3......พวกส่วนประกอบย่อยๆ คือ แปรง , แหวน เป็นต้น.........................ดูภาพ
  ครับ
การเกิดกระแสไฟฟ้านั้นก็คือเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำานั่นเอง ........โดยเมือ่
ออกแรงหมุนที่แกนเพื่อให้ขดลวดหมุน ขดลวดก็จะเคลื่อน ที่ตดกับสนามหรือ
                                                           ั
เส้นแรงแม่เหล็ก ซึ่งได้จากแท่งแม่เหล็กซึ่งวางตำาแหน่งดังภาพครับ...........

  เมื่อขดลวดหมุนตัดกับเส้นแรงหรือสนามแม่เหล็ก ก็จะเป็นการทำาให้เพิ่มและ
ลดความเข้มของสนามแม่เหล็กให้แก่ขดลวด ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นในขดลวด
ตามหลักของการเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำา ที่กล่าวแล้วในเรื่องกระแสไฟฟ้า
เหนี่ยวนำาครับ .....

    ปลายเส้นลวดทั้งสองข้างของขดลวด ถูกส่งมาตามแกนหมุนไปที่แหวน และ
ไปสัมผัสกับแปรงครับ กระแสไฟฟ้าที่ได้จะถูกส่งมาทางอุปกรณ์พวกนี้ และการ
ที่ไดนาโมจะผลิตไฟฟ้ากระแสตรง หรือกระแสสลับก็ขึ้นอยู่กับการออกแบบแหวน
นี่แหละครับ (ซึ่งรายละเอียดผู้สนใจหาศึกษาได้ครับ ) ..................

  ในทางปฏิบติจริงๆ จะสลับซับซ้อนกว่านี้เยอะครับ เช่นบางครั้งไม่ได้ขดลวด
               ั
หมุน แต่ให้แม่เหล็กหมุน ขดลวดอยู่กับที่ ...หรือมีขดลวดหลายชุดทำามุมกันหมุน
ในสนามแม่เหล็กครับ .......แต่ถึงอย่างไรก็ตามทำาให้เราก็ได้หลักการของ
ไดนาโมอย่างหนึ่งคือ

  ไดนาโม ทำาหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานกลเป็น
               พลังงาน ไฟฟ้า
   คือเราต้องใส่พลังงานกลหรือแรงหมุนให้แก่ไดนาโมก่อน แล้วไดนาโมจะ
เปลียนแรงนั้นเป็นพลังงานไฟฟ้า ครับ ซึ่งไดนาโมจะทำางานตรงกันข้ามกับมอร์
    ่
เตอร์ ครับ คือมอร์เตอร์
มอเตอร์ ทำาหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น
                 พลังงานกล
   โดยที่มอเตอร์ทำางานโดยเราต้องใส่พลังงานไฟฟ้าเข้าในมอเตอร์ก่อน แล้วมัน
                                           ิ
จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้านั้นเป็นพลังงานกล คือ เกิดแรงหมุนเพื่อนำาไปทำางาน
ต่างๆ ครับ
ไดนาโม
     « เมื่อ: พฤศจิกายน 16, 2008, 01:07:43 pm »
โพสโดย ผู้ดูแลระบบ
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก

ไดนาโม


ไดนาโม เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกลให้เป็น
พลังงานไฟฟ้า มีส่วนประกอบสำาคัญ ได้แก่ ขดลวดที่พันอยูรอบ  ่
แกน เรียกว่า อาเมเจอร์ (armature) แม่เหล็ก 2 แท่ง หันขั้ว
ต่างกันเข้าหากัน เพื่อให้เกิดสนามแม่เหล็กโดยจะมีเส้นแรงแม่
เหล็กพุ่งจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ และบริเวณขั้วจะมีความเข้มของ
สนามแม่เหล็กมากกว่าบริเวณอื่นๆ

หลักการเหนี่ยวนำาให้เกิดกระแสไฟฟ้า
หลักการเหนี่ยวนำาให้เกิดกระแสไฟฟ้าจากไดนาโม อาจทำาได้ดังนี้


การหมุนขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก จะทำาให้สนามแม่เหล็ก
เปลียนแปลง จึงเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael
    ่
Faraday) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ( พ . ศ .
2334-2410) เป็นผู้ค้นพบหลักการที่ว่า “ กระแสไฟฟ้าเหนี่ยว
นำาเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กที่ผ่านขดลวด ”


ถ้าต้องการสร้างไดนาโมให้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น
สามารถทำาได้ดังนี้

เพิ่มจำานวนรอบของขดลวด

หมุนขดลวดให้เร็วขึ้น

เพิ่มแรงขั้วแม่เหล็ก




ไดนาโมแบ่งออกเป็น 2 ชนิด

1. ไดนาโมไฟฟ้ากระแสสลับ AC Dynamo

ประกอบด้วยแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง ขดลวด และแหวนลื่นโดย
แหวนลื่น 2 วงสัมผัสกับแปรงตัวนำาไฟฟ้าซึ่งจะรับกระแสไฟฟ้า
จากขดลวดออกสู่วงจรภายนอก
ไดนาโมกระแสสลับ (Alternating current dynamo)
                                      เป็นไดนาโมที่ผลิตกระแสไฟฟ้าสลับ (A.C.) ออกมา
                                       ใช้งาน กระแสสลับ คือกระแสไฟฟ้าที่มทิศทางการ
                                                                               ี
                                       ไหลสลับไปกลับมาอย่างรวดเร็วมากอยู่ตลอดเวลา
                                       ในไดนาโมที่ใช้งานจริงๆ ใช้ขดลวดตัวนำาหลายขด
                                      ให้เคลื่อนที่ตดเส้นแรงแม่เหล็กเราเรียกขดลวดตัวนำา
                                                    ั
                                          ที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กนี้ว่า อาร์มาเจอร์
                                      (Armture) สำาหรับการศึกษาเบื้องต้นจะพิจารณทขด
                                       ลวดพียงขดเดียว ไดนาโมกระแสสลับประกอบด้วย
                                       แท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง วางขั้วต่างกันเข้าหากัน และมี
                                      ขดลวดตัวนำาอยู่ตรงกลาง ดังรูป ปลายด้านหนึ่งของ
                                         ขดลวดติดต่อกับวงแหวนลื่น (Slip ring) (R) อีก
                                         ปลายหนึ่งของขดลวดติดอยู่กับวงแหวนลื่น R'
                                       วงแหวน R แตะอยู่กับแปรง B ส่วนวงแหวน R' แตะ
                                        อยู่กับแปรง B' เมือขดลวดหมุดวงแหวนทั้งสองจะ
                                                          ่
                                         หมุนตามไปด้วยโดยแตะกับแปรงอยูตลอดเวลา
                                                                             ่
                                       แปรงทั้งสองติดอยูกับวงวจรภายนอกเพื่อนำากระแส
                                                            ่
                                      ไฟฟ้าออกไปใช้ประโยชน์เมือใช้พลังงานกลมาหมุน
                                                                   ่
                                       ขดลวด ขดลวดเคลือนที่ตดเส้นแรงแม่เหล็ก ก่อให้
                                                              ่  ั
                                      เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำาขึ้นในขดลวด เมือขด่
                                        ลวดนี้ตอครบวงจรกับความต้านทานภานนอกแล้ว
                                                ่
                                      ย่อมได้กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำาไหลในวงจรเหนี่ยวนำา
                                                          ไหลในวงจรนั้น
เครื่องกำาเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโม (Electric generator หรือ Dynamo)
คือเครืองมือที่ใช้สำาหรับเปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการที่ว่าขดลวดซึ่งเรียกว่า
       ่
อาร์มาเจอร์ (Armature) หมุนตัดสนามแม่เหล็กทำาให้เกิดกระแสเหนี่ยวนำา โดยต้องหมุนขดลวดไปทาง
ทิศเดิมเสมอ สามารถนำากระแสเหนี่ยวนำาที่เกิดไปใช้ประโยชน์ได้ เราจำาแนกไดนาโมเป็น 2 ชนิด คือ




                                 รูปที่ 48 เครืองกำาเนิดไฟฟ้า [24]
                                               ่


1. ไดนาโมกระแสตรง (Direct current dynamo)




                                 รูปที่ 49 ไดนาโมกระแสตรง [25]
รูปที่ 50 การทำางานของไดนาโมกระแสตรง [10]

จากรูปที่ 1 ขดลวดหมุนทวนเข็มนาฬิกาทำาให้เกิดกระแสเหนี่ยวนำา (Ie) ไหลจาก DCBA ออกสู่วงแหวน
ครึ่งวงกลมซึ่งเรียกว่าคอมมิวเตเตอร์ (commutator) หรือวงแหวนแยก (split ring) เข้าสู่ความ
ต้านทานภายนอก ( R ) โดยผ่านทางแปรง (Brush) G ฉะนั้นตอนนี้กระแสไหลจาก GRH เมือขดลวด DC
                                                                                 ่
ไปอยู่ซกซ้าย ลวด AB ก็ย้ายไปอยูซีกขวา ดังรูป 2
        ี                       ่
จากรูปที่ 2 ขดลวดหมุนทวนเข็มนาฬิกาอย่างเดิม กระแสเหนี่ยวนำา (Ie) ไหลจาก ABCD ผ่านแหวนแยกสู่
GRH จะเห็นได้ว่ากระแสไหลภายนอกไดนาโมทิศเดิมตลอด เรียกว่าให้กระแสไฟฟ้าตรงออกไปใช้ จึงเรียก
ไดนาโมชนิดนี้ว่าไดนาโมกระแสตรง




                      รูปที่ 51 การหมุนของขดลวดไดนาโมกระแสตรง [10]
หากเราพิจารณาตอนที่พื้นที่หน้าตัดของขดลวดอยู่ในแนวตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ดังรูป ก. เราเห็นลวด
DC เพียงจุด D และเห็นลวด AB เพียงจุด A ตอนนี้กระแสเหนี่ยวนำามีค่า = 0

จากรูป ก. ไปสู่รูป ข. ใช้เวลา   กระแสจะมีค่ามากขึ้นๆจนมากที่สุดเมือถึงเวลา
                                                                  ่           คือรูป ข.

จากรูป ข. ไปสู่รูป ค. ใช้เวลาจาก    -> กระแสจะมีค่าน้อยลงๆจนเป็นศูนย์เมือถึงเวลา คือรูป ค.
                                                                        ่

จากรูป ค. ไปสู่รูป ง. ใช้เวลาจาก ->     กระแสจะมีค่ามากขึ้นๆจนมากที่สุดเมือถึงเวลา
                                                                          ่               คือรูป ง.

จากรูป ง. ไปสู่รูป จ. ใช้เวลา   -> T กระแสจะมีค่าลดลงๆจนเป็นศูนย์เมื่อถึงเวลา T คือรูป จ.




                                         Bay……
                                         ….

More Related Content

What's hot (11)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
WAVEs
WAVEsWAVEs
WAVEs
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 

Viewers also liked

báo giá dịch vụ giúp việc nhà chất lượng cao hcm
báo giá dịch vụ giúp việc nhà chất lượng cao hcmbáo giá dịch vụ giúp việc nhà chất lượng cao hcm
báo giá dịch vụ giúp việc nhà chất lượng cao hcmpat180
 
Analisis skripsi niann
Analisis skripsi niannAnalisis skripsi niann
Analisis skripsi niann
Suci Agustina
 
Layout page1 opt
Layout page1 optLayout page1 opt
Layout page1 opt
kvanm827
 
Tipos de virus maria d.
Tipos de virus  maria d.Tipos de virus  maria d.
Tipos de virus maria d.
mariagabrieladesantiago
 
Ortografía 1
Ortografía 1Ortografía 1
Ortografía 1
Secundaria Tecnica Uno
 
Redes sociales
Redes socialesRedes sociales
Redes sociales
Lucas Prado
 
Drawing3
Drawing3Drawing3
Drawing3
Suci Agustina
 
Comunicação Digital
Comunicação DigitalComunicação Digital
Comunicação Digital
guest0d63f7
 
1. Tambien El NiñO Producew Arte Beatriz Villanueva Alba Martinez
1. Tambien El NiñO Producew Arte  Beatriz Villanueva Alba Martinez1. Tambien El NiñO Producew Arte  Beatriz Villanueva Alba Martinez
1. Tambien El NiñO Producew Arte Beatriz Villanueva Alba Martinez
angelessaura
 
Voyantic Tagsurance Reducing the Cost of Quality
Voyantic Tagsurance Reducing the Cost of QualityVoyantic Tagsurance Reducing the Cost of Quality
Voyantic Tagsurance Reducing the Cost of Quality
Voyantic
 
SAMTRAC - certificate
SAMTRAC - certificateSAMTRAC - certificate
SAMTRAC - certificate
David de Tarnowsky
 
MBA 620 Week 7 Assignment - Camila Fernandes Bento
MBA 620 Week 7 Assignment - Camila Fernandes BentoMBA 620 Week 7 Assignment - Camila Fernandes Bento
MBA 620 Week 7 Assignment - Camila Fernandes Bento
Camila Fernandes Bento
 
GE in India
GE in IndiaGE in India
GE in India
GE_India
 
HSK 1 GCSE IGCSE CHINESE FLASH CARDS – LEARN CHINESE WITH DAVID (LCWD) FY1
HSK 1 GCSE IGCSE CHINESE FLASH CARDS  – LEARN CHINESE WITH DAVID (LCWD) FY1HSK 1 GCSE IGCSE CHINESE FLASH CARDS  – LEARN CHINESE WITH DAVID (LCWD) FY1
HSK 1 GCSE IGCSE CHINESE FLASH CARDS – LEARN CHINESE WITH DAVID (LCWD) FY1
LEGOO MANDARIN
 
La tragedia griega. edipo rey
La tragedia griega. edipo reyLa tragedia griega. edipo rey
La tragedia griega. edipo rey
Lucas Prado
 

Viewers also liked (15)

báo giá dịch vụ giúp việc nhà chất lượng cao hcm
báo giá dịch vụ giúp việc nhà chất lượng cao hcmbáo giá dịch vụ giúp việc nhà chất lượng cao hcm
báo giá dịch vụ giúp việc nhà chất lượng cao hcm
 
Analisis skripsi niann
Analisis skripsi niannAnalisis skripsi niann
Analisis skripsi niann
 
Layout page1 opt
Layout page1 optLayout page1 opt
Layout page1 opt
 
Tipos de virus maria d.
Tipos de virus  maria d.Tipos de virus  maria d.
Tipos de virus maria d.
 
Ortografía 1
Ortografía 1Ortografía 1
Ortografía 1
 
Redes sociales
Redes socialesRedes sociales
Redes sociales
 
Drawing3
Drawing3Drawing3
Drawing3
 
Comunicação Digital
Comunicação DigitalComunicação Digital
Comunicação Digital
 
1. Tambien El NiñO Producew Arte Beatriz Villanueva Alba Martinez
1. Tambien El NiñO Producew Arte  Beatriz Villanueva Alba Martinez1. Tambien El NiñO Producew Arte  Beatriz Villanueva Alba Martinez
1. Tambien El NiñO Producew Arte Beatriz Villanueva Alba Martinez
 
Voyantic Tagsurance Reducing the Cost of Quality
Voyantic Tagsurance Reducing the Cost of QualityVoyantic Tagsurance Reducing the Cost of Quality
Voyantic Tagsurance Reducing the Cost of Quality
 
SAMTRAC - certificate
SAMTRAC - certificateSAMTRAC - certificate
SAMTRAC - certificate
 
MBA 620 Week 7 Assignment - Camila Fernandes Bento
MBA 620 Week 7 Assignment - Camila Fernandes BentoMBA 620 Week 7 Assignment - Camila Fernandes Bento
MBA 620 Week 7 Assignment - Camila Fernandes Bento
 
GE in India
GE in IndiaGE in India
GE in India
 
HSK 1 GCSE IGCSE CHINESE FLASH CARDS – LEARN CHINESE WITH DAVID (LCWD) FY1
HSK 1 GCSE IGCSE CHINESE FLASH CARDS  – LEARN CHINESE WITH DAVID (LCWD) FY1HSK 1 GCSE IGCSE CHINESE FLASH CARDS  – LEARN CHINESE WITH DAVID (LCWD) FY1
HSK 1 GCSE IGCSE CHINESE FLASH CARDS – LEARN CHINESE WITH DAVID (LCWD) FY1
 
La tragedia griega. edipo rey
La tragedia griega. edipo reyLa tragedia griega. edipo rey
La tragedia griega. edipo rey
 

Similar to นิดชุดา

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าAtjimaice
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6Thitikan
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอKunthida Kik
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
tearchersittikon
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าAnunata5
 

Similar to นิดชุดา (20)

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (8)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 

นิดชุดา

  • 1. เสนอ อาจารย์ วีระพงษ์ บรรจง จัดทำาโดย เด็กหญิง นิดชุดา หนูสุวรรณ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٣/١ เลขที่ ٣ ٠ ผู้อำานวยการโรงเรียน นาย พัฒนเทพ จันทรสาขา
  • 2. รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา วิทยาศาสตร์ การผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยไดนาโม โดย.......ครูโดม ไฟฟ้าที่เราใช้กันทั่วไปตามบ้านเรือน หรือสถานที่ต่างๆ หรือกระแสไฟฟ้าที่ ใช้ในการประกอบกิจการต่าง ๆนั้น ทั้งหมดเป็นกระแสไฟฟ้าที่ผลิตด้วยไดนาโม ดังนั้นเราควรรูสักนิดครับว่า เจ้าไดนาโม ( หรือบางคนอาจเรียกว่าเครื่องกำาเนิด ้ ไฟฟ้าก็ได้) มันทำาประกอบด้วยสิ่งใดบ้างและมันทำาให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้ อย่างไร.......ส่วนประกอบหลักๆ หรือส่วนที่สำาคัญของเจ้าไดนาโมนี้ไม่มีอะไร มากหรือไม่ซับซ้อนเลยครับ มันประกอบด้วย......... 1.....แม่เหล็ก ไว้สำาหรับทำาให้เกิดสนามแม่เหล็กครับ 2.............ขดลวด ซึ่งต้องเป็นขดลวดที่มีฉนวนหุ้มหรือเคลือบด้วยฉนวน ครับ.............. 3......พวกส่วนประกอบย่อยๆ คือ แปรง , แหวน เป็นต้น.........................ดูภาพ ครับ
  • 3. การเกิดกระแสไฟฟ้านั้นก็คือเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำานั่นเอง ........โดยเมือ่ ออกแรงหมุนที่แกนเพื่อให้ขดลวดหมุน ขดลวดก็จะเคลื่อน ที่ตดกับสนามหรือ ั เส้นแรงแม่เหล็ก ซึ่งได้จากแท่งแม่เหล็กซึ่งวางตำาแหน่งดังภาพครับ........... เมื่อขดลวดหมุนตัดกับเส้นแรงหรือสนามแม่เหล็ก ก็จะเป็นการทำาให้เพิ่มและ ลดความเข้มของสนามแม่เหล็กให้แก่ขดลวด ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นในขดลวด ตามหลักของการเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำา ที่กล่าวแล้วในเรื่องกระแสไฟฟ้า เหนี่ยวนำาครับ ..... ปลายเส้นลวดทั้งสองข้างของขดลวด ถูกส่งมาตามแกนหมุนไปที่แหวน และ ไปสัมผัสกับแปรงครับ กระแสไฟฟ้าที่ได้จะถูกส่งมาทางอุปกรณ์พวกนี้ และการ ที่ไดนาโมจะผลิตไฟฟ้ากระแสตรง หรือกระแสสลับก็ขึ้นอยู่กับการออกแบบแหวน นี่แหละครับ (ซึ่งรายละเอียดผู้สนใจหาศึกษาได้ครับ ) .................. ในทางปฏิบติจริงๆ จะสลับซับซ้อนกว่านี้เยอะครับ เช่นบางครั้งไม่ได้ขดลวด ั หมุน แต่ให้แม่เหล็กหมุน ขดลวดอยู่กับที่ ...หรือมีขดลวดหลายชุดทำามุมกันหมุน ในสนามแม่เหล็กครับ .......แต่ถึงอย่างไรก็ตามทำาให้เราก็ได้หลักการของ ไดนาโมอย่างหนึ่งคือ ไดนาโม ทำาหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานกลเป็น พลังงาน ไฟฟ้า คือเราต้องใส่พลังงานกลหรือแรงหมุนให้แก่ไดนาโมก่อน แล้วไดนาโมจะ เปลียนแรงนั้นเป็นพลังงานไฟฟ้า ครับ ซึ่งไดนาโมจะทำางานตรงกันข้ามกับมอร์ ่ เตอร์ ครับ คือมอร์เตอร์
  • 4. มอเตอร์ ทำาหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานกล โดยที่มอเตอร์ทำางานโดยเราต้องใส่พลังงานไฟฟ้าเข้าในมอเตอร์ก่อน แล้วมัน ิ จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้านั้นเป็นพลังงานกล คือ เกิดแรงหมุนเพื่อนำาไปทำางาน ต่างๆ ครับ
  • 5. ไดนาโม « เมื่อ: พฤศจิกายน 16, 2008, 01:07:43 pm » โพสโดย ผู้ดูแลระบบ สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ไดนาโม ไดนาโม เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกลให้เป็น พลังงานไฟฟ้า มีส่วนประกอบสำาคัญ ได้แก่ ขดลวดที่พันอยูรอบ ่ แกน เรียกว่า อาเมเจอร์ (armature) แม่เหล็ก 2 แท่ง หันขั้ว ต่างกันเข้าหากัน เพื่อให้เกิดสนามแม่เหล็กโดยจะมีเส้นแรงแม่ เหล็กพุ่งจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ และบริเวณขั้วจะมีความเข้มของ สนามแม่เหล็กมากกว่าบริเวณอื่นๆ หลักการเหนี่ยวนำาให้เกิดกระแสไฟฟ้า หลักการเหนี่ยวนำาให้เกิดกระแสไฟฟ้าจากไดนาโม อาจทำาได้ดังนี้ การหมุนขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก จะทำาให้สนามแม่เหล็ก เปลียนแปลง จึงเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael ่ Faraday) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ( พ . ศ . 2334-2410) เป็นผู้ค้นพบหลักการที่ว่า “ กระแสไฟฟ้าเหนี่ยว นำาเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กที่ผ่านขดลวด ” ถ้าต้องการสร้างไดนาโมให้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากขึ้น สามารถทำาได้ดังนี้ เพิ่มจำานวนรอบของขดลวด หมุนขดลวดให้เร็วขึ้น เพิ่มแรงขั้วแม่เหล็ก ไดนาโมแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1. ไดนาโมไฟฟ้ากระแสสลับ AC Dynamo ประกอบด้วยแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง ขดลวด และแหวนลื่นโดย แหวนลื่น 2 วงสัมผัสกับแปรงตัวนำาไฟฟ้าซึ่งจะรับกระแสไฟฟ้า จากขดลวดออกสู่วงจรภายนอก
  • 6. ไดนาโมกระแสสลับ (Alternating current dynamo) เป็นไดนาโมที่ผลิตกระแสไฟฟ้าสลับ (A.C.) ออกมา ใช้งาน กระแสสลับ คือกระแสไฟฟ้าที่มทิศทางการ ี ไหลสลับไปกลับมาอย่างรวดเร็วมากอยู่ตลอดเวลา ในไดนาโมที่ใช้งานจริงๆ ใช้ขดลวดตัวนำาหลายขด ให้เคลื่อนที่ตดเส้นแรงแม่เหล็กเราเรียกขดลวดตัวนำา ั ที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กนี้ว่า อาร์มาเจอร์ (Armture) สำาหรับการศึกษาเบื้องต้นจะพิจารณทขด ลวดพียงขดเดียว ไดนาโมกระแสสลับประกอบด้วย แท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง วางขั้วต่างกันเข้าหากัน และมี ขดลวดตัวนำาอยู่ตรงกลาง ดังรูป ปลายด้านหนึ่งของ ขดลวดติดต่อกับวงแหวนลื่น (Slip ring) (R) อีก ปลายหนึ่งของขดลวดติดอยู่กับวงแหวนลื่น R' วงแหวน R แตะอยู่กับแปรง B ส่วนวงแหวน R' แตะ อยู่กับแปรง B' เมือขดลวดหมุดวงแหวนทั้งสองจะ ่ หมุนตามไปด้วยโดยแตะกับแปรงอยูตลอดเวลา ่ แปรงทั้งสองติดอยูกับวงวจรภายนอกเพื่อนำากระแส ่ ไฟฟ้าออกไปใช้ประโยชน์เมือใช้พลังงานกลมาหมุน ่ ขดลวด ขดลวดเคลือนที่ตดเส้นแรงแม่เหล็ก ก่อให้ ่ ั เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำาขึ้นในขดลวด เมือขด่ ลวดนี้ตอครบวงจรกับความต้านทานภานนอกแล้ว ่ ย่อมได้กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำาไหลในวงจรเหนี่ยวนำา ไหลในวงจรนั้น
  • 7. เครื่องกำาเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโม (Electric generator หรือ Dynamo) คือเครืองมือที่ใช้สำาหรับเปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการที่ว่าขดลวดซึ่งเรียกว่า ่ อาร์มาเจอร์ (Armature) หมุนตัดสนามแม่เหล็กทำาให้เกิดกระแสเหนี่ยวนำา โดยต้องหมุนขดลวดไปทาง ทิศเดิมเสมอ สามารถนำากระแสเหนี่ยวนำาที่เกิดไปใช้ประโยชน์ได้ เราจำาแนกไดนาโมเป็น 2 ชนิด คือ รูปที่ 48 เครืองกำาเนิดไฟฟ้า [24] ่ 1. ไดนาโมกระแสตรง (Direct current dynamo) รูปที่ 49 ไดนาโมกระแสตรง [25]
  • 8. รูปที่ 50 การทำางานของไดนาโมกระแสตรง [10] จากรูปที่ 1 ขดลวดหมุนทวนเข็มนาฬิกาทำาให้เกิดกระแสเหนี่ยวนำา (Ie) ไหลจาก DCBA ออกสู่วงแหวน ครึ่งวงกลมซึ่งเรียกว่าคอมมิวเตเตอร์ (commutator) หรือวงแหวนแยก (split ring) เข้าสู่ความ ต้านทานภายนอก ( R ) โดยผ่านทางแปรง (Brush) G ฉะนั้นตอนนี้กระแสไหลจาก GRH เมือขดลวด DC ่ ไปอยู่ซกซ้าย ลวด AB ก็ย้ายไปอยูซีกขวา ดังรูป 2 ี ่ จากรูปที่ 2 ขดลวดหมุนทวนเข็มนาฬิกาอย่างเดิม กระแสเหนี่ยวนำา (Ie) ไหลจาก ABCD ผ่านแหวนแยกสู่ GRH จะเห็นได้ว่ากระแสไหลภายนอกไดนาโมทิศเดิมตลอด เรียกว่าให้กระแสไฟฟ้าตรงออกไปใช้ จึงเรียก ไดนาโมชนิดนี้ว่าไดนาโมกระแสตรง รูปที่ 51 การหมุนของขดลวดไดนาโมกระแสตรง [10]
  • 9. หากเราพิจารณาตอนที่พื้นที่หน้าตัดของขดลวดอยู่ในแนวตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ดังรูป ก. เราเห็นลวด DC เพียงจุด D และเห็นลวด AB เพียงจุด A ตอนนี้กระแสเหนี่ยวนำามีค่า = 0 จากรูป ก. ไปสู่รูป ข. ใช้เวลา กระแสจะมีค่ามากขึ้นๆจนมากที่สุดเมือถึงเวลา ่ คือรูป ข. จากรูป ข. ไปสู่รูป ค. ใช้เวลาจาก -> กระแสจะมีค่าน้อยลงๆจนเป็นศูนย์เมือถึงเวลา คือรูป ค. ่ จากรูป ค. ไปสู่รูป ง. ใช้เวลาจาก -> กระแสจะมีค่ามากขึ้นๆจนมากที่สุดเมือถึงเวลา ่ คือรูป ง. จากรูป ง. ไปสู่รูป จ. ใช้เวลา -> T กระแสจะมีค่าลดลงๆจนเป็นศูนย์เมื่อถึงเวลา T คือรูป จ. Bay…… ….