SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวีจุลินทรีย์ก�ำจัดศัตรูพืช
2
รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวีจุลินทรีย์ก�ำจัดศัตรูพืช
3
รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์ก�ำจัดศัตรูพืช
ISBN				 978-616-12-0538-6
พิมพ์ครั้งที่	 	 1 (สิงหาคม 2561)
จ�ำนวน	 	 	 1,000 เล่ม	
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) 2558
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ไม่อนุญาตให้คัดลอก ท�ำซ�้ำ และดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้
นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น
รู้จัก รู้ใช้เอ็นพีวี: จุลินทรีย์ก�ำจัดศัตรูพืช/โดย สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. -- ปทุมธานี : ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ, 2561.
	 32 หน้า : ภาพประกอบ
	 ISBN: 978-616-12-0538-6
	 1. เทคโนโลยีการเกษตร 2. จุลินทรีย์ 3. จุลินทรีย์ก�ำจัดศัตรูพืช 4. เทคโนโลยีชีวภาพจุลชีพ 5.
สารชีวภาพควบคุมศัตรูพืช
	 I. สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร II. ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ III. ชื่อเรื่อง
	 SB976	 	      632.96
ข้อมูลโดย
โรงงานต้นแบบผลิตไวรัส เอ็นพีวี เพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช (VNPV)
หน่วยวิจัยไวรัสวิทยาและเทคโนโลยีแอนติบอดี (VAU)
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ (ไบโอเทค)
จัดท�ำโดย
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
โทรศัพท์ 0 2564 7000 สายด่วน สท. 096 996 4100
โทรสาร 0 2564 7004 อีเมล: agritec@nstda.or.th
www.nstda.or.th/agritec
44
“ไวรัสเอ็นพีวี” (Nucleopolyhedro Virus: NPV)
เป็นหนึ่งในสารชีวภัณฑ์ที่ถูกพูดถึงน้อย แต่ประสิทธิภาพ
ฉกาจนักที่ส�ำคัญยังใช้ได้ทั้งเกษตรเคมีและเกษตรอินทรีย์  
ไวรัสเอ็นพีวี เป็นไวรัสกลุ่มหนึ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ
และท�ำให้แมลงเกิดโรค มีการทดสอบความปลอดภัย
ของไวรัสเอ็นพีวีและผลิตเป็นการค้าจ�ำหน่ายทั่วโลก
ไวรัสเอ็นพีวีมีความจ�ำเพาะต่อหนอนแต่ละชนิดๆ โดยใน
ประเทศไทยพบไวรัสเอ็นพีวีจ�ำเพาะหนอน 3 ชนิด ได้แก่
หนอนกระทู้หอมหนอนกระทู้ผักและหนอนเจาะสมอฝ้าย
ล้วนแล้วแต่เป็นศัตรูพืชที่ท�ำลายพืชเศรษฐกิจของไทย
ไม่ว่าจะเป็นองุ่นสตรอว์เบอร์รี่แตงโมดาวเรืองผักตระกูล
กะหล�่ำ ผักสลัด เป็นต้น
คู่มือ “รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์ก�ำจัดศัตรูพืช”
เล่มนี้ จะเป็นอาวุธประจ�ำกายให้เกษตรกรได้รู้จักไวรัส
เอ็นพีวี และรู้จักลักษณะของหนอนทั้งสามชนิด เพื่อใช้
ไวรัสเอ็นพีวีได้อย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สถาบันการจัดการเทคโนโลยี
และนวัตกรรมเกษตร (สท.)
ค�ำน�ำ
55
Copyright © Free Vector Maps.comCopyright © Free Vector Maps.com
รู้จักไวรัสเอ็นพีวี
ไวรัสเอ็นพีวี (Nucleopolyhedro Virus: NPV)
เป็นไวรัสกลุ่มหนึ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติและท�ำให้แมลงเกิด
โรค โดยมีความเฉพาะเจาะจงต่อแมลงเป้าหมาย นักวิจัย
สวทช. ได้พัฒนาและผลิตไวรัสเอ็นพีวีจ�ำเพาะหนอน
3ชนิดได้แก่ไวรัสเอ็นพีวีของหนอนกระทู้หอม(SeNPV)
ไวรัสเอ็นพีวีของหนอนกระทู้ผัก(SlNPV)และไวรัสเอ็นพีวี
ของหนอนเจาะสมอฝ้าย(HaNPV)
	 เป็นจุลินทรีย์ที่พบ
ในประเทศไทย
	 มีความเฉพาะเจาะจงต่อ
ชนิดของแมลงศัตรูพืช
ปลอดภัยต่อแมลงศัตรู
ธรรมชาติและแมลงที่มี
ประโยชน์อื่นๆ
	 ใช้ได้กับเกษตรเคมี
6
เกษตรปลอดภัย
และเกษตรอินทรีย์ *
	 ผ่านการทดสอบแล้วว่า
ปลอดภัยต่อมนุษย์
สัตว์ และสภาพแวดล้อม
ไม่มีพิษตกค้างในพืช **
	 เกษตรกรต่อเชื้อเองได้
*	 สหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International
FederationofOrganicAgricultureMovement;
IFOAM) อนุญาตให้ใช้ไวรัสเอ็นพีวีในโปรแกรม
ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ แต่มีเงื่อนไขว่าผู้จ�ำหน่าย
ต้องขอการรับรองจาก IFOAM หรือหน่วยงาน
มาตรฐานในประเทศนั้นๆ
**	ทดสอบโดยส�ำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ
(Environmental Protection Agency-EPA)
1ลิตร
7
กลไกการเข้าท�ำลายของไวรัสเอ็นพีวี
เมื่อหนอนกินไวรัสที่ปะปนอยู่บนใบพืชอาหาร ไวรัส
เข้าสู่กระเพาะอาหาร ผลึกโปรตีนที่ห่อหุ้มอนุภาคของ
ไวรัสจะถูกย่อยสลายโดยน�้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ซึ่งมีฤทธิ์เป็นด่าง อนุภาคไวรัสจะหลุดออกมาและเข้า
ท�ำลายเซลล์กระเพาะอาหาร หนอนจะลดการกินอาหาร
เคลื่อนไหวช้าลงผนังล�ำตัวสีเขียวของหนอนจะเริ่มซีดจาง
หลังจากนั้นอนุภาคไวรัสขยายเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นและ
แพร่กระจายในล�ำตัวของหนอน เข้าไปท�ำลายอวัยวะ
8
“ไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิต
ต้องการเวลาในการ
เพิ่มจ�ำนวนและออก
ฤทธิ์ เมื่อฉีดพ่นไวรัส
เอ็นพีวี 1-2 วัน หนอน
จะเริ่มป่วยจากเชื้อไวรัส
การเคลื่อนไหวจะช้ากิน
อาหารได้น้อยลง และ
ตายในที่สุด”
ลักษณะการตายของ
หนอนหลังจากได้รับ
ไวรัสเอ็นพีวี
ส่วนต่างๆ เซลล์ในร่างกายถูกท�ำลาย ผนังล�ำตัวจะมี
สีขาวหรือสีครีมหนอนจะพยายามไต่ขึ้นบริเวณส่วนยอด
ของต้นพืชและตายโดยห้อยหัวและส่วนท้องลงเป็นรูปตัว
“วี” หัวกลับ (V Shape) ผนังล�ำตัวของหนอนที่ตายแล้ว
จะแตกง่ายและจะเปลี่ยนเป็นสีด�ำอย่างรวดเร็ว ของเหลว
ภายในซากหนอนจะเต็มไปด้วยผลึกของไวรัส ซึ่งเป็น
จุดเริ่มต้นการแพร่ระบาดต่อไปตามธรรมชาติ
9
หัวใจส�ำคัญ
ของการใช้ไวรัสเอ็นพีวี
1010
รู้จักชนิดของหนอน
หนอนกระทู้หอม
ตัวเล็กที่สุด
หนอนกระทู้ผัก
มีจุดด�ำ 2 จุด ปล้องที่ 4
จากหัว, ลายรูป
สามเหลี่ยมสีด�ำ
ทั่วตัว
หนอนเจาะสมอฝ้าย
มีขนใสทั้งตัว, มีจุดสีด�ำ
เล็กๆ คล้ายกระ
1111
10
ซีซี
15
ซีซี
20
ซีซี
ประเมินความรุนแรงของการระบาด
เพื่อเลือกปริมาณการใช้ที่เหมาะสม
ระบาด
น้อย
พ่นทุก
7-10
วัน
พ่นทุก
5-7
วัน
พ่น
วันเว้นวัน
จนกว่าหนอนจะลดลง
ระบาด
ปานกลาง
ระบาด
รุนแรง
20
ลิตร
20
ลิตร
20
ลิตร
12
การต่อเชื้อไวรัสเอ็นพีวี
ใช้ทันที
	 น�ำหนอนที่ตายจากไวรัสเอ็นพีวี
	 2 ตัว ผสมน�้ำ 1 ลิตร
เก็บเพื่อรอใช้
	 น�ำหนอนที่ตายจากไวรัสเอ็นพีวี 30-40 ตัว
	 ใส่ขวดสีชาเติมน�้ำสะอาดท่วมตัวหนอน
	 เก็บในตู้เย็น (ช่องเก็บผัก) ได้ 1 ปี
	 เมื่อจะน�ำไปใช้เขย่าขวดแล้วเทลงถังพ่นยา(15ลิตร)
	 เติมน�้ำให้เต็มถัง แล้วจึงฉึดพ่น
* ใช้หนอนที่ตายในช่วงที่เป็นสีขาวขุ่นจะได้เชื้อเอ็นพีวีดีที่สุด
เทคนิคการใช้ไวรัสเอ็นพีวี
•	 ฉีดพ่นหลังบ่ายสามโมง
•	 ผสมสารจับใบ ช่วยให้
	 ไวรัสเอ็นพีวีเกาะติดใบ
•	 หัวสเปรย์แบบฝอย
	 ให้ละอองมากกว่าหัวสเปรย์
	 ใหญ่ ไวรัสเอ็นพีวีเกาะติดบนใบได้ดีกว่า
•	 เก็บขวดไวรัสเอ็นพีวีในอุณหภูมิเย็นและให้พ้นแสงแดด
1ลิตร
13
พืชอาหารของหนอนแต่ละชนิด
พืชอาหาร หนอน
กระทู้หอม
หนอน
กระทู้ผัก
หนอน
เจาะสมอฝ้าย
หอมแบ่ง / /  
หอมแดง / /  
หอมหัวใหญ่ / /  
หน่อไม้ฝรั่ง / / /
พริก / / /
กระเจี๊ยบเขียว     /
ถั่วฝักยาว / / /
มะเขือเทศ / / /
สลัด   / / 
ผักชี   /  
เผือก   /  
มันเทศ / /  
ผักตระกูล
กะหล�่ำ   / / /
ส้ม     /
14
พืชอาหาร หนอน
กระทู้หอม
หนอน
กระทู้ผัก
หนอน
เจาะสมอฝ้าย
แตงโม / /  
องุ่น /   /
กล้วยไม้ / /  
ดาวเรือง / / /
กุหลาบ / / /
เบญจมาศ / /  
บัว   /  
ถั่วเขียว / / /
ถั่วเหลือง
ฝักสด     /
ข้าวโพดหวาน     /
ข้าวโพด
ฝักอ่อน     /
มันฝรั่ง / /  
•	 หมั่นเดินดูแปลง ส�ำรวจชนิดหนอน
•	 พืชผักบางชนิดเป็นพืชอาหารของหนอนทั้งสามชนิด เข้า
ท�ำลายในแต่ละช่วงการเติบโตของพืช
15
หนอนกระทู้หอม 	
ชื่ออื่น	 หนอนหลอดหอม หนอนหนังเหนียว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Spodoptera exigua (Hubner)
วงจรชีวิต 29-36 วัน
16
สีเขียวอ่อน ครีม น�้ำตาลอ่อน ไม่มีขน ขนาด (หนอนวัย 5)
2.5-3 ซม.
	 วางไข่เป็นกลุ่ม ช่วงวัย 1-2 อยู่เป็นกลุ่ม และกระจาย
ออกไปเมื่อเข้าวัย 3-5
	 พืชอาหาร หอมแบ่ง หอมแดง หอมหัวใหญ่ หน่อไม้ฝรั่ง
พริก ถั่วฝักยาว มันเทศ ผักตระกูลกะหล�่ำ แตงโม องุ่น
กล้วยไม้ ดาวเรือง กุหลาบ เบญจมาศ ถั่วเขียว มันฝรั่ง
ตัวเต็มวัย
7-8
วัน
ระยะไข่
2-3
วัน
หนอนวัย 1–3
8-9
วัน
หนอนวัย 4–5
5-7
วัน
ระยะดักแด้
7-9
วัน
17
หนอนกระทู้ผัก 	
ชื่ออื่น	 หนอนหนังเหนียว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Spodoptera litura
วงจรชีวิต 36-45 วัน
18
ระยะดักแด้
7-9
วัน
	 สีครีม น�้ำตาล ด�ำ ไม่มีขน มีลายรูปสามเหลี่ยมสีด�ำ เรียง
เป็นแถวทั้งด้านบนและด้านข้างล�ำตัวทั้ง 2 ด้าน
	 ขนาด (หนอนวัย 5) 4-4.5 ซม.
	 จุดจ�ำเพาะมีจุดด�ำ 2จุดบริเวณปล้องที่4จากหัวช่วงอก
	 วางไข่เป็นกลุ่ม ช่วงวัย 1-2 อยู่กันเป็นกลุ่ม
	 พืชอาหาร หอมแบ่ง หอมแดง หอมหัวใหญ่ หน่อไม้ฝรั่ง
พริก ถั่วฝักยาว มะเขือเทศ สลัด ผักชี เผือก มันเทศ
ผักตระกูลกะหล�่ำ แตงโม กล้วยไม้ ดาวเรือง กุหลาบ
เบญจมาศ บัว ถั่วเขียว มันฝรั่ง
ตัวเต็มวัย
7-8
วัน
ระยะไข่
2-3
วัน
หนอนวัย 1–3
10-12
วัน
หนอนวัย 4–5
10-13
วัน
19
หนอนเจาะสมอฝ้าย 	
ชื่ออื่น	 หนอนเจาะฝักข้าวโพด
หนอนเจาะสมออเมริกัน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Helicoverpa armigera (Hubner)
วงจรชีวิต 36-45 วัน
20
สีเขียว น�้ำตาล มีจุดสีด�ำเล็กๆ คล้ายกระ กระจายทั่วตัว
มีขนใสทั้งตัว ขนาด (หนอนวัย 5) 3.5-4 ซม.
	 วางไข่ ฟองเดี่ยว
	 พืชอาหาร หน่อไม้ฝรั่ง พริก กระเจี๊ยบเขียว ถั่วฝักยาว
มะเขือเทศ ผักตระกูลกะหล�่ำ สลัด ส้ม องุ่น ดาวเรือง
กุหลาบถั่วเขียวถั่วเหลืองฝักสดข้าวโพดหวานข้าวโพด
ฝักอ่อน
ตัวเต็มวัย
7-8
วัน
ระยะดักแด้
7-9
วัน
ระยะไข่
2-3
วัน
หนอนวัย 1–3
10-12
วัน
หนอนวัย 4–5
10-13
วัน
21
ติดต่อสั่งซื้อไวรัสเอ็นพีวี
โรงงานต้นแบบผลิตไวรัส เอ็นพีวี
เพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช
หน่วยวิจัยไวรัสวิทยาและเทคโนโลยีแอนติบอดี้
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค)
113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน
ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
โทรศัพท์ 0 2564 6700 ต่อ 3781, 3811
บริษัท ไบรท์ออร์แกนิค จ�ำกัด
114/146 หมู่ 10 ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130
โทรศัพท์ 064 5363549
บริษัท บีไบโอ จ�ำกัด
106/8 ซอยลาดพร้าว 35 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร
กรุงเทพฯ 10900  โทรศัพท์ 081 8061268
22
ผัก หนอนกระทูหอม
หนอนเจาะสมอฝาย
รายการเทคโนโลยีพร้อมใช้
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)
23
เอ็นพีวี เพื่อนของเกษตรกรผู้รักสุขภาพ
บันทึก
24
เอ็นพีวี เพื่อนของเกษตรกรผู้รักสุขภาพ
25
เอ็นพีวี เพื่อนของเกษตรกรผู้รักสุขภาพ
26
เอ็นพีวี เพื่อนของเกษตรกรผู้รักสุขภาพ
27
เอ็นพีวี เพื่อนของเกษตรกรผู้รักสุขภาพ
28
เอ็นพีวี เพื่อนของเกษตรกรผู้รักสุขภาพ
29
เอ็นพีวี เพื่อนของเกษตรกรผู้รักสุขภาพ
30
เอ็นพีวี เพื่อนของเกษตรกรผู้รักสุขภาพ
31
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
โทรศัพท์ 0 2564 7000 สายด่วน สท. 096 996 4100
โทรสาร 0 2564 7004 อีเมล: agritec@nstda.or.th
www.nstda.or.th/agritec

More Related Content

What's hot

12.การดูแลก้อนเห็ด
12.การดูแลก้อนเห็ด12.การดูแลก้อนเห็ด
12.การดูแลก้อนเห็ดsombat nirund
 
9.การเปิดดอก
9.การเปิดดอก9.การเปิดดอก
9.การเปิดดอกsombat nirund
 
1.การเขี่ยเนื้อเยื่อเห็ดดอเห็ดเพื่อทำพันธุ์(ดอกสู่วุ้น)
1.การเขี่ยเนื้อเยื่อเห็ดดอเห็ดเพื่อทำพันธุ์(ดอกสู่วุ้น)1.การเขี่ยเนื้อเยื่อเห็ดดอเห็ดเพื่อทำพันธุ์(ดอกสู่วุ้น)
1.การเขี่ยเนื้อเยื่อเห็ดดอเห็ดเพื่อทำพันธุ์(ดอกสู่วุ้น)sombat nirund
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..fon2536
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2fon2536
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 

What's hot (7)

แมลงวัน
แมลงวันแมลงวัน
แมลงวัน
 
12.การดูแลก้อนเห็ด
12.การดูแลก้อนเห็ด12.การดูแลก้อนเห็ด
12.การดูแลก้อนเห็ด
 
9.การเปิดดอก
9.การเปิดดอก9.การเปิดดอก
9.การเปิดดอก
 
1.การเขี่ยเนื้อเยื่อเห็ดดอเห็ดเพื่อทำพันธุ์(ดอกสู่วุ้น)
1.การเขี่ยเนื้อเยื่อเห็ดดอเห็ดเพื่อทำพันธุ์(ดอกสู่วุ้น)1.การเขี่ยเนื้อเยื่อเห็ดดอเห็ดเพื่อทำพันธุ์(ดอกสู่วุ้น)
1.การเขี่ยเนื้อเยื่อเห็ดดอเห็ดเพื่อทำพันธุ์(ดอกสู่วุ้น)
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 

Similar to รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืช

หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์Y'tt Khnkt
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารtumetr
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564Postharvest Technology Innovation Center
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชWeeraphon Parawach
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558Postharvest Technology Innovation Center
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานnmhq
 
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)Pim Jazz
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 

Similar to รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืช (20)

หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
เห็ดพิษ
เห็ดพิษเห็ดพิษ
เห็ดพิษ
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์
 
ิ b
ิ bิ b
ิ b
 
bug
bugbug
bug
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืช
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
Postharvest Newsletter ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2558
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
 
wan
wanwan
wan
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from piyapornnok

วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนวิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนpiyapornnok
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนpiyapornnok
 
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยนหนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยนpiyapornnok
 
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตรหนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตรpiyapornnok
 
วิทย์พลิกชีวิต เติมด้วยใจ ความรู้ เทคโนโลยี
วิทย์พลิกชีวิต เติมด้วยใจ ความรู้ เทคโนโลยีวิทย์พลิกชีวิต เติมด้วยใจ ความรู้ เทคโนโลยี
วิทย์พลิกชีวิต เติมด้วยใจ ความรู้ เทคโนโลยีpiyapornnok
 
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)piyapornnok
 

More from piyapornnok (6)

วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนวิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชนผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน
 
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยนหนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
หนังสือ วิทย์ชิดชุมชน: เข้าถึง เปิดรับ ปรับเปลี่ยน
 
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตรหนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
หนังสือ สื่อความรู้เทคโนโลยีด้านเกษตร
 
วิทย์พลิกชีวิต เติมด้วยใจ ความรู้ เทคโนโลยี
วิทย์พลิกชีวิต เติมด้วยใจ ความรู้ เทคโนโลยีวิทย์พลิกชีวิต เติมด้วยใจ ความรู้ เทคโนโลยี
วิทย์พลิกชีวิต เติมด้วยใจ ความรู้ เทคโนโลยี
 
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
สื่อความรู้ เทคโนโลยีพร้อมใช้ เพื่อเกษตรและชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2)
 

รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืช