SlideShare a Scribd company logo
แผนการสอนคือ การวางแผนการจัดกิจกรรมเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้าอย่างละเอียด
เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งมีเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน
และวิธีวัดผลประเมินผลที่ชัดเจน
ความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้
สุพล วังสินธ์ (2536 : 5–6) กล่าวว่า
แผนการจัดการเรียนรู้เป็นกุญแจดอกสาคัญที่ทาให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้นซึ่งสรุปความไว้ ดังนี้
1. ทาให้เกิดการวางแผนวิธีเรียนที่ดี ผสมผสานความรู้และจิตวิทยาการศึกษา
2. ช่วยให้ครูมีคู่มือการสอนที่ทาด้วยตนเองล่วงหน้ามีความมั่นใจในการสอน
3. ส่งเสริมให้ครูมีความรู้ความเข้าใจในด้านของหลักสูตร วิธีสอนการวัดผลและประเมินผล
4. เป็นคู่มือสาหรับผู้มาสอนแทน
5. เป็นหลักฐานแสดงข้อมูลที่ถูกต้องเที่ยงตรง เป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษา
6. เป็นผลงานทางวิชาการแสดงความชานาญความเชี่ยวชาญของผู้ทา
ลักษณะที่ดีของแผนการจัดการเรียนรู้
สมนึก ภัททิยธนี (2546: 5) ได้กล่าวถึงลักษณะที่ดีของแผนต้องมีขั้นตอน ดังนี้
1. เนื้อหาต้องเขียนเป็นรายคาบ หรือรายชั่วโมงตารางสอน
โดยเขียนให้สอดคล้องกับชื่อเรื่องให้อยู่ในโครงการสอน
และเขียนเฉพาะเนื้อหาสาระสาคัญพอสังเขป (ไม่ควรบันทึกแผนการสอนอย่างละเอียดมาก ๆ
เพราะจะทาให้เกิดความเบื่อหน่าย)
2. ความคิดรวบยอด (Concept) หรือหลักการสาคัญ
ต้องเขียนให้ตรงกับเนื้อหาที่จะสอนส่วนนี้ถือว่าเป็นหัวใจของเรื่องครูต้องทาความเข้าใจในเนื้อหาที่จะสอนจนสา
มารถเขียนความคิดรวบยอดได้อย่างมีคุณภาพ
3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ต้องเขียนให้สอดคล้อง
กลมกลืนกับความคิดรวบยอด มิใช่เขียนตามอาเภอใจไม่ใช่เขียนสอดคล้องเฉพาะเนื้อหาที่จะสอนเท่านั้นเพราะจะ
ได้เฉพาะพฤติกรรมที่เกี่ยวกับความรู้ความจา สมองหรือการพัฒนาของนักเรียนจะไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร
4. กิจกรรมการเรียนการสอน โดยยึดเทคนิคการสอนต่างๆ ที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
5. สื่อที่ใช้ควรเลือกให้สอดคล้องกับเนื้อหา
สื่อดังกล่าวต้องช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในหลักการได้ง่าย
6. วัดผลโดยคานึงถึงเนื้อหา ความคิดรวบยอด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและช่วงที่ทาการวัด (ก่อนเรียน
ระหว่างเรียน
หลังเรียน) เพื่อตรวจสอบว่าการสอนของครูบรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ประโยชน์ของแผนการจัดการเรียนรู้
ถ้าครูได้ทาแผนการสอนและใช้แผนการสอนที่จัดทาขึ้น เพื่อนาไปใช้สอนในคราวต่อไป
แผนการสอนดังกล่าวจะเกิดประโยชน์ดังนี้(สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. 2544 : 134)
1. ครูรู้วัตถุประสงค์ของการสอน
2. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยความมั่นใจ
3. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
4. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ
5. ถ้าครูประจาชั้นไม่ได้สอน ครูที่มาทาการสอนแทนสามารถสอนแทนได้ตามจุดประสงค์ที่กาหนด
การวางแผนการจัดการเรียนรู้
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง การตีความหมายของหลักสูตร
และการกาหนดรายละเอียดของหลักสูตรที่จะต้องนามาจัดการเรียนการสอน ให้แก่ผู้เรียน
ผลจากการวางแผนจะได้
คู่มือที่ใช้เป็นแนวทาง เรียกว่ากาหนดการสอน ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้
1. ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร ได้แก่หลักการ จุดหมาย โครงสร้าง
เวลาเรียนแนวดาเนินการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ตอบสนองจุดประสงค์การเรียนรู้
และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การวัดและการประเมินการเรียน
คาอธิบายในแต่ละกลุ่มประสบการณ์ ซึ่งระบุเนื้อหาที่ต้องให้นักเรียนได้เรียงตามลาดับขั้นตอนกระบวนการที่ต้อง
ให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้
2. ศึกษาความสอดคล้องสัมพันธ์กันกับองค์ประกอบแต่ละส่วนของหลักสูตร
3. ลาดับความคิดรวบยอดที่จัดให้นักเรียนแต่ละระดับชั้นได้เรียนรู้ก่อนหลัง โดยพิจารณาขอบข่ายเนื้อหา
และกิจกรรมที่กาหนดไว้ในคาอธิบายรายวิชา
4. กาหนดผลที่ต้องการให้เกิดกับนักเรียน เมื่อได้เรียนรู้ความคิดรวบยอดแต่ละเรื่องแล้ว
5. กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามลาดับขั้นตอนที่กาหนดไว้ในคาอธิบายรายวิชา
หรืออาจพิจารณาจากกิจกรรมที่เหมาสมกับเนื้อหาสาระ
6. กาหนดเวลาเรียนให้เหมาะสมกับขอบข่ายเนื้อหาสาระหรือความคิดรวบยอดจุดประสงค์การเรียนรู้แล
ะกิจกรรมที่กาหนดไว้
7. รวบรวมรายละเอียดตามกิจกรรมข้อ 1 –
6 จัดทาเป็นเอกสารที่เรียกว่ากาหนดการสอนหรือแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ใช้เป็นแนวทางในการเตรียมแผนการสอนต่อไปการเตรียมการสอนและการปฏิบัติการสอนการเตรียมการสอนเริ่
มด้วยการจัดทาแผนการสอน ซึ่งเป็นผลมาจากการวางแผน มาสร้าง
เป็นแผนการสอนย่อยๆ องค์ประกอบที่สาคัญของแผนการสอน ควรมีดังนี้
1. สาระสาคัญ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
3. เนื้อหา
4. กิจกรรมการเรียนการสอน
5. สื่อการเรียนการสอน
6. การวัดและประเมินผลการเรียน
แผนการเรียนรู้ (Lesson Plan) ประกอบด้วย 9 หัวข้อโดยการบูรณาการของหน่วยศึกษานิเทศก์
1. สาระสาคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอดหรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับนักเรียน
เมื่อเรียนตามแผนกาสอนแล้ว
2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective) เป็นการกาหนดจุดประสงค์ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน
เมื่อเรียนจบตามแผนการสอนแล้ว
3. สาระการเรียนรู้/เนื้อหา (Content) เป็นเนื้อหาที่จัดกิจกรรมและต้องการให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้
4. กระบวนการเรียนรู้/กิจกรรมการเรียนการสอน (Instructional
Activities) เป็นการสอนขั้นตอนหรือกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งนาไปสู่จุดประสงค์ที่กาหนด
4.1 ขั้นนา
4.2 ขั้นสอน
4.3 ขั้นสรุป
4.4 ขั้นวัดผล
5. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ (Instructional Media) เป็นสื่อ และอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน
ที่กาหนดไว้ในแผนการสอน
6. กระบวนการวัดผลและประเมินผล (Measurement and
Evaluation) เป็นการกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการวัดและประเมินผล
ว่านักเรียนบรรลุจุดประสงค์ตามที่ระบุไว้ในกิจกรรมการเรียนการสอน แยกเป็นก่อนสอน ระหว่างสอน
และหลังสอน
7. ข้อเสนอแนะ เป็นกิจกรรมที่บันทึกการตรวจแผนการสอน
8. ข้อเสนอแนะของผู้บังคับบัญชา
เป็นการบันทึกตรวจแผนการสอนเพื่อเสนอแนะหลังจากได้ตรวจสอบความถูกต้อง
การกาหนดรายละเอียดในหัวข้อต่างๆ ในแผนการสอน
9. บันทึกการสอน เป็นการบันทึกของผู้สอน
หลังจากนาแผนการสอนไปใช้แล้วเพื่อเป็นการปรับปรุงและใช้ในคราวต่อไป มี 3หัวข้อ คือ
9.1 ผลการเรียน เป็นการบันทึกผลการเรียนด้านสุขภาพและปริมาณทั้ง 3ด้าน คือด้านพุทธิพิสัย
จิตพิสัย และทักษะพิสัย ซึ่งกาหนดในขั้นกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมิน
9.2 ปัญหาและอุปสรรค เป็นการบันทึก ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในขณะสอน ก่อนสอน
และหลังทาการสอน
9.3 ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
เป็นการบันทึกข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปรับปรุงการเรียนการสอน ให้เกิดการเรียนรู้
บรรลุจุดประสงค์ของบทเรียนที่หลักสูตรกาหนด
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา .......................... รหัสวิชา .........................
ภาคเรียนที่ /2555 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ......
โดย
.........................................................
ตาแหน่ง..............................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้...................................
โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
แผนการสอนยังไม่ต้องเข้าเล่ม
วิเคราะห์หลักสูตรจากหลักสูตรสถานศึกษา วิสัยทัศน์ สาระ ตัวชี้วัด เวลาเรียน สาคัญที่สุดคือหน่วยการเรียนรู้
คาอธิบายรายวิชา หน่วยนั้นเรียนกี่ชั่วโมง มีเนื้อหาอะไรบ้าง
เอาหน่วยใหญ่มากาหนดการสอนเป็นหน่วยย่อย(ตามความเหมาะสม) สอนวันที่เท่าไร (ระบุให้ชัดเจน) กี่ชั่วโมง
ถูกควบคุมจากตารางสอน บอกเวลาที่สอน กลุ่มสาระที่เราจะสอน แล้วนามาสู่การเขียนแผนฯ
องค์ประกอบการเขียนแผนการสอน
1. ส่วนหัว
2. มาตรฐานการเรียนรู้ (ถ้าใช้หลักสูตร 2544 ต้องใช้มาตรฐานการเรียนรู้หรือตัวชี้วัดช่วงชั้น)
3. ตัวชี้วัดชั้นปี/ช่วงชั้น (ถ้าใช้หลักสูตร 2551 ต้องใช้ตัวชี้วัดชั้นปี)
4. สาระสาคัญ (สามารถบอกทิศทางการเรียนการสอนได้)
5. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ให้ได้จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมวัดได้ สังเกตได้)
6. สาระการเรียนรู้ (เนื้อเรื่องที่ตรงกับการสอน)
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ต้องให้คนอื่นอ่านแล้วเข้าใจ สามารถสอนแทนเราได้)
8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9. กระบวนการวัดและการประเมินผล
- วิธีวัด (วัดตามจุดประสงค์ สังเกตบันทึก สอบถามก็ได้)
- เครื่องมือวัด
- เกณฑ์ (- การให้คะแนน - การตัดสินผลการเรียน)
10. ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นของหน.กลุ่มสาระฯ
11. ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นของผู้บริหารของสถานศึกษา
12. กิจกรรมเสนอแนะ
13. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
- ผลการจัดการเรียนรู้
- ปัญหา/อุปสรรค
- แนวทางการแก้ไขปัญหา
14. ภาคผนวก (ใบงาน ใบความรู้ บันทึกผลการจัดการเรียนการสอน(คะแนน) แบบทดสอบ เครื่องมือวัดผล )
## ต้องบอกเกณฑ์ให้คะแนนอย่างชัดเจน โดยดูแต่ละจุดประสงค์ให้กี่คะแนน แล้วเกณฑ์ตัดสินบ่งบอกระดับให้กี่คะแนน
##

More Related Content

What's hot

6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
Noopatty Sweet
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
Chanthawan Suwanhitathorn
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
Sircom Smarnbua
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวmedfai
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
nn ning
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
พัน พัน
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
Wijitta DevilTeacher
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
คุณครูพี่อั๋น
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
khanidthakpt
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวadriamycin
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลาย
ratchadaphun
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 

What's hot (20)

6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
ความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืดความตึงผิวและความหนืด
ความตึงผิวและความหนืด
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลาย
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 

Viewers also liked

การเขียนแผน
การเขียนแผนการเขียนแผน
การเขียนแผน
sujitrapa
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการKrissanachai Sararam
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
ละมุล รื่นรวย
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักAlongkorn WP
 
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการบรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการPhusit Dontree
 

Viewers also liked (8)

การเขียนแผน
การเขียนแผนการเขียนแผน
การเขียนแผน
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลักตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
ตัวอย่างการเขียนโครงการหลัก
 
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการบรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
 

Similar to การเขียนแผน

ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdfด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
PhanumatPH
 
งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52guest7f765e
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)jaacllassic
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)jaacllassic
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
jaacllassic
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
jaacllassic
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
ทศพล พรหมภักดี
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
teerayut123
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
benty2443
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
gam030
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
fernfielook
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
poppai041507094142
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Piyapong Chaichana
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
wanitchaya001
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
nattawad147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Theerayut Ponman
 

Similar to การเขียนแผน (20)

ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdfด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
สื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอนสื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอน
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

More from sujitrapa

พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
sujitrapa
 

More from sujitrapa (8)

พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
 

การเขียนแผน

  • 1. แผนการสอนคือ การวางแผนการจัดกิจกรรมเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้าอย่างละเอียด เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งมีเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน และวิธีวัดผลประเมินผลที่ชัดเจน ความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้ สุพล วังสินธ์ (2536 : 5–6) กล่าวว่า แผนการจัดการเรียนรู้เป็นกุญแจดอกสาคัญที่ทาให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้นซึ่งสรุปความไว้ ดังนี้ 1. ทาให้เกิดการวางแผนวิธีเรียนที่ดี ผสมผสานความรู้และจิตวิทยาการศึกษา 2. ช่วยให้ครูมีคู่มือการสอนที่ทาด้วยตนเองล่วงหน้ามีความมั่นใจในการสอน 3. ส่งเสริมให้ครูมีความรู้ความเข้าใจในด้านของหลักสูตร วิธีสอนการวัดผลและประเมินผล 4. เป็นคู่มือสาหรับผู้มาสอนแทน 5. เป็นหลักฐานแสดงข้อมูลที่ถูกต้องเที่ยงตรง เป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษา 6. เป็นผลงานทางวิชาการแสดงความชานาญความเชี่ยวชาญของผู้ทา ลักษณะที่ดีของแผนการจัดการเรียนรู้ สมนึก ภัททิยธนี (2546: 5) ได้กล่าวถึงลักษณะที่ดีของแผนต้องมีขั้นตอน ดังนี้ 1. เนื้อหาต้องเขียนเป็นรายคาบ หรือรายชั่วโมงตารางสอน โดยเขียนให้สอดคล้องกับชื่อเรื่องให้อยู่ในโครงการสอน และเขียนเฉพาะเนื้อหาสาระสาคัญพอสังเขป (ไม่ควรบันทึกแผนการสอนอย่างละเอียดมาก ๆ เพราะจะทาให้เกิดความเบื่อหน่าย) 2. ความคิดรวบยอด (Concept) หรือหลักการสาคัญ ต้องเขียนให้ตรงกับเนื้อหาที่จะสอนส่วนนี้ถือว่าเป็นหัวใจของเรื่องครูต้องทาความเข้าใจในเนื้อหาที่จะสอนจนสา มารถเขียนความคิดรวบยอดได้อย่างมีคุณภาพ 3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ต้องเขียนให้สอดคล้อง กลมกลืนกับความคิดรวบยอด มิใช่เขียนตามอาเภอใจไม่ใช่เขียนสอดคล้องเฉพาะเนื้อหาที่จะสอนเท่านั้นเพราะจะ ได้เฉพาะพฤติกรรมที่เกี่ยวกับความรู้ความจา สมองหรือการพัฒนาของนักเรียนจะไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร 4. กิจกรรมการเรียนการสอน โดยยึดเทคนิคการสอนต่างๆ ที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ 5. สื่อที่ใช้ควรเลือกให้สอดคล้องกับเนื้อหา สื่อดังกล่าวต้องช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในหลักการได้ง่าย 6. วัดผลโดยคานึงถึงเนื้อหา ความคิดรวบยอด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและช่วงที่ทาการวัด (ก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน) เพื่อตรวจสอบว่าการสอนของครูบรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ประโยชน์ของแผนการจัดการเรียนรู้
  • 2. ถ้าครูได้ทาแผนการสอนและใช้แผนการสอนที่จัดทาขึ้น เพื่อนาไปใช้สอนในคราวต่อไป แผนการสอนดังกล่าวจะเกิดประโยชน์ดังนี้(สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. 2544 : 134) 1. ครูรู้วัตถุประสงค์ของการสอน 2. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยความมั่นใจ 3. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 4. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ 5. ถ้าครูประจาชั้นไม่ได้สอน ครูที่มาทาการสอนแทนสามารถสอนแทนได้ตามจุดประสงค์ที่กาหนด การวางแผนการจัดการเรียนรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง การตีความหมายของหลักสูตร และการกาหนดรายละเอียดของหลักสูตรที่จะต้องนามาจัดการเรียนการสอน ให้แก่ผู้เรียน ผลจากการวางแผนจะได้ คู่มือที่ใช้เป็นแนวทาง เรียกว่ากาหนดการสอน ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้ 1. ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร ได้แก่หลักการ จุดหมาย โครงสร้าง เวลาเรียนแนวดาเนินการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ตอบสนองจุดประสงค์การเรียนรู้ และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การวัดและการประเมินการเรียน คาอธิบายในแต่ละกลุ่มประสบการณ์ ซึ่งระบุเนื้อหาที่ต้องให้นักเรียนได้เรียงตามลาดับขั้นตอนกระบวนการที่ต้อง ให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้ 2. ศึกษาความสอดคล้องสัมพันธ์กันกับองค์ประกอบแต่ละส่วนของหลักสูตร 3. ลาดับความคิดรวบยอดที่จัดให้นักเรียนแต่ละระดับชั้นได้เรียนรู้ก่อนหลัง โดยพิจารณาขอบข่ายเนื้อหา และกิจกรรมที่กาหนดไว้ในคาอธิบายรายวิชา 4. กาหนดผลที่ต้องการให้เกิดกับนักเรียน เมื่อได้เรียนรู้ความคิดรวบยอดแต่ละเรื่องแล้ว 5. กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามลาดับขั้นตอนที่กาหนดไว้ในคาอธิบายรายวิชา หรืออาจพิจารณาจากกิจกรรมที่เหมาสมกับเนื้อหาสาระ 6. กาหนดเวลาเรียนให้เหมาะสมกับขอบข่ายเนื้อหาสาระหรือความคิดรวบยอดจุดประสงค์การเรียนรู้แล ะกิจกรรมที่กาหนดไว้ 7. รวบรวมรายละเอียดตามกิจกรรมข้อ 1 – 6 จัดทาเป็นเอกสารที่เรียกว่ากาหนดการสอนหรือแนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใช้เป็นแนวทางในการเตรียมแผนการสอนต่อไปการเตรียมการสอนและการปฏิบัติการสอนการเตรียมการสอนเริ่ มด้วยการจัดทาแผนการสอน ซึ่งเป็นผลมาจากการวางแผน มาสร้าง เป็นแผนการสอนย่อยๆ องค์ประกอบที่สาคัญของแผนการสอน ควรมีดังนี้ 1. สาระสาคัญ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 3. 3. เนื้อหา 4. กิจกรรมการเรียนการสอน 5. สื่อการเรียนการสอน 6. การวัดและประเมินผลการเรียน แผนการเรียนรู้ (Lesson Plan) ประกอบด้วย 9 หัวข้อโดยการบูรณาการของหน่วยศึกษานิเทศก์ 1. สาระสาคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอดหรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับนักเรียน เมื่อเรียนตามแผนกาสอนแล้ว 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective) เป็นการกาหนดจุดประสงค์ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อเรียนจบตามแผนการสอนแล้ว 3. สาระการเรียนรู้/เนื้อหา (Content) เป็นเนื้อหาที่จัดกิจกรรมและต้องการให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ 4. กระบวนการเรียนรู้/กิจกรรมการเรียนการสอน (Instructional Activities) เป็นการสอนขั้นตอนหรือกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งนาไปสู่จุดประสงค์ที่กาหนด 4.1 ขั้นนา 4.2 ขั้นสอน 4.3 ขั้นสรุป 4.4 ขั้นวัดผล 5. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ (Instructional Media) เป็นสื่อ และอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ที่กาหนดไว้ในแผนการสอน 6. กระบวนการวัดผลและประเมินผล (Measurement and Evaluation) เป็นการกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการวัดและประเมินผล ว่านักเรียนบรรลุจุดประสงค์ตามที่ระบุไว้ในกิจกรรมการเรียนการสอน แยกเป็นก่อนสอน ระหว่างสอน และหลังสอน 7. ข้อเสนอแนะ เป็นกิจกรรมที่บันทึกการตรวจแผนการสอน 8. ข้อเสนอแนะของผู้บังคับบัญชา เป็นการบันทึกตรวจแผนการสอนเพื่อเสนอแนะหลังจากได้ตรวจสอบความถูกต้อง การกาหนดรายละเอียดในหัวข้อต่างๆ ในแผนการสอน 9. บันทึกการสอน เป็นการบันทึกของผู้สอน หลังจากนาแผนการสอนไปใช้แล้วเพื่อเป็นการปรับปรุงและใช้ในคราวต่อไป มี 3หัวข้อ คือ 9.1 ผลการเรียน เป็นการบันทึกผลการเรียนด้านสุขภาพและปริมาณทั้ง 3ด้าน คือด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ซึ่งกาหนดในขั้นกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมิน
  • 4. 9.2 ปัญหาและอุปสรรค เป็นการบันทึก ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในขณะสอน ก่อนสอน และหลังทาการสอน 9.3 ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข เป็นการบันทึกข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปรับปรุงการเรียนการสอน ให้เกิดการเรียนรู้ บรรลุจุดประสงค์ของบทเรียนที่หลักสูตรกาหนด แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา .......................... รหัสวิชา ......................... ภาคเรียนที่ /2555 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ...... โดย ......................................................... ตาแหน่ง..............................................
  • 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้................................... โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม อาเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 แผนการสอนยังไม่ต้องเข้าเล่ม วิเคราะห์หลักสูตรจากหลักสูตรสถานศึกษา วิสัยทัศน์ สาระ ตัวชี้วัด เวลาเรียน สาคัญที่สุดคือหน่วยการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชา หน่วยนั้นเรียนกี่ชั่วโมง มีเนื้อหาอะไรบ้าง เอาหน่วยใหญ่มากาหนดการสอนเป็นหน่วยย่อย(ตามความเหมาะสม) สอนวันที่เท่าไร (ระบุให้ชัดเจน) กี่ชั่วโมง ถูกควบคุมจากตารางสอน บอกเวลาที่สอน กลุ่มสาระที่เราจะสอน แล้วนามาสู่การเขียนแผนฯ องค์ประกอบการเขียนแผนการสอน 1. ส่วนหัว 2. มาตรฐานการเรียนรู้ (ถ้าใช้หลักสูตร 2544 ต้องใช้มาตรฐานการเรียนรู้หรือตัวชี้วัดช่วงชั้น) 3. ตัวชี้วัดชั้นปี/ช่วงชั้น (ถ้าใช้หลักสูตร 2551 ต้องใช้ตัวชี้วัดชั้นปี) 4. สาระสาคัญ (สามารถบอกทิศทางการเรียนการสอนได้) 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ให้ได้จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมวัดได้ สังเกตได้) 6. สาระการเรียนรู้ (เนื้อเรื่องที่ตรงกับการสอน) 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ต้องให้คนอื่นอ่านแล้วเข้าใจ สามารถสอนแทนเราได้) 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9. กระบวนการวัดและการประเมินผล - วิธีวัด (วัดตามจุดประสงค์ สังเกตบันทึก สอบถามก็ได้) - เครื่องมือวัด - เกณฑ์ (- การให้คะแนน - การตัดสินผลการเรียน)
  • 6. 10. ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นของหน.กลุ่มสาระฯ 11. ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นของผู้บริหารของสถานศึกษา 12. กิจกรรมเสนอแนะ 13. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ - ผลการจัดการเรียนรู้ - ปัญหา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไขปัญหา 14. ภาคผนวก (ใบงาน ใบความรู้ บันทึกผลการจัดการเรียนการสอน(คะแนน) แบบทดสอบ เครื่องมือวัดผล ) ## ต้องบอกเกณฑ์ให้คะแนนอย่างชัดเจน โดยดูแต่ละจุดประสงค์ให้กี่คะแนน แล้วเกณฑ์ตัดสินบ่งบอกระดับให้กี่คะแนน ##