SlideShare a Scribd company logo
1
เนือหาเพิมเติม
รายวิชาศาสนาและหน้าทีพลเมือง
(สค )
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ การะทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.
เอกสารวิชาการเลขที 46/2557
2
คํานํา
ตามทีสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้ดําเนินการจัดทํา
หนังสือเรียนรายวิชา ศาสนาและหน้าทีพลเมืองขึนเพือสําหรับใช้ในการเรียนการสอนตามหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 เมือพุทธศักราช โดยมี
วัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา และศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษา
ต่อ ในระดับทีสูงขึนและสามารถดํารงชีวิตอยู่ในครอบครัว ชุมชน สังคมได้อย่างมีความสุข ซึงผู้เรียน
สามารถนําหนังสือเรียนไปใช้ในการศึกษาด้วยตัวเองและสํานักงาน กศน.ได้เคยปรับเพิมเติมเนือหา
เกียวกับ การมีส่วนร่วมในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต เพือให้สอดคล้องกับนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการนัน
ขณะนีคณะกรรมการรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)มีนโยบายในการปลุกจิตสํานึกให้คนไทย
มีความรักชาติ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในการอยู่ร่วมกัน
อย่าง สามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์ สํานักงาน กศน.จึงได้มีการดําเนินการปรับเพิมตัวชีวัดของหลักสูตร
และเนือหาหนังสือเรียนให้สอดคล้องตามนโยบายดังกล่าว โดยเพิมเนือหาเกียวกับหลักการสําคัญของ
ประชาธิปไตย และการปฏิบัติตนตามคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี
ปรองดอง สมานฉันท์เพือให้สถานศึกษานําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา กศน.ต่อไป
ทังนี สํานักงาน กศน.ได้รับความร่วมมือด้วยดีจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ทีเกียวข้อง หลายท่าน ซึง
ช่วยกันค้นคว้าและเรียบเรียงเนือหาสาระจากสือต่างๆเพือให้ได้หนังสือเรียนทีสอดคล้องกับหลักสูตรและ
เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนทีอยู่นอกระบบโรงเรียนอย่างแท้จริง สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณทีปรึกษา คณะ ผู้เรียบเรียง ตลอดจนคณะผู้จัดทําทุกท่านทีให้ความ
ร่วมมือด้วยดีไว้ณ โอกาสนี
สํานักงาน กศน.
กันยายน
3
สารบัญ
หน้า
 การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
o . ความหมายของประชาธิปไตย
o . ความเป็นมาของประชาธิปไตย
o . หลักการสําคัญของประชาธิปไตย
o . การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข (constitutionalmonarchy)
 วัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยแบ่งตามคารวธรรม
ปัญญาธรรม และสามัคคีธรรม
 ค่านิยมพืนฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ประการ
 กิจกรรม
• บรรณานุกรม
• คณะผู้จัดทํา
1
การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
นายวัฒนา อัคคพานิช
. ความหมายของประชาธิปไตย
คําว่า“ประชาธิปไตย”มาจากภาษาอังกฤษคําว่า“democracy”มีทีมาจากภาษากรีกคําว่า“demos”
ทีแปลว่าประชาชนกับคําว่า “kratos” ทีแปลว่าอํานาจ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร
กรมหมืนนราธิปพงศ์ประพันธ์ ได้ทรงนําคําว่า “ปรฺชา” ในภาษาสันสกฤตทีแปลว่าลูกสาว ลูกชาย
คนทังหลาย มาสนธิกับคําว่า “อธิปเตยฺย” ในภาษาบาลีทีแปลว่าความเป็นใหญ่ ดังนันประชาธิปไตยจึง
หมายถึงระบอบการปกครองทีถือมติปวงชนเป็นใหญ่ การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่(พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ) ประชาธิปไตยนันครอบคลุมทังสามมิติใหญ่ๆดังนี
. ประชาธิปไตยในมิติทีเป็นอุดมการณ์ทางการเมืองการปกครอง
. ประชาธิปไตยในมิติทีเป็นระบอบการเมืองการปกครอง
. ประชาธิปไตยในมิติทีเป็นวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต
ประชาธิปไตย
[ปฺระชาทิปะไต, ปฺระชาทิบปะไต] น.ระบอบการปกครองทีถือมติปวงชนเป็น
ใหญ่,
การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่. (ส.ปฺรชา + ป.อธิปเตยฺย).
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมืนนราธิปพงศ์ประพันธ์
2
คนส่วนใหญ่มักเชือตามๆกันว่าอับราฮัม ลินคอล์น ประธานาธิบดีคนที ของสหรัฐอเมริกา
ได้ให้คํานิยามไว้ว่าประชาธิปไตยคือการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพือประชาชน แท้ที
จริงอับราฮัมลินคอล์นไม่ได้ให้คํานิยามดังกล่าว เพียงแต่ได้กล่าวสุนทรพจน์ทีเมืองเก็ตตีสเบอร์กหลัง
สงครามกลางเมืองระหว่างมลรัฐทางเหนือกับมลรัฐทางใต้เมือค.ศ. ตอนหนึงว่า “....การปกครองของ
ประชาชน โดยประชาชนจะไม่สูญสลายไปโลกนี ( “…and that government ofthe people,by the people
and for the people shall not perish from the earth.”)
อับราฮัม ลินคอล์น ประธานาธิบดีคนที ของสหรัฐอเมริกา
สุนทรพจน์ของอับราฮัม ลินคอล์น ประธานาธิบดีคนที ของสหรัฐอเมริกา
3
ถึงแม้ว่าคําว่า “ประชาธิปไตยคือการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพือ
ประชาชน”จะฟังดูดี แต่ความหมายทีตรงทีสุดของประชาธิปไตยก็คือการปกครองโดยประชาชนคนไทย
จํานวนมากเมือ พูดถึงประชาธิปไตยก็มักจะนึกถึงรัฐธรรมนูญ เป็นต้นว่า ถ้าให้นักเรียนนักศึกษาทํา
รายงานเรืองประชาธิปไตย โดยกําหนดว่าหน้าปกรายงานให้มีรูปภาพด้วย คิดว่านักเรียนนักศึกษาส่วน
ใหญ่จะใส่รูปอะไร เชือว่าส่วนใหญ่จะใส่รูปรัฐธรรมนูญไว้ด้วย
นีอาจเป็นภาพสะท้อนว่า คนไทยจํานวนมากเมือพูดถึงประชาธิปไตยก็มักจะนึกถึง
รัฐธรรมนูญหรืออาจไปถึงขันทีว่ารัฐธรรมนูญเท่ากับประชาธิปไตยซึงไม่เป็นความจริง ยกตัวอย่างเช่น
สาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี(เกาหลีเหนือ) ทีปกครองด้วย
ระบอบเผด็จการก็มีรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐประชาชนจีน
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี(เกาหลีเหนือ)ก็มีรัฐธรรมนูญ
4
ทังนีเพราะทุกประเทศไม่ว่าปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยหรือเผด็จการก็ล้วนต้องมี
รัฐธรรมนูญทุกประเทศ รัฐธรรมนูญหาได้เป็นสัญลักษณ์ของประชาธิปไตยแต่อย่างใดไม่
คนจํานวนไม่น้อยเชือว่าระบอบการเมืองการปกครองสามารถแบ่งออกได้เป็น ระบอบใหญ่
คือประชาธิปไตยกับสังคมนิยม แต่ทีจริงแล้วหากแบ่งระบอบการเมืองการปกครองโดยถือเอาจํานวนผู้มี
อํานาจสูงสุดเป็นเกณฑ์จะสามารถแบ่งระบอบการเมืองการปกครองออกเป็น ระบอบใหญ่ๆคือ
) ระบอบเผด็จการ(dictatorial regime)คือระบอบการเมืองการปกครองทีคนส่วนน้อย
หรือคนเดียวเป็นเจ้าของอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ปัจจุบันนีประเทศทีปกครองด้วยระบอบ
เผด็จการ เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน ราชอาณาจักรซาอุดิอารเบีย เนการาบรูไนดารุสซาลาม
สาธารณรัฐคิวบาสาธารณรัฐแคเมรูน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนามสาธารณรัฐเบลารุสสาธารณรัฐชาด
เป็นต้น (ข้อมูล ณ วันที สิงหาคม พ.ศ. หลังจากนีอาจมีการเปลียนแปลงได้)
2) ระบอบประชาธิปไตย(democraticregime)คือระบอบการเมืองการปกครองทีคนส่วนใหญ่
หรือทุกคนเป็นเจ้าของอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เช่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา
สาธารณรัฐฝรังเศส สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐเกาหลี(เกาหลีใต้) ญีปุ่น ราชอาณาจักร
เนเธอร์แลนด์ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นต้น (ข้อมูล ณ วันที สิงหาคม พ.ศ. หลังจากนีอาจมีการ
เปลียนแปลงได้)
สรุปได้ว่าระบอบการเมืองการปกครองสามารถแบ่งออกได้เป็น ระบอบใหญ่ๆ คือ
เผด็จการกับประชาธิปไตย ส่วนระบบเศรษฐกิจแบ่งออกได้เป็น ระบบใหญ่ๆ คือทุนนิยมกับสังคมนิยม
. ความเป็นมาของประชาธิปไตย
รัฐทีปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยทีเก่าแก่ทีสุดในโลกเท่าทีมีหลักฐานทีน่าเชือถือก็คือ
นครรัฐเอเธนส์ซึงเป็นทีตังของกรุงเอเธนส์ สาธารณรัฐกรีซในปัจจุบันเมือราว ปีก่อนคริสต์กาล แต่
ต่อมาได้ล่มสลายไปเนืองจากนครรัฐเอเธนส์แพ้สงครามเพโลโพนีเซียนแก่นครรัฐสปาร์ตา
แผนทีแสดงทีตังนครรัฐเอเธนส์ในทวีปยุโรป
5
ค.ศ. พระเจ้าจอห์นที ขึนภาษีตามอําเภอใจ ทําให้ขุนนางและราษฎรชาวอังกฤษไม่พอใจ
จึงร่วมมือกันลวงพระองค์ไปล่าสัตว์แล้วบังคับให้ทรงลงนามใน “มหากฎบัตร”(Magna Carta)เพือจํากัด
พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์ค.ศ. และค.ศ. พระมหากษัตริย์พระองค์ต่อๆมาจําต้องทรง
ลงนามในกฎหมายสําคัญๆนับเป็นเหตุการณ์สําคัญก่อนทีสหราชอาณาจักรจะเป็นประชาธิปไตยใน
ปัจจุบัน
ค.ศ. สหรัฐอเมริกาประกาศเป็นประเทศเอกราชหลังทําสงครามชนะสหราชอาณาจักร
ก็ได้นําเอาประชาธิปไตยมาใช้ในสหรัฐอเมริกาด้วย
ค.ศ. เกิดการปฏิวัติครังใหญ่ในฝรังเศส ชาวฝรังเศสลุกฮือขึนต่อต้านอํานาจของพระเจ้า
หลุยส์ที มีการสถาปนาสาธารณรัฐ(ประเทศทีประมุขเป็นสามัญชนไม่ใช่กษัตริย์)ไม่ใช่ทําให้ประชาชน
มีอํานาจมากขึน แม้ภายหลังฝรังเศสจะกลับไปปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อีก แต่ก็นับว่าเป็น
เหตุการณ์สําคัญบนเส้นทางประชาธิปไตยของฝรังเศส
ต่อมาหลายประเทศในโลกก็ปฏิวัติและเปลียนแปลงไปเป็นประชาธิปไตยมากขึนเรือยๆ
ความเป็นมาของประชาธิปไตยของไทย
พ.ศ. (ร.ศ. ) พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์และข้าราชการทําหนังสือกราบ
บังคมทูลฯพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอให้ทรงเปลียนแปลงการปกครองจาก
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นแบบประชาธิปไตย แต่พระองค์ไม่ทรงยินยอม โดยทรงให้เหตุผลว่าราษฎร
ส่วนใหญ่ยังไม่พร้อม
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์
6
พ.ศ. กบฏร.ศ. คณะทหารกลุ่มหนึงนําโดยร้อยเอกขุนทวยหาญพิทักษ์(เหล็งศรีจันทร์)
วางแผนและเตรียมการจะยึดอํานาจการปกครองจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ถูกจับได้
เสียก่อน
คณะกบฏ ร.ศ. นําโดยร้อยเอกขุนทวยหาญพิทักษ์(แถวหน้าคนทีสองจากซ้าย)
พ.ศ. การเปลียนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรนําโดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา
เปลียนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นแบบประชาธิปไตยได้สําเร็จ แม้ภายหลังจะมี
การรัฐประหารและปกครองแบบเผด็จการอีกหลายครัง แต่ก็นับได้ว่าเป็นเหตุการณ์สําคัญของการพัฒนา
ประชาธิปไตยของไทย
คณะราษฎรฝ่ายทหารบกนําโดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา(คนทีห้าจากซ้ายแถวกลาง)
7
. หลักการสําคัญของประชาธิปไตย
หลักการของประชาธิปไตยแตกต่างกันไปตามการทัศนะของนักวิชาการแต่ละท่าน ในทีนี
ขอกําหนดหลักการของประชาธิปไตยเฉพาะทีสําคัญๆ ดังนี
. หลักอํานาจอธิปไตยของปวงชน(popular sovereignty)
ดังทีกล่าวมาแล้วว่า ประชาธิปไตยหมายถึงระบอบการปกครองทีถือมติปวงชนเป็นใหญ่
การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่ เพราะประชาธิปไตยตังอยู่บนหลักปรัชญามนุษยนิยมทีเชือว่ามนุษย์มีคุณค่า
มีศักดิศรี มีคุณภาพสามารถทีจะปกครองกันเองได้ไม่ควรทีจะให้อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศไป
อยู่ใครคนเดียวหรือกลุ่มคนส่วนน้อยกลุ่มเดียว หากแต่ควรทีจะให้ประชาชนทุกคนมีส่วนในการกําหนด
ความเป็นไปของสังคมและประเทศชาติร่วมกัน คงเป็นไปไม่ได้ทีจะให้ทุกคนมีความคิดเห็นเหมือนกัน
หมดทุกคน หากกลุ่มหนึงมีความคิดเห็นอย่างหนึง แต่อีกกลุ่มหนึงมีความคิดเห็นอีกอย่างหนึง บางครัง
การกําหนดความเป็นไปของสังคมและประเทศชาติจําเป็นต้องเลือกทีจะปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึงเท่านัน
ดังนันสังคมและประเทศทีเป็นประชาธิปไตยจึงต้องให้สมาชิกทุกคนในสังคมลงมติเพือให้ทราบความ
คิดเห็นของคนส่วนใหญ่และนํามาใช้เป็นแนวทางในการกําหนดความเป็นไปของสังคมและประเทศชาติ
อย่างไรก็ดีสมาชิกในสังคมประชาธิปไตยจําเป็นต้องเข้าใจว่าฝ่ายทีเป็นเสียงข้างมากไม่ควรใช้
ความเป็นเสียงข้างมากละเมิดสิทธิและเสรีภาพขันพืนฐานของฝ่ายเสียงข้างน้อย ดังทีเรียกว่า “ปกครอง
โดยเสียงข้างมากและเคารพสิทธิของเสียงข้างน้อย(majority rule and minority rights)” เช่น ฝ่ายเสียงข้าง
มากไม่พึงใช้มติเพือจักสรรงบประมาณให้แก่พืนทีของพวกตนโดยไม่คํานึงถึงความจําเป็นของคนส่วน
น้อยทีได้รับความเดือดร้อน
และเมือต้องปกครองด้วยเสียงข้างมากต้องยอมรับว่าเสียงข้างมากอาจจะบอกได้ถึงความคิดเห็น
หรือความต้องการของคนส่วนใหญ่ในสังคมเท่านัน แต่อาจจะไม่สามารถตัดสินความจริงและความ
ถูกต้องได้ ดังเช่นเมือประมาณห้าร้อยปีก่อนคนเกือบทังโลกนับพันล้านคนเชือว่าโลกเป็นศูนย์กลางของ
จักรวาล มีเพียงนิโคลัสโคเปอร์นิคัสและกาลิเลโอกาลิเลอีเท่านันทีบอกว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของ
จักรวาล แม้เสียงข้างมากจะลงมติให้โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล แต่ความจริงก็หาได้เป็นไปตามเสียง
ข้างมากด้วย แล้วอะไรทีจะทําให้เสียงข้างมากเป็นเสียงข้างมากแห่งความจริงและความถูกต้อง ก็คือ
การศึกษานันเอง ดังนัน ประชาธิปไตยจะสําเร็จผลด้วยดีนันจําเป็นต้องพัฒนาคุณภาพประชาชนอย่างมี
ประสิทธิภาพด้วย
8
. หลักสิทธิและเสรีภาพ(right and liberty)
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ระบุว่าสิทธิหมายถึงอํานาจอันชอบธรรม เช่น
บุคคลมีสิทธิและหน้าทีตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิในทีดินแปลงนี หรืออํานาจทีกฎหมายรับรองให้
กระทําการใดๆ โดยสุจริตได้อย่างอิสระ แต่ต้องไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของคนอืน
ประชาชนในระบอบเผด็จการนันจะมีสิทธิและเสรีภาพได้อย่างจํากัด แต่ประชาธิปไตยทีมี
หลักการพืนฐานสําคัญทีว่ามนุษย์มีศักดิศรี มีคุณค่าจึงให้ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพมากกว่าเผด็จการ
มาก ทังนีก็เพือให้ประชาชนได้สามารถทีจะแสดงศักยภาพในการมีส่วนร่วมพัฒนาสังคมและ
ประเทศชาติอย่างมากในฐานะเจ้าของอํานาจสูงสุด โดยทีเผด็จการนันประชาชนสามารถมีส่วนร่วมได้
เพียงในฐานะผู้ใต้ปกครองเท่าทีผู้ปกครองจะอนุญาตให้เท่านัน
หลายครังคนส่วนใหญ่มักคิดถึงสิทธิทีจะได้สิทธิทีจะมีเพียงด้านเดียว แต่สิทธิในระบอบ
ประชาธิปไตยนันประชาชนมีสิทธิทีจะให้สิงทีดี สิงทีมีประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติด้วย ซึงก็คือ
หน้าทีนันเอง สิทธิและหน้าทีเป็นสิงทีต้องอยู่คู่กันอย่างสมดุลเสมอ บุคคลย่อมไม่อาจมีสิทธิได้หากไม่ทํา
หน้าที
จะได้สิทธิเหล่านีต้องมีหน้าทีอะไร?
• สิทธิทีจะได้รับบริการและสาธารณูปโภคทีดีจากรัฐ
• มีหน้าทีต้องเสียภาษี
• สิทธิทีจะได้นักการเมืองทีซือสัตย์สุจริต ได้รัฐบาลทีทําให้ประเทศเจริญก้าวหน้า
• มีหน้าทีต้องเลือกตังอย่างมีคุณภาพ
• สิทธิทีจะอยู่ในประเทศทีมันคง เป็นเอกราช
• มีหน้าทีต้องรับราชการทหาร
• สิทธิทีจะอยู่ในประเทศทีสงบเรียบร้อย
• มีหน้าทีต้องช่วยกันสอดส่อง เป็นหูเป็นตา เป็นพยาน
• สิทธิทีจะอยู่ในประเทศทีมีทรัพยากรต่างๆ
• มีหน้าทีต้องช่วยกันดูแลรักษาทรัพยากรต่างๆ
• สิทธิทีจะอยู่ในสภาพแวดล้อมทีดี
• มีหน้าทีต้องช่วยกันทนุบํารุงรักษาสภาพแสดล้อม
• สิทธิทีจะอยู่ในประเทศทีมีศิลปวัฒนธรรมทีดี
• มีหน้าทีต้องช่วยกันอนุรักษ์ทนุบํารุง ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ถ้าทุกคนไม่ทําหน้าทีจะได้สิทธิต่างๆเหล่านีได้อย่างไร ?
9
ดังนันประชาชนในระบอบประชาธิปไตยทุกคนจะต้องเห็นประโยชน์และความสําคัญของการ
ทําหน้าทีของประชาชนอย่างเต็มใจด้วย หากทุกคนทําหน้าทีเป็นอย่างดีสิทธิก็จะได้ตามมาอย่างแน่นอน
เช่นหากทุกคนทําหน้าทีไปใช้สิทธิเลือกตังอย่างมีคุณภาพไม่เลือกผู้สมัครหรือพรรคการเมืองทีใช้จ่ายใน
การหาเสียงเลือกตังในทางทีไม่สุจริต ติดตามข่าวสารทางการเมืองและนํามาใช้ประกอบการพิจารณาใน
การเลือกตัง จะได้ตัวแทนทีซือสัตย์สุจริตและมีความรู้ความสามารถไปบริหารประเทศได้อย่างไร
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ระบุว่าเสรีภาพหมายถึงความสามารถทีจะกระทํา
การใดๆได้ตามทีตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือ
ศาสนา ความมีสิทธิทีจะทําจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อืน
ในระบอบเผด็จการประชาชนมักจะถูกจํากัดเสรีภาพอย่างมาก พอเปลียนมาเป็นยุคประชาธิปไตย
คนทัวไปมักเข้าใจเอาเองว่าบุคคลย่อมมีเสรีภาพได้อย่างเต็มที จะทําอะไรก็ได้ตามใจชอบ การใช้เสรีภาพ
ของบุคคลนันอาจไปกระทบหรือละเมิดต่อเสรีภาพของบุคคลอืนได้ หรืออาจกล่าวได้ว่าการใช้เสรีภาพ
ต้องมีความรับผิดชอบกํากับอยู่ด้วยเสมออันหมายถึงความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อืน ยกตัวอย่างเช่น
หากพ่อแม่ให้เสรีภาพแก่ลูกทียังเป็นผู้เยาว์ใช้จ่ายเงินได้เป็นจํานวนมากเกินความรับผิดชอบของลูกทียัง
เป็นผู้เยาว์ ลูกก็อาจจะถูกชิงทรัพย์ถูกทําร้าย หรืออาจใช้เงินจนก่อให้เกิดผลร้ายต่อตนเองและผู้อืนได้
ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจึงต้องเข้าใจซาบซึงถึงหลักการทีว่า“ใช้สิทธิแต่ไม่ละทิงหน้าที”
และ “ใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ”แต่มิได้หมายความว่าเสรีภาพของคนอืนทําให้เราต้องมีเสรีภาพน้อยลง
แต่อย่างใด เพราะมนุษย์ทีมีอยู่คนเดียว และมีเสรีภาพทีจะทําอะไรก็ได้ตามใจชอบทังหมดไม่มีอยู่จริง
มีแต่มนุษย์ทีอยู่ร่วมกับคนอืน เพราะมนุษย์เป็นสิงมีชีวิตทีต้องพึงพาอาศัยกัน มนุษย์จึงต้องอยู่ร่วมกัน
เป็นสังคม ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยพึงยินดีทีจะใช้เสรีภาพของตนเพือให้คนอืนได้ใช้เสรีภาพ
เท่าเทียมกับตน
สภาพทีบุคคลมีเสรีภาพทีจะทําอะไรก็ได้ตามใจชอบโดยไม่จํากัดนันเป็นลักษณะของอนาธิปไตย
ซึงมาจากคําว่า “อน”ทีแปลว่าไม่มีและคําว่า“อธิปไตย”ทีแปลว่าอํานาจสูงสุด “อนาธิปไตย”จึงหมายถึง
สภาวะทีไม่มีอํานาจสูงสุด ทุกคนใหญ่หมด ใครจะทําอะไรก็ได้ตามใจชอบ น่าจะเป็นภาวะทีจลาจล
สับสน วุ่นวายเป็นอย่างยิง ดังนันจะเห็นได้ว่า การเข้าใจว่าประชาชนควรมีเสรีภาพทีจะทําอะไรก็ได้
ตามใจชอบนันคืออนาธิปไตย ไม่ใช่ประชาธิปไตย
10
. หลักความเสมอภาค(equality)
ประชาชนในระบอบเผด็จการย่อมมีความเสมอภาคในความเป็นมนุษย์น้อยกว่าประชาชน
ในระบอบประชาธิปไตย เช่น สิทธิทางการเมืองการปกครอง สิทธิเลือกตัง สิทธิในฐานะมนุษย์หรือ
ทีเรียกว่าสิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคในฐานะทีเป็นมนุษย์ ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา
การเมือง เศรษฐกิจ สังคม
อย่างไรก็ดี มิได้หมายความว่าประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องมีความเสมอภาค
เสมอภาคกันทุกเรืองทังหมด ความเสมอภาคนีหมายถึงความเสมอภาคกันในฐานะมนุษย์ แต่ประชาชน
ในระบอบประชาธิปไตยอาจมีบทบาท หน้าทีทีแตกต่างกันได้ เช่น ครูย่อมมีความเสมอภาคกับนักเรียน
ในฐานะทีเป็นมนุษย์ และในฐานะทีเป็นพลเมือง แต่การทีครูเป็นผู้ทําหน้าทีสอน มอบหมายภารกิจการ
เรียน วัดและประเมินผลผู้เรียน และนักเรียนเป็นผู้เรียนรับมอบภารกิจการเรียน รับการวัดและประเมินผล
จากครูนัน มิได้หมายความว่าครูกับนักเรียนไม่เสมอภาคกัน
. หลักภราดรภาพ (fraternity)
ความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยนันต้องเป็นความเสมอภาคทียึดหลักความยึดเหนียวกัน
ในสังคม(social coherence) ไม่ใช่ความเสมอภาคแบบตัวใครตัวมัน(individualistic) หรือความเสมอภาค
แบบ ไม่ยอมเสียเปรียบกัน ถ้าคนหนึงได้ ส่วน คนอืนๆก็ต้องได้ ส่วนเท่ากันน้อยกว่านีเป็นไม่ยอมกัน
ต้องแย่งชิงกัน ขัดแย้ง ทะเลาะเบาะแว้งกัน แต่เสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยนีหมายถึงสุขทุกข์เสมอ
กัน หากใครในสังคมมีความสุขคนอืนๆก็พร้อมทีจะสุขด้วย และหากใครในสังคมมีความทุกข์คนอืนๆก็
พร้อมทีจะทุกข์ด้วย พร้อมทีจะช่วยกันทังยามสุขและทุกข์ ไม่เลือกทีรักผลักทีชัง ไม่กีดกันกัน มิใช่คอย
แต่จะอิจฉาริษยาไม่ให้ใครได้เปรียบใครอยู่ตลอดเวลา ทังหมดนีก็คือหลักภราดรภาพในระบอบ
ประชาธิปไตยนันเอง ซึงก็คือความเป็นพีน้องกัน ไม่แบ่งแยกรังเกียจเดียดฉันท์กันมีความสมัครสมานรัก
ใคร่กลมเกลียวกัน(solidarity)
อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่าประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องมีความคิดเห็นมีความ
ปรารถนาต้องการเหมือนกันทุกเรือง ตรงกันข้าม ระบอบประชาธิปไตยต้องการคนทีมีความคิดเห็นที
แตกต่างหลากหลาย เพราะนันอาจเป็นทางเลือกทีดีทีสุดของสังคมก็ได้ และถ้าไม่มีความคิดเห็นที
แตกต่างหลากหลาย สังคมโลกก็อาจจะไม่พัฒนาไปไหนเลยเช่น ป่านนีอาจจะยังเชือว่าโลกแบนและเป็น
ศูนย์กลางของจักรวาลอยู่ก็ได้ ประชาธิปไตยจึงไม่หลบหนีความขัดแย้ง หากแต่ประชาชนในระบอบ
ประชาธิปไตยจะต้องช่วยกันทําให้ความขัดแย้งนันนําไปสู่การสร้างสรรค์
11
ความขัดแย้งในระบอบประชาธิปไตยจะไม่นําไปสู่การทําลายกันหากประชาชนในระบอบ
ประชาธิปไตยใฝ่ในความจริง ความถูกต้อง และความดีงาม เพราะแม้จะมีความคิดเห็นและความต้องการ
ทีแตกต่างกันแต่ทังหมดก็เป็นไปเพือความเจริญก้าวหน้าของสังคม ประกอบกับประชาชนในระบอบ
ประชาธิปไตยจะต้องเป็นคนทีพูดกันง่าย(แต่ไม่ใช่ว่านอนสอนง่าย)พร้อมทีจะเข้าใจกัน พร้อมเพรียงทีจะ
หาทางออกทีดีงามสําหรับทุกคน
รวมถึงประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องรู้จักพิจารณาแยกแยะกรณีต่างๆอย่างถูกต้อง
เหมาะสม ไม่ใช่ทําความขัดแย้งประเด็นเดียวลุกลามใหญ่โตกลายเป็นขัดแย้งกันไปหมดทุกเรือง เช่น
ฝ่ายหนึงมีความคิดเห็นหรือความต้องการทีขัดแย้งกับอีกฝ่ายหนึงก็ต้องเพียรหาทางแก้ไขความขัดแย้งที
สร้างสรรค์ ต้องเข้าใจไม่ให้พาลไปขัดแย้งกันในเรืองอืนๆจนกลายเป็นแตกแยก บาดหมาง ร้าวลึกไปทัง
สังคม เพราะแม้เราจะมีความคิดเห็นหรือความต้องการไม่ตรงกันในเรืองใดเรืองหนึง มิได้หมายความว่า
เราจะมีความคิดเห็นหรือความต้องการไม่ตรงกันในเรืองอืนๆไปด้วย แม้สุดท้ายจะไม่สามารถทําให้ทัง
สองฝ่ายคิดเห็นตรงกัน ก็ไม่พึงทีจะทําให้ความคิดเห็นหรือความต้องการนําไปสู่ความขัดแย้งรุนแรง และ
ไม่ว่าจะแตกต่างกันเพียงใด ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องยึดหลักภราดรภาพไว้เสมอ หรือที
เรียกว่า “แตกต่างแต่ไม่แตกแยก” นันเอง
กล่าวคือประชาชนในระบอบประชาธิปไตยต้องยึดหลักการประสานกลมกลืน(harmony)คือ
การก้าวไปด้วยกัน ทํางาน และพัฒนาไปพร้อมกัน ด้วยสํานึกความเป็นอันหนึงอันเดียวกันของสังคม
ไม่ใช่จําใจต้องประนีประนอม ยอมลดราวาศอกให้กัน อันอาจเป็นความจําเป็นต้องอยู่ร่วมกันทีไม่ยังยืน
. หลักนิติธรรม(rule of law)
ประชาธิปไตยจะเข้มแข็งและมีสันติสุขได้ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องยึดหลัก
นิติธรรมอันหมายถึงหลักการเคารพกฎหมาย ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะเคารพกฎหมายเป็น
อย่างดี กฎหมายนันต้องเป็นธรรมเทียงตรง และแน่นอน ไม่เปลียนไปเปลียนมาตามอําเภอใจจึงต้องเป็น
กฎหมายทีบังคับใช้เพือประโยชน์สุขของประชาชนทุกคนเอง เช่น กฎจราจร กฎหมายอาญา หาก
ประชาชนไม่เคารพกฎหมายสังคมก็จะเกิดความสับสนวุ่นวายได้
ทังนีหมายรวมถึงระบบศาลและราชทัณฑ์ด้วยเพือทีประชาชนจะได้ไม่ใช้วิธีแก้แค้นลงโทษกันเอง
ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยพึงเห็นความสําคัญ เห็นคุณค่า เห็นประโยชน์ของการปฏิบัติตาม
กฎหมายไม่ใช่จําใจปฏิบัติตามกฎหมายเพราะถูกบังคับทีคอยแต่จะฝ่าฝืนเมือมีโอกาส
12
. การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (constitutional monarchy)
ระบอบประชาธิปไตยทางอ้อมหรือแบบมีตัวแทนทีใช้กันในประเทศต่างๆส่วนใหญ่ใช้ระบบ
ประธานาธิบดี(presidential system) และระบบรัฐสภา(parliamentary system)ซึงแบ่งเป็นแบบทีมี
ประธานาธิบดีเป็นประมุข(parliamentary republic) และแบบทีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(constitutional monarchy)
ประเทศทีปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขหมายถึงประเทศ
ทีพระมหากษัตริย์มีเพียงพระราชอํานาจในฐานะทีทรงเป็นประมุขเท่านัน ส่วนอํานาจนิติบัญญัติ และ
อํานาจบริหารนันเป็นของประชาชนทีเลือกและมอบอํานาจให้ตัวแทนใช้อํานาจแทน แต่ต้องใช้อํานาจใน
พระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์เพือให้เป็นทียอมรับ เนืองจากยังมีประชาชนจํานวนมากทีคุ้นเคยและ
เห็นความสําคัญของการดํารงอยู่ของสถาบันพระมหากษัตริย์ การบัญญัติกฎหมาย การออกคําสัง การ
บริหารราชการในนามของประชาชนด้วยกันเอง อาจไม่ได้รับการยอมรับเท่าทีควร หรืออาจขาดเอกภาพ
ในการปกครองประเทศได้
วัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยแบ่งตามคารวธรรม ปัญญาธรรม และสามัคคีธรรม
การทีประเทศจะเป็นประชาธิปไตยได้นันจะมีแต่เพียงรูปแบบและโครงสร้างการเมืองการปกครอง
เท่านันไม่ได้ แต่ประชาชนในประเทศนันจะต้องมีวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยด้วย กล่าวคือ
ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องมีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตทีสอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยดังนี
.คารวธรรม
. เห็นคุณค่าและเคารพศักดิศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชน
. ใช้สิทธิโดยไม่ละทิงหน้าที
. ใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ
. ซือสัตย์สุจริตและมีความโปร่งใส
. ยึดหลักความเสมอภาคและความยุติธรรม
.สามัคคีธรรม
. มีจิตสํานึกรวมหมู่และทํางานเป็นหมู่คณะ
. ยึดหลักภราดรภาพ
. ใช้หลักสันติวิธี
13
. ยึดหลักเสียงข้างมากและเคารพสิทธิของเสียงข้างน้อย
. เห็นความสําคัญในประโยชน์ของส่วนรวม
. มีจิตสาธารณะ(public mindedness) และการมีจิตอาสา(volunteerism) การมีส่วนช่วย
ในการพัฒนาครอบครัว โรงเรียน ชุมชนสังคม และประเทศชาติอย่างยังยืน
.ปัญญาธรรม
. ยึดหลักเหตุผล ความจริง และความถูกต้อง
. รู้ทันข้อมูลข่าวสารและรู้ทันสือสารมวลชน
. ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการเมือง
. มีความกล้าหาญทางจริยธรรม กล้าทีจะยืนหยัดในสิงทีถูกต้อง
. มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การใช้เหตุผล การตังคําถาม การวิจัย การค้นคว้า
การรวบรวมข้อมูล การโต้แย้ง
. ทักษะการสือสารในระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ การฟัง การอ่าน การค้นคว้า การ
จับใจความ การสรุปความการย่อความ การขยายความ การตีความ การแปลความการพูด การ
เขียน การโต้วาที การอภิปราย การวิจารณ์ การกล้าแสดงออก การแสดงความคิดเห็น และการรับ
ฟังความคิดเห็นของผู้อืน
. พัฒนาความรู้ ความคิด จิตใจ พฤติกรรมและการทํางานของตนเองอยู่เสมอ
. มีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างสร้างสรรค์
. มีความรู้พืนฐานทางการเมือง(politicalliteracy)
ค่านิยมพืนฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ประการ
. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
. ซือสัตย์ เสียสละ อดทน
. กตัญ ูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
. ใฝ่หาความรู้ หมันศึกษาเล่าเรียนทังทางตรงและทางอ้อม
. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์หวังดีต่อผู้อืนเผือแผ่และแบ่งปัน
14
. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขทีถูกต้อง
. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่
. มีสติรู้ตัว รู้คิดรู้ทํา รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
.รู้จักดํารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมือยามจําเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย
จําหน่าย และขยายกิจการเมือมีความพร้อมโดยมีภูมิคุ้มกันทีดี
. มีความเข้มแข็งทังร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออํานาจฝ่ายตําหรือกิเลสมีความ
ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา
. คํานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
ค่านิยมพืนฐานดังกล่าวข้างต้นมีความสําคัญอย่างยิงทีคนไทยจะต้องนํามาประพฤติปฏิบัติใน
ชีวิตประจําวัน อยู่เสมอ และเพือให้เกิดความเข้าใจยิงขึนจะขอกล่าวในรายละเอียดเพิมเติม ดังนี
) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นคุณลักษณะทีแสดงถึงรักความเป็นชาติ
ไทย เป็นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณค่า ภูมิใจ เชิดชูความเป็นไทย ปฏิบัติตนตามหลัก
ศาสนาทีตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
2) ซือสัตย์ เสียสละ อดทน เป็นคุณลักษณะทีแสดงถึงการยึดมันในความถูกต้อง
ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อืน ละความเห็นแก่ตัว รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือสังคมและ
บุคคลทีควรให้รู้จักควบคุมตนเองเมือประสบกับความยากลําบากและสิงทีก่อให้เกิดความเสียหาย
3) กตัญ ูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ เป็นคุณลักษณะทีแสดงออกถึงการรู้จัก
บุญคุณ ปฏิบัติตามคําสังสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส่ รักษาชือเสียง และตอบแทน
บุญคุณของพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูบาอาจารย์
4) ใฝ่ หาความรู้ หมันศึกษาเล่าเรียนทังทางตรงและทางอ้อม เป็นคุณลักษณะทีแสดงออก
ถึงความตังใจ เพียรพยายามในการศึกษาเล่าเรียน แสวงหาความรู้ ทังทางตรงและทางอ้อม
5) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม เป็นการปฏิบัติสืบทอดอนุรักษ์วัฒนธรรม
และประเพณีไทยอันดีงามด้วยความภาคภูมิใจเห็นคุณค่าความสําคัญ
6) มีศีลธรรมรักษาความสัตย์หวังดีต่อผู้อืนเผือแผ่และแบ่งปันเป็นความประพฤติทีควร
ละเว้นและความประพฤติทีควรปฏิบัติตาม
15
7) เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขทีถูกต้อง
คือ มีความรู้ ความเข้าใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าทีของตนเอง เคารพสิทธิและหน้าทีของ
ผู้อืน ใช้เสรีภาพด้วยความรับผิดชอบภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย ตามระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
8) มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ เป็นคุณลักษณะ
ทีแสดงออกถึงการปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย มีความเคารพและนอบ
น้อมต่อผู้ใหญ่
9) มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทํา รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เป็นการประพฤติปฏิบัติตนอย่างมีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทํา อย่างรอบคอบถูกต้อง เหมาะสม และน้อมนําพระราช
ดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ มาปฏิบัติในชีวิตประจําวัน
) รู้จักดํารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัส
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมือยามจําเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย
จําหน่าย และขยายกิจการเมือมีความพร้อม สามารถดําเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันใน
ตัวทีดี มีความรู้ มีคุณธรรม และปรับตัวเพืออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
) มีความเข้มแข็งทังร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออํานาจฝ่ ายตําหรือกิเลส มีความ
ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา เป็นการปฏิบัติตนให้มีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงปราศจาก
โรคภัยและมีจิตใจทีเข้มแข็ง ไม่กระทําความชัวใดๆ ยึดมันในการทําความดีตามหลักของศาสนา
) คํานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง ให้
ความร่วมมือในกิจกรรมทีเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และประเทศชาติ เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพือ
รักษาประโยชน์ของส่วนรวม
16
กิจกรรม
.ผู้เรียนคิดว่ารัฐธรรมนูญคือประชาธิปไตยหรือไม่เพราะเหตุใด
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
.ผู้เรียนเข้าใจข้อความทีว่า “การปกครองโดยเสียงข้างมากและเคารพสิทธิของเสียงข้างน้อย” ว่าอย่างไร
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
.ทําไมจึงมีคํากล่าวทีว่าใช้สิทธิโดยไม่ละทิงหน้าที
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
4. การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบนันมีความสําคัญต่อการอยู่ร่วมกันอย่างไร
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
.ผู้เรียนจะนําคุณธรรมจริยธรรมใดมาใช้ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
17
บรรณานุกรม
ความเคลือนไหวทางการจัดการศึกษาของศธ.กับ คสช. ทีน่ารู้. [เว็ปไซต์] เข้าถึงได้จาก
http://jukravuth.blogspot.com/ . สืบค้นเมือ วันที สิงหาคม .
จักราวุธ คาทวี. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ประการ ของ คสช.: เนือหาช่วยสอน
และจัดกิจกรรมเพือนครู, 2557. (เอกสารอัดสาเนา).
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวเนืองในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา รอบ ธันวาคม .
กรุงเทพฯ ราชบัณฑิตยสถาน, .
วิดิพีเดีย สารานุกรมเสรี.อับราฮัม ลินคอล์น.[เว็ปไซต์].เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org/wiki
สืบค้นเมือวันที สิงหาคม
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ประการ ของ คสช. : เนือหาช่วยสอนและจัดกิจกรรม
เพือนครู. [เว็ปไซต์]. เข้าถึงได้จาก :http://www.slideshare.net/jukravuth.สืบค้นเมือ วันที
สิงหาคม
18
คณะผู้จัดทํา
เนือหาเพิมเติม เรือง “หลักการสําคัญของประชาธิปไตยและการปฏิบัติตนตามคุณธรรมจริยธรรม
ค่านิยมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดองสมานฉันท์”
ทีปรึกษา
1. นายการุณ สกุลประดิษฐ์ เลขาธิการ กศน.
2. นายชาญวิทย์ ทับสุพรรณ รองเลขาธิการ กศน.
3. นายสุรพงษ์ จําจด รองเลขาธิการ กศน.
4. นางศุทธินี งามเขตต์ ผู้อํานวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
ผู้เขียน เรียบเรียง จากการประชุม ครังที
1. นายทองอยู่ แก้วไทรฮะ ข้าราชการบํานาญ
2. นางวันเพ็ญ สุทธากาศ ข้าราชการบํานาญ
3. นายวัฒนา อัคคพานิช ข้าราชการบํานาญ
4. นางบุปผา ประกฤติกุล ข้าราชการบํานาญ
5. นายไตรรัตน์ เอียมพันธ์ โรงเรียนสตรีวิทยา ในพระอุปถัมภ์
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
. นางสาวณัฐภัสสร แดงมณี สถาบัน กศน.ภาคใต้
. นางวิภานันท์ สิริวัฒนไกรกุล กศน.อําเภอคลองหลวงจ.ปทุมธานี
ผู้เขียน เรียบเรียง และ บรรณาธิการ จากการประชุมครังที
1. นางวันเพ็ญ สุทธากาศ ข้าราชการบํานาญ
2. นางสุคนธ์ สินธพานนท์ ข้าราชการบํานาญ
3. นางสาววัธนีย์วรรณ อุราสุข ข้าราชการบํานาญ
. นายวัฒนา อัคคพานิช ข้าราชการบํานาญ
. นางพิวัสสา นภารัตน์ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
6. นายจักราวุธ คําทวี กศน.อําเภอสรรพยา จ.ชัยนาท
. นางอําพัน คําทวี กศน.อําเภอสรรพยา จ.ชัยนาท
คณะทํางาน
. นายสุรพงษ์ มันมะโน กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
. นางสาวสุลาง เพ็ชรสว่าง กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
. นางสาวชมพูนท สังข์พิชัย กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
. นางจุฑากมล อินทระสันต์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
7. นางสาวทิพวรรณ วงศ์เรือน กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

More Related Content

What's hot

สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
Thidarat Termphon
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1cookie47
 
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้าใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
kere2010
 
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
Kasem Boonlaor
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
Thidarat Termphon
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023
Kasem Boonlaor
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
Thidarat Termphon
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
Thidarat Termphon
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
Thidarat Termphon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
Thidarat Termphon
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
Thidarat Termphon
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
Thidarat Termphon
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Thidarat Termphon
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1teerachon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
Thidarat Termphon
 
เตรียมสอบ O net 57 สังคมชุด2
เตรียมสอบ O net 57  สังคมชุด2เตรียมสอบ O net 57  สังคมชุด2
เตรียมสอบ O net 57 สังคมชุด2jutarattubtim
 
การจัดการศึกษาในระบบ
การจัดการศึกษาในระบบการจัดการศึกษาในระบบ
การจัดการศึกษาในระบบ
Ratchakan Sungkawadee
 
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003peter dontoom
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 

What's hot (20)

สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
 
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้าใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
ใบความรู้เรื่อง การกำเนิดไฟฟ้า
 
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 3 พว32023
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
เตรียมสอบ O net 57 สังคมชุด2
เตรียมสอบ O net 57  สังคมชุด2เตรียมสอบ O net 57  สังคมชุด2
เตรียมสอบ O net 57 สังคมชุด2
 
การจัดการศึกษาในระบบ
การจัดการศึกษาในระบบการจัดการศึกษาในระบบ
การจัดการศึกษาในระบบ
 
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 

Viewers also liked

หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานJane Janjira
 
Greeting and Introducing Yourself
Greeting and Introducing YourselfGreeting and Introducing Yourself
Greeting and Introducing YourselfNonenan Nun
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Onpriya May
 
แบบทดสอบเรื่องการฟัง
แบบทดสอบเรื่องการฟังแบบทดสอบเรื่องการฟัง
แบบทดสอบเรื่องการฟัง
สมใจ จันสุกสี
 
IMC from tactic to strategy up
IMC from tactic to strategy upIMC from tactic to strategy up
IMC from tactic to strategy up
siriporn pongvinyoo
 
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001peter dontoom
 
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนTaraya Srivilas
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
Thidarat Termphon
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานTaraya Srivilas
 
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนเฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนpeter dontoom
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (20)

หน้าปก2
หน้าปก2หน้าปก2
หน้าปก2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
Greeting and Introducing Yourself
Greeting and Introducing YourselfGreeting and Introducing Yourself
Greeting and Introducing Yourself
 
ปกSar2554
ปกSar2554ปกSar2554
ปกSar2554
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบเรื่องการฟัง
แบบทดสอบเรื่องการฟังแบบทดสอบเรื่องการฟัง
แบบทดสอบเรื่องการฟัง
 
ปก+รายงาน..[1]
ปก+รายงาน..[1]ปก+รายงาน..[1]
ปก+รายงาน..[1]
 
IMC from tactic to strategy up
IMC from tactic to strategy upIMC from tactic to strategy up
IMC from tactic to strategy up
 
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
 
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
 
Title
TitleTitle
Title
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนเฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 

Similar to จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)Muhammadrusdee Almaarify
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
Manchai
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
guest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
kruthai40
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
Jaru O-not
 
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
สัจจา จันทรวิเชียร
 
Ponlamoung2557
Ponlamoung2557Ponlamoung2557
Ponlamoung2557
Pui Pui
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
คุณครูพี่อั๋น
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 

Similar to จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗ (20)

B2
B2B2
B2
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
พรบ. 2545
พรบ. 2545พรบ. 2545
พรบ. 2545
 
พรบ. 2542
พรบ. 2542พรบ. 2542
พรบ. 2542
 
Law education
Law educationLaw education
Law education
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
 
Ponlamoung2557
Ponlamoung2557Ponlamoung2557
Ponlamoung2557
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 

More from นายจักราวุธ คำทวี

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
นายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
นายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
นายจักราวุธ คำทวี
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
นายจักราวุธ คำทวี
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
นายจักราวุธ คำทวี
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
นายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
นายจักราวุธ คำทวี
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
นายจักราวุธ คำทวี
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
นายจักราวุธ คำทวี
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
นายจักราวุธ คำทวี
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
นายจักราวุธ คำทวี
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
นายจักราวุธ คำทวี
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
นายจักราวุธ คำทวี
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
นายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
นายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษานายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑นายจักราวุธ คำทวี
 

More from นายจักราวุธ คำทวี (20)

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 

จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗

  • 2. 2 คํานํา ตามทีสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้ดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียนรายวิชา ศาสนาและหน้าทีพลเมืองขึนเพือสําหรับใช้ในการเรียนการสอนตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 เมือพุทธศักราช โดยมี วัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา และศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษา ต่อ ในระดับทีสูงขึนและสามารถดํารงชีวิตอยู่ในครอบครัว ชุมชน สังคมได้อย่างมีความสุข ซึงผู้เรียน สามารถนําหนังสือเรียนไปใช้ในการศึกษาด้วยตัวเองและสํานักงาน กศน.ได้เคยปรับเพิมเติมเนือหา เกียวกับ การมีส่วนร่วมในการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต เพือให้สอดคล้องกับนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการนัน ขณะนีคณะกรรมการรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)มีนโยบายในการปลุกจิตสํานึกให้คนไทย มีความรักชาติ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในการอยู่ร่วมกัน อย่าง สามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์ สํานักงาน กศน.จึงได้มีการดําเนินการปรับเพิมตัวชีวัดของหลักสูตร และเนือหาหนังสือเรียนให้สอดคล้องตามนโยบายดังกล่าว โดยเพิมเนือหาเกียวกับหลักการสําคัญของ ประชาธิปไตย และการปฏิบัติตนตามคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์เพือให้สถานศึกษานําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา กศน.ต่อไป ทังนี สํานักงาน กศน.ได้รับความร่วมมือด้วยดีจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ทีเกียวข้อง หลายท่าน ซึง ช่วยกันค้นคว้าและเรียบเรียงเนือหาสาระจากสือต่างๆเพือให้ได้หนังสือเรียนทีสอดคล้องกับหลักสูตรและ เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนทีอยู่นอกระบบโรงเรียนอย่างแท้จริง สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณทีปรึกษา คณะ ผู้เรียบเรียง ตลอดจนคณะผู้จัดทําทุกท่านทีให้ความ ร่วมมือด้วยดีไว้ณ โอกาสนี สํานักงาน กศน. กันยายน
  • 3. 3 สารบัญ หน้า  การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข o . ความหมายของประชาธิปไตย o . ความเป็นมาของประชาธิปไตย o . หลักการสําคัญของประชาธิปไตย o . การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข (constitutionalmonarchy)  วัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยแบ่งตามคารวธรรม ปัญญาธรรม และสามัคคีธรรม  ค่านิยมพืนฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ประการ  กิจกรรม • บรรณานุกรม • คณะผู้จัดทํา
  • 4. 1 การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นายวัฒนา อัคคพานิช . ความหมายของประชาธิปไตย คําว่า“ประชาธิปไตย”มาจากภาษาอังกฤษคําว่า“democracy”มีทีมาจากภาษากรีกคําว่า“demos” ทีแปลว่าประชาชนกับคําว่า “kratos” ทีแปลว่าอํานาจ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมืนนราธิปพงศ์ประพันธ์ ได้ทรงนําคําว่า “ปรฺชา” ในภาษาสันสกฤตทีแปลว่าลูกสาว ลูกชาย คนทังหลาย มาสนธิกับคําว่า “อธิปเตยฺย” ในภาษาบาลีทีแปลว่าความเป็นใหญ่ ดังนันประชาธิปไตยจึง หมายถึงระบอบการปกครองทีถือมติปวงชนเป็นใหญ่ การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่(พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ) ประชาธิปไตยนันครอบคลุมทังสามมิติใหญ่ๆดังนี . ประชาธิปไตยในมิติทีเป็นอุดมการณ์ทางการเมืองการปกครอง . ประชาธิปไตยในมิติทีเป็นระบอบการเมืองการปกครอง . ประชาธิปไตยในมิติทีเป็นวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต ประชาธิปไตย [ปฺระชาทิปะไต, ปฺระชาทิบปะไต] น.ระบอบการปกครองทีถือมติปวงชนเป็น ใหญ่, การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่. (ส.ปฺรชา + ป.อธิปเตยฺย). พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมืนนราธิปพงศ์ประพันธ์
  • 5. 2 คนส่วนใหญ่มักเชือตามๆกันว่าอับราฮัม ลินคอล์น ประธานาธิบดีคนที ของสหรัฐอเมริกา ได้ให้คํานิยามไว้ว่าประชาธิปไตยคือการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพือประชาชน แท้ที จริงอับราฮัมลินคอล์นไม่ได้ให้คํานิยามดังกล่าว เพียงแต่ได้กล่าวสุนทรพจน์ทีเมืองเก็ตตีสเบอร์กหลัง สงครามกลางเมืองระหว่างมลรัฐทางเหนือกับมลรัฐทางใต้เมือค.ศ. ตอนหนึงว่า “....การปกครองของ ประชาชน โดยประชาชนจะไม่สูญสลายไปโลกนี ( “…and that government ofthe people,by the people and for the people shall not perish from the earth.”) อับราฮัม ลินคอล์น ประธานาธิบดีคนที ของสหรัฐอเมริกา สุนทรพจน์ของอับราฮัม ลินคอล์น ประธานาธิบดีคนที ของสหรัฐอเมริกา
  • 6. 3 ถึงแม้ว่าคําว่า “ประชาธิปไตยคือการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพือ ประชาชน”จะฟังดูดี แต่ความหมายทีตรงทีสุดของประชาธิปไตยก็คือการปกครองโดยประชาชนคนไทย จํานวนมากเมือ พูดถึงประชาธิปไตยก็มักจะนึกถึงรัฐธรรมนูญ เป็นต้นว่า ถ้าให้นักเรียนนักศึกษาทํา รายงานเรืองประชาธิปไตย โดยกําหนดว่าหน้าปกรายงานให้มีรูปภาพด้วย คิดว่านักเรียนนักศึกษาส่วน ใหญ่จะใส่รูปอะไร เชือว่าส่วนใหญ่จะใส่รูปรัฐธรรมนูญไว้ด้วย นีอาจเป็นภาพสะท้อนว่า คนไทยจํานวนมากเมือพูดถึงประชาธิปไตยก็มักจะนึกถึง รัฐธรรมนูญหรืออาจไปถึงขันทีว่ารัฐธรรมนูญเท่ากับประชาธิปไตยซึงไม่เป็นความจริง ยกตัวอย่างเช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี(เกาหลีเหนือ) ทีปกครองด้วย ระบอบเผด็จการก็มีรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญของสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี(เกาหลีเหนือ)ก็มีรัฐธรรมนูญ
  • 7. 4 ทังนีเพราะทุกประเทศไม่ว่าปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยหรือเผด็จการก็ล้วนต้องมี รัฐธรรมนูญทุกประเทศ รัฐธรรมนูญหาได้เป็นสัญลักษณ์ของประชาธิปไตยแต่อย่างใดไม่ คนจํานวนไม่น้อยเชือว่าระบอบการเมืองการปกครองสามารถแบ่งออกได้เป็น ระบอบใหญ่ คือประชาธิปไตยกับสังคมนิยม แต่ทีจริงแล้วหากแบ่งระบอบการเมืองการปกครองโดยถือเอาจํานวนผู้มี อํานาจสูงสุดเป็นเกณฑ์จะสามารถแบ่งระบอบการเมืองการปกครองออกเป็น ระบอบใหญ่ๆคือ ) ระบอบเผด็จการ(dictatorial regime)คือระบอบการเมืองการปกครองทีคนส่วนน้อย หรือคนเดียวเป็นเจ้าของอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ปัจจุบันนีประเทศทีปกครองด้วยระบอบ เผด็จการ เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน ราชอาณาจักรซาอุดิอารเบีย เนการาบรูไนดารุสซาลาม สาธารณรัฐคิวบาสาธารณรัฐแคเมรูน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียตนามสาธารณรัฐเบลารุสสาธารณรัฐชาด เป็นต้น (ข้อมูล ณ วันที สิงหาคม พ.ศ. หลังจากนีอาจมีการเปลียนแปลงได้) 2) ระบอบประชาธิปไตย(democraticregime)คือระบอบการเมืองการปกครองทีคนส่วนใหญ่ หรือทุกคนเป็นเจ้าของอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เช่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐฝรังเศส สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐเกาหลี(เกาหลีใต้) ญีปุ่น ราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นต้น (ข้อมูล ณ วันที สิงหาคม พ.ศ. หลังจากนีอาจมีการ เปลียนแปลงได้) สรุปได้ว่าระบอบการเมืองการปกครองสามารถแบ่งออกได้เป็น ระบอบใหญ่ๆ คือ เผด็จการกับประชาธิปไตย ส่วนระบบเศรษฐกิจแบ่งออกได้เป็น ระบบใหญ่ๆ คือทุนนิยมกับสังคมนิยม . ความเป็นมาของประชาธิปไตย รัฐทีปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยทีเก่าแก่ทีสุดในโลกเท่าทีมีหลักฐานทีน่าเชือถือก็คือ นครรัฐเอเธนส์ซึงเป็นทีตังของกรุงเอเธนส์ สาธารณรัฐกรีซในปัจจุบันเมือราว ปีก่อนคริสต์กาล แต่ ต่อมาได้ล่มสลายไปเนืองจากนครรัฐเอเธนส์แพ้สงครามเพโลโพนีเซียนแก่นครรัฐสปาร์ตา แผนทีแสดงทีตังนครรัฐเอเธนส์ในทวีปยุโรป
  • 8. 5 ค.ศ. พระเจ้าจอห์นที ขึนภาษีตามอําเภอใจ ทําให้ขุนนางและราษฎรชาวอังกฤษไม่พอใจ จึงร่วมมือกันลวงพระองค์ไปล่าสัตว์แล้วบังคับให้ทรงลงนามใน “มหากฎบัตร”(Magna Carta)เพือจํากัด พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์ค.ศ. และค.ศ. พระมหากษัตริย์พระองค์ต่อๆมาจําต้องทรง ลงนามในกฎหมายสําคัญๆนับเป็นเหตุการณ์สําคัญก่อนทีสหราชอาณาจักรจะเป็นประชาธิปไตยใน ปัจจุบัน ค.ศ. สหรัฐอเมริกาประกาศเป็นประเทศเอกราชหลังทําสงครามชนะสหราชอาณาจักร ก็ได้นําเอาประชาธิปไตยมาใช้ในสหรัฐอเมริกาด้วย ค.ศ. เกิดการปฏิวัติครังใหญ่ในฝรังเศส ชาวฝรังเศสลุกฮือขึนต่อต้านอํานาจของพระเจ้า หลุยส์ที มีการสถาปนาสาธารณรัฐ(ประเทศทีประมุขเป็นสามัญชนไม่ใช่กษัตริย์)ไม่ใช่ทําให้ประชาชน มีอํานาจมากขึน แม้ภายหลังฝรังเศสจะกลับไปปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อีก แต่ก็นับว่าเป็น เหตุการณ์สําคัญบนเส้นทางประชาธิปไตยของฝรังเศส ต่อมาหลายประเทศในโลกก็ปฏิวัติและเปลียนแปลงไปเป็นประชาธิปไตยมากขึนเรือยๆ ความเป็นมาของประชาธิปไตยของไทย พ.ศ. (ร.ศ. ) พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์และข้าราชการทําหนังสือกราบ บังคมทูลฯพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอให้ทรงเปลียนแปลงการปกครองจาก สมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นแบบประชาธิปไตย แต่พระองค์ไม่ทรงยินยอม โดยทรงให้เหตุผลว่าราษฎร ส่วนใหญ่ยังไม่พร้อม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์
  • 9. 6 พ.ศ. กบฏร.ศ. คณะทหารกลุ่มหนึงนําโดยร้อยเอกขุนทวยหาญพิทักษ์(เหล็งศรีจันทร์) วางแผนและเตรียมการจะยึดอํานาจการปกครองจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ถูกจับได้ เสียก่อน คณะกบฏ ร.ศ. นําโดยร้อยเอกขุนทวยหาญพิทักษ์(แถวหน้าคนทีสองจากซ้าย) พ.ศ. การเปลียนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎรนําโดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เปลียนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นแบบประชาธิปไตยได้สําเร็จ แม้ภายหลังจะมี การรัฐประหารและปกครองแบบเผด็จการอีกหลายครัง แต่ก็นับได้ว่าเป็นเหตุการณ์สําคัญของการพัฒนา ประชาธิปไตยของไทย คณะราษฎรฝ่ายทหารบกนําโดยพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา(คนทีห้าจากซ้ายแถวกลาง)
  • 10. 7 . หลักการสําคัญของประชาธิปไตย หลักการของประชาธิปไตยแตกต่างกันไปตามการทัศนะของนักวิชาการแต่ละท่าน ในทีนี ขอกําหนดหลักการของประชาธิปไตยเฉพาะทีสําคัญๆ ดังนี . หลักอํานาจอธิปไตยของปวงชน(popular sovereignty) ดังทีกล่าวมาแล้วว่า ประชาธิปไตยหมายถึงระบอบการปกครองทีถือมติปวงชนเป็นใหญ่ การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่ เพราะประชาธิปไตยตังอยู่บนหลักปรัชญามนุษยนิยมทีเชือว่ามนุษย์มีคุณค่า มีศักดิศรี มีคุณภาพสามารถทีจะปกครองกันเองได้ไม่ควรทีจะให้อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศไป อยู่ใครคนเดียวหรือกลุ่มคนส่วนน้อยกลุ่มเดียว หากแต่ควรทีจะให้ประชาชนทุกคนมีส่วนในการกําหนด ความเป็นไปของสังคมและประเทศชาติร่วมกัน คงเป็นไปไม่ได้ทีจะให้ทุกคนมีความคิดเห็นเหมือนกัน หมดทุกคน หากกลุ่มหนึงมีความคิดเห็นอย่างหนึง แต่อีกกลุ่มหนึงมีความคิดเห็นอีกอย่างหนึง บางครัง การกําหนดความเป็นไปของสังคมและประเทศชาติจําเป็นต้องเลือกทีจะปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึงเท่านัน ดังนันสังคมและประเทศทีเป็นประชาธิปไตยจึงต้องให้สมาชิกทุกคนในสังคมลงมติเพือให้ทราบความ คิดเห็นของคนส่วนใหญ่และนํามาใช้เป็นแนวทางในการกําหนดความเป็นไปของสังคมและประเทศชาติ อย่างไรก็ดีสมาชิกในสังคมประชาธิปไตยจําเป็นต้องเข้าใจว่าฝ่ายทีเป็นเสียงข้างมากไม่ควรใช้ ความเป็นเสียงข้างมากละเมิดสิทธิและเสรีภาพขันพืนฐานของฝ่ายเสียงข้างน้อย ดังทีเรียกว่า “ปกครอง โดยเสียงข้างมากและเคารพสิทธิของเสียงข้างน้อย(majority rule and minority rights)” เช่น ฝ่ายเสียงข้าง มากไม่พึงใช้มติเพือจักสรรงบประมาณให้แก่พืนทีของพวกตนโดยไม่คํานึงถึงความจําเป็นของคนส่วน น้อยทีได้รับความเดือดร้อน และเมือต้องปกครองด้วยเสียงข้างมากต้องยอมรับว่าเสียงข้างมากอาจจะบอกได้ถึงความคิดเห็น หรือความต้องการของคนส่วนใหญ่ในสังคมเท่านัน แต่อาจจะไม่สามารถตัดสินความจริงและความ ถูกต้องได้ ดังเช่นเมือประมาณห้าร้อยปีก่อนคนเกือบทังโลกนับพันล้านคนเชือว่าโลกเป็นศูนย์กลางของ จักรวาล มีเพียงนิโคลัสโคเปอร์นิคัสและกาลิเลโอกาลิเลอีเท่านันทีบอกว่าดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของ จักรวาล แม้เสียงข้างมากจะลงมติให้โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล แต่ความจริงก็หาได้เป็นไปตามเสียง ข้างมากด้วย แล้วอะไรทีจะทําให้เสียงข้างมากเป็นเสียงข้างมากแห่งความจริงและความถูกต้อง ก็คือ การศึกษานันเอง ดังนัน ประชาธิปไตยจะสําเร็จผลด้วยดีนันจําเป็นต้องพัฒนาคุณภาพประชาชนอย่างมี ประสิทธิภาพด้วย
  • 11. 8 . หลักสิทธิและเสรีภาพ(right and liberty) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ระบุว่าสิทธิหมายถึงอํานาจอันชอบธรรม เช่น บุคคลมีสิทธิและหน้าทีตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิในทีดินแปลงนี หรืออํานาจทีกฎหมายรับรองให้ กระทําการใดๆ โดยสุจริตได้อย่างอิสระ แต่ต้องไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของคนอืน ประชาชนในระบอบเผด็จการนันจะมีสิทธิและเสรีภาพได้อย่างจํากัด แต่ประชาธิปไตยทีมี หลักการพืนฐานสําคัญทีว่ามนุษย์มีศักดิศรี มีคุณค่าจึงให้ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพมากกว่าเผด็จการ มาก ทังนีก็เพือให้ประชาชนได้สามารถทีจะแสดงศักยภาพในการมีส่วนร่วมพัฒนาสังคมและ ประเทศชาติอย่างมากในฐานะเจ้าของอํานาจสูงสุด โดยทีเผด็จการนันประชาชนสามารถมีส่วนร่วมได้ เพียงในฐานะผู้ใต้ปกครองเท่าทีผู้ปกครองจะอนุญาตให้เท่านัน หลายครังคนส่วนใหญ่มักคิดถึงสิทธิทีจะได้สิทธิทีจะมีเพียงด้านเดียว แต่สิทธิในระบอบ ประชาธิปไตยนันประชาชนมีสิทธิทีจะให้สิงทีดี สิงทีมีประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติด้วย ซึงก็คือ หน้าทีนันเอง สิทธิและหน้าทีเป็นสิงทีต้องอยู่คู่กันอย่างสมดุลเสมอ บุคคลย่อมไม่อาจมีสิทธิได้หากไม่ทํา หน้าที จะได้สิทธิเหล่านีต้องมีหน้าทีอะไร? • สิทธิทีจะได้รับบริการและสาธารณูปโภคทีดีจากรัฐ • มีหน้าทีต้องเสียภาษี • สิทธิทีจะได้นักการเมืองทีซือสัตย์สุจริต ได้รัฐบาลทีทําให้ประเทศเจริญก้าวหน้า • มีหน้าทีต้องเลือกตังอย่างมีคุณภาพ • สิทธิทีจะอยู่ในประเทศทีมันคง เป็นเอกราช • มีหน้าทีต้องรับราชการทหาร • สิทธิทีจะอยู่ในประเทศทีสงบเรียบร้อย • มีหน้าทีต้องช่วยกันสอดส่อง เป็นหูเป็นตา เป็นพยาน • สิทธิทีจะอยู่ในประเทศทีมีทรัพยากรต่างๆ • มีหน้าทีต้องช่วยกันดูแลรักษาทรัพยากรต่างๆ • สิทธิทีจะอยู่ในสภาพแวดล้อมทีดี • มีหน้าทีต้องช่วยกันทนุบํารุงรักษาสภาพแสดล้อม • สิทธิทีจะอยู่ในประเทศทีมีศิลปวัฒนธรรมทีดี • มีหน้าทีต้องช่วยกันอนุรักษ์ทนุบํารุง ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ถ้าทุกคนไม่ทําหน้าทีจะได้สิทธิต่างๆเหล่านีได้อย่างไร ?
  • 12. 9 ดังนันประชาชนในระบอบประชาธิปไตยทุกคนจะต้องเห็นประโยชน์และความสําคัญของการ ทําหน้าทีของประชาชนอย่างเต็มใจด้วย หากทุกคนทําหน้าทีเป็นอย่างดีสิทธิก็จะได้ตามมาอย่างแน่นอน เช่นหากทุกคนทําหน้าทีไปใช้สิทธิเลือกตังอย่างมีคุณภาพไม่เลือกผู้สมัครหรือพรรคการเมืองทีใช้จ่ายใน การหาเสียงเลือกตังในทางทีไม่สุจริต ติดตามข่าวสารทางการเมืองและนํามาใช้ประกอบการพิจารณาใน การเลือกตัง จะได้ตัวแทนทีซือสัตย์สุจริตและมีความรู้ความสามารถไปบริหารประเทศได้อย่างไร พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ระบุว่าเสรีภาพหมายถึงความสามารถทีจะกระทํา การใดๆได้ตามทีตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือ ศาสนา ความมีสิทธิทีจะทําจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อืน ในระบอบเผด็จการประชาชนมักจะถูกจํากัดเสรีภาพอย่างมาก พอเปลียนมาเป็นยุคประชาธิปไตย คนทัวไปมักเข้าใจเอาเองว่าบุคคลย่อมมีเสรีภาพได้อย่างเต็มที จะทําอะไรก็ได้ตามใจชอบ การใช้เสรีภาพ ของบุคคลนันอาจไปกระทบหรือละเมิดต่อเสรีภาพของบุคคลอืนได้ หรืออาจกล่าวได้ว่าการใช้เสรีภาพ ต้องมีความรับผิดชอบกํากับอยู่ด้วยเสมออันหมายถึงความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อืน ยกตัวอย่างเช่น หากพ่อแม่ให้เสรีภาพแก่ลูกทียังเป็นผู้เยาว์ใช้จ่ายเงินได้เป็นจํานวนมากเกินความรับผิดชอบของลูกทียัง เป็นผู้เยาว์ ลูกก็อาจจะถูกชิงทรัพย์ถูกทําร้าย หรืออาจใช้เงินจนก่อให้เกิดผลร้ายต่อตนเองและผู้อืนได้ ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจึงต้องเข้าใจซาบซึงถึงหลักการทีว่า“ใช้สิทธิแต่ไม่ละทิงหน้าที” และ “ใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ”แต่มิได้หมายความว่าเสรีภาพของคนอืนทําให้เราต้องมีเสรีภาพน้อยลง แต่อย่างใด เพราะมนุษย์ทีมีอยู่คนเดียว และมีเสรีภาพทีจะทําอะไรก็ได้ตามใจชอบทังหมดไม่มีอยู่จริง มีแต่มนุษย์ทีอยู่ร่วมกับคนอืน เพราะมนุษย์เป็นสิงมีชีวิตทีต้องพึงพาอาศัยกัน มนุษย์จึงต้องอยู่ร่วมกัน เป็นสังคม ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยพึงยินดีทีจะใช้เสรีภาพของตนเพือให้คนอืนได้ใช้เสรีภาพ เท่าเทียมกับตน สภาพทีบุคคลมีเสรีภาพทีจะทําอะไรก็ได้ตามใจชอบโดยไม่จํากัดนันเป็นลักษณะของอนาธิปไตย ซึงมาจากคําว่า “อน”ทีแปลว่าไม่มีและคําว่า“อธิปไตย”ทีแปลว่าอํานาจสูงสุด “อนาธิปไตย”จึงหมายถึง สภาวะทีไม่มีอํานาจสูงสุด ทุกคนใหญ่หมด ใครจะทําอะไรก็ได้ตามใจชอบ น่าจะเป็นภาวะทีจลาจล สับสน วุ่นวายเป็นอย่างยิง ดังนันจะเห็นได้ว่า การเข้าใจว่าประชาชนควรมีเสรีภาพทีจะทําอะไรก็ได้ ตามใจชอบนันคืออนาธิปไตย ไม่ใช่ประชาธิปไตย
  • 13. 10 . หลักความเสมอภาค(equality) ประชาชนในระบอบเผด็จการย่อมมีความเสมอภาคในความเป็นมนุษย์น้อยกว่าประชาชน ในระบอบประชาธิปไตย เช่น สิทธิทางการเมืองการปกครอง สิทธิเลือกตัง สิทธิในฐานะมนุษย์หรือ ทีเรียกว่าสิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคในฐานะทีเป็นมนุษย์ ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา การเมือง เศรษฐกิจ สังคม อย่างไรก็ดี มิได้หมายความว่าประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องมีความเสมอภาค เสมอภาคกันทุกเรืองทังหมด ความเสมอภาคนีหมายถึงความเสมอภาคกันในฐานะมนุษย์ แต่ประชาชน ในระบอบประชาธิปไตยอาจมีบทบาท หน้าทีทีแตกต่างกันได้ เช่น ครูย่อมมีความเสมอภาคกับนักเรียน ในฐานะทีเป็นมนุษย์ และในฐานะทีเป็นพลเมือง แต่การทีครูเป็นผู้ทําหน้าทีสอน มอบหมายภารกิจการ เรียน วัดและประเมินผลผู้เรียน และนักเรียนเป็นผู้เรียนรับมอบภารกิจการเรียน รับการวัดและประเมินผล จากครูนัน มิได้หมายความว่าครูกับนักเรียนไม่เสมอภาคกัน . หลักภราดรภาพ (fraternity) ความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยนันต้องเป็นความเสมอภาคทียึดหลักความยึดเหนียวกัน ในสังคม(social coherence) ไม่ใช่ความเสมอภาคแบบตัวใครตัวมัน(individualistic) หรือความเสมอภาค แบบ ไม่ยอมเสียเปรียบกัน ถ้าคนหนึงได้ ส่วน คนอืนๆก็ต้องได้ ส่วนเท่ากันน้อยกว่านีเป็นไม่ยอมกัน ต้องแย่งชิงกัน ขัดแย้ง ทะเลาะเบาะแว้งกัน แต่เสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยนีหมายถึงสุขทุกข์เสมอ กัน หากใครในสังคมมีความสุขคนอืนๆก็พร้อมทีจะสุขด้วย และหากใครในสังคมมีความทุกข์คนอืนๆก็ พร้อมทีจะทุกข์ด้วย พร้อมทีจะช่วยกันทังยามสุขและทุกข์ ไม่เลือกทีรักผลักทีชัง ไม่กีดกันกัน มิใช่คอย แต่จะอิจฉาริษยาไม่ให้ใครได้เปรียบใครอยู่ตลอดเวลา ทังหมดนีก็คือหลักภราดรภาพในระบอบ ประชาธิปไตยนันเอง ซึงก็คือความเป็นพีน้องกัน ไม่แบ่งแยกรังเกียจเดียดฉันท์กันมีความสมัครสมานรัก ใคร่กลมเกลียวกัน(solidarity) อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่าประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องมีความคิดเห็นมีความ ปรารถนาต้องการเหมือนกันทุกเรือง ตรงกันข้าม ระบอบประชาธิปไตยต้องการคนทีมีความคิดเห็นที แตกต่างหลากหลาย เพราะนันอาจเป็นทางเลือกทีดีทีสุดของสังคมก็ได้ และถ้าไม่มีความคิดเห็นที แตกต่างหลากหลาย สังคมโลกก็อาจจะไม่พัฒนาไปไหนเลยเช่น ป่านนีอาจจะยังเชือว่าโลกแบนและเป็น ศูนย์กลางของจักรวาลอยู่ก็ได้ ประชาธิปไตยจึงไม่หลบหนีความขัดแย้ง หากแต่ประชาชนในระบอบ ประชาธิปไตยจะต้องช่วยกันทําให้ความขัดแย้งนันนําไปสู่การสร้างสรรค์
  • 14. 11 ความขัดแย้งในระบอบประชาธิปไตยจะไม่นําไปสู่การทําลายกันหากประชาชนในระบอบ ประชาธิปไตยใฝ่ในความจริง ความถูกต้อง และความดีงาม เพราะแม้จะมีความคิดเห็นและความต้องการ ทีแตกต่างกันแต่ทังหมดก็เป็นไปเพือความเจริญก้าวหน้าของสังคม ประกอบกับประชาชนในระบอบ ประชาธิปไตยจะต้องเป็นคนทีพูดกันง่าย(แต่ไม่ใช่ว่านอนสอนง่าย)พร้อมทีจะเข้าใจกัน พร้อมเพรียงทีจะ หาทางออกทีดีงามสําหรับทุกคน รวมถึงประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องรู้จักพิจารณาแยกแยะกรณีต่างๆอย่างถูกต้อง เหมาะสม ไม่ใช่ทําความขัดแย้งประเด็นเดียวลุกลามใหญ่โตกลายเป็นขัดแย้งกันไปหมดทุกเรือง เช่น ฝ่ายหนึงมีความคิดเห็นหรือความต้องการทีขัดแย้งกับอีกฝ่ายหนึงก็ต้องเพียรหาทางแก้ไขความขัดแย้งที สร้างสรรค์ ต้องเข้าใจไม่ให้พาลไปขัดแย้งกันในเรืองอืนๆจนกลายเป็นแตกแยก บาดหมาง ร้าวลึกไปทัง สังคม เพราะแม้เราจะมีความคิดเห็นหรือความต้องการไม่ตรงกันในเรืองใดเรืองหนึง มิได้หมายความว่า เราจะมีความคิดเห็นหรือความต้องการไม่ตรงกันในเรืองอืนๆไปด้วย แม้สุดท้ายจะไม่สามารถทําให้ทัง สองฝ่ายคิดเห็นตรงกัน ก็ไม่พึงทีจะทําให้ความคิดเห็นหรือความต้องการนําไปสู่ความขัดแย้งรุนแรง และ ไม่ว่าจะแตกต่างกันเพียงใด ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องยึดหลักภราดรภาพไว้เสมอ หรือที เรียกว่า “แตกต่างแต่ไม่แตกแยก” นันเอง กล่าวคือประชาชนในระบอบประชาธิปไตยต้องยึดหลักการประสานกลมกลืน(harmony)คือ การก้าวไปด้วยกัน ทํางาน และพัฒนาไปพร้อมกัน ด้วยสํานึกความเป็นอันหนึงอันเดียวกันของสังคม ไม่ใช่จําใจต้องประนีประนอม ยอมลดราวาศอกให้กัน อันอาจเป็นความจําเป็นต้องอยู่ร่วมกันทีไม่ยังยืน . หลักนิติธรรม(rule of law) ประชาธิปไตยจะเข้มแข็งและมีสันติสุขได้ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องยึดหลัก นิติธรรมอันหมายถึงหลักการเคารพกฎหมาย ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะเคารพกฎหมายเป็น อย่างดี กฎหมายนันต้องเป็นธรรมเทียงตรง และแน่นอน ไม่เปลียนไปเปลียนมาตามอําเภอใจจึงต้องเป็น กฎหมายทีบังคับใช้เพือประโยชน์สุขของประชาชนทุกคนเอง เช่น กฎจราจร กฎหมายอาญา หาก ประชาชนไม่เคารพกฎหมายสังคมก็จะเกิดความสับสนวุ่นวายได้ ทังนีหมายรวมถึงระบบศาลและราชทัณฑ์ด้วยเพือทีประชาชนจะได้ไม่ใช้วิธีแก้แค้นลงโทษกันเอง ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยพึงเห็นความสําคัญ เห็นคุณค่า เห็นประโยชน์ของการปฏิบัติตาม กฎหมายไม่ใช่จําใจปฏิบัติตามกฎหมายเพราะถูกบังคับทีคอยแต่จะฝ่าฝืนเมือมีโอกาส
  • 15. 12 . การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (constitutional monarchy) ระบอบประชาธิปไตยทางอ้อมหรือแบบมีตัวแทนทีใช้กันในประเทศต่างๆส่วนใหญ่ใช้ระบบ ประธานาธิบดี(presidential system) และระบบรัฐสภา(parliamentary system)ซึงแบ่งเป็นแบบทีมี ประธานาธิบดีเป็นประมุข(parliamentary republic) และแบบทีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (constitutional monarchy) ประเทศทีปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขหมายถึงประเทศ ทีพระมหากษัตริย์มีเพียงพระราชอํานาจในฐานะทีทรงเป็นประมุขเท่านัน ส่วนอํานาจนิติบัญญัติ และ อํานาจบริหารนันเป็นของประชาชนทีเลือกและมอบอํานาจให้ตัวแทนใช้อํานาจแทน แต่ต้องใช้อํานาจใน พระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์เพือให้เป็นทียอมรับ เนืองจากยังมีประชาชนจํานวนมากทีคุ้นเคยและ เห็นความสําคัญของการดํารงอยู่ของสถาบันพระมหากษัตริย์ การบัญญัติกฎหมาย การออกคําสัง การ บริหารราชการในนามของประชาชนด้วยกันเอง อาจไม่ได้รับการยอมรับเท่าทีควร หรืออาจขาดเอกภาพ ในการปกครองประเทศได้ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยแบ่งตามคารวธรรม ปัญญาธรรม และสามัคคีธรรม การทีประเทศจะเป็นประชาธิปไตยได้นันจะมีแต่เพียงรูปแบบและโครงสร้างการเมืองการปกครอง เท่านันไม่ได้ แต่ประชาชนในประเทศนันจะต้องมีวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยด้วย กล่าวคือ ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะต้องมีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตทีสอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยดังนี .คารวธรรม . เห็นคุณค่าและเคารพศักดิศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชน . ใช้สิทธิโดยไม่ละทิงหน้าที . ใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ . ซือสัตย์สุจริตและมีความโปร่งใส . ยึดหลักความเสมอภาคและความยุติธรรม .สามัคคีธรรม . มีจิตสํานึกรวมหมู่และทํางานเป็นหมู่คณะ . ยึดหลักภราดรภาพ . ใช้หลักสันติวิธี
  • 16. 13 . ยึดหลักเสียงข้างมากและเคารพสิทธิของเสียงข้างน้อย . เห็นความสําคัญในประโยชน์ของส่วนรวม . มีจิตสาธารณะ(public mindedness) และการมีจิตอาสา(volunteerism) การมีส่วนช่วย ในการพัฒนาครอบครัว โรงเรียน ชุมชนสังคม และประเทศชาติอย่างยังยืน .ปัญญาธรรม . ยึดหลักเหตุผล ความจริง และความถูกต้อง . รู้ทันข้อมูลข่าวสารและรู้ทันสือสารมวลชน . ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการเมือง . มีความกล้าหาญทางจริยธรรม กล้าทีจะยืนหยัดในสิงทีถูกต้อง . มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การใช้เหตุผล การตังคําถาม การวิจัย การค้นคว้า การรวบรวมข้อมูล การโต้แย้ง . ทักษะการสือสารในระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ การฟัง การอ่าน การค้นคว้า การ จับใจความ การสรุปความการย่อความ การขยายความ การตีความ การแปลความการพูด การ เขียน การโต้วาที การอภิปราย การวิจารณ์ การกล้าแสดงออก การแสดงความคิดเห็น และการรับ ฟังความคิดเห็นของผู้อืน . พัฒนาความรู้ ความคิด จิตใจ พฤติกรรมและการทํางานของตนเองอยู่เสมอ . มีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างสร้างสรรค์ . มีความรู้พืนฐานทางการเมือง(politicalliteracy) ค่านิยมพืนฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ประการ . มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ . ซือสัตย์ เสียสละ อดทน . กตัญ ูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ . ใฝ่หาความรู้ หมันศึกษาเล่าเรียนทังทางตรงและทางอ้อม . รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม . มีศีลธรรม รักษาความสัตย์หวังดีต่อผู้อืนเผือแผ่และแบ่งปัน
  • 17. 14 . เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขทีถูกต้อง . มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ . มีสติรู้ตัว รู้คิดรู้ทํา รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .รู้จักดํารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมือยามจําเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จําหน่าย และขยายกิจการเมือมีความพร้อมโดยมีภูมิคุ้มกันทีดี . มีความเข้มแข็งทังร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออํานาจฝ่ายตําหรือกิเลสมีความ ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา . คํานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง ค่านิยมพืนฐานดังกล่าวข้างต้นมีความสําคัญอย่างยิงทีคนไทยจะต้องนํามาประพฤติปฏิบัติใน ชีวิตประจําวัน อยู่เสมอ และเพือให้เกิดความเข้าใจยิงขึนจะขอกล่าวในรายละเอียดเพิมเติม ดังนี ) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นคุณลักษณะทีแสดงถึงรักความเป็นชาติ ไทย เป็นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณค่า ภูมิใจ เชิดชูความเป็นไทย ปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนาทีตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 2) ซือสัตย์ เสียสละ อดทน เป็นคุณลักษณะทีแสดงถึงการยึดมันในความถูกต้อง ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อืน ละความเห็นแก่ตัว รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือสังคมและ บุคคลทีควรให้รู้จักควบคุมตนเองเมือประสบกับความยากลําบากและสิงทีก่อให้เกิดความเสียหาย 3) กตัญ ูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ เป็นคุณลักษณะทีแสดงออกถึงการรู้จัก บุญคุณ ปฏิบัติตามคําสังสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส่ รักษาชือเสียง และตอบแทน บุญคุณของพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูบาอาจารย์ 4) ใฝ่ หาความรู้ หมันศึกษาเล่าเรียนทังทางตรงและทางอ้อม เป็นคุณลักษณะทีแสดงออก ถึงความตังใจ เพียรพยายามในการศึกษาเล่าเรียน แสวงหาความรู้ ทังทางตรงและทางอ้อม 5) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม เป็นการปฏิบัติสืบทอดอนุรักษ์วัฒนธรรม และประเพณีไทยอันดีงามด้วยความภาคภูมิใจเห็นคุณค่าความสําคัญ 6) มีศีลธรรมรักษาความสัตย์หวังดีต่อผู้อืนเผือแผ่และแบ่งปันเป็นความประพฤติทีควร ละเว้นและความประพฤติทีควรปฏิบัติตาม
  • 18. 15 7) เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขทีถูกต้อง คือ มีความรู้ ความเข้าใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าทีของตนเอง เคารพสิทธิและหน้าทีของ ผู้อืน ใช้เสรีภาพด้วยความรับผิดชอบภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย ตามระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 8) มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ เป็นคุณลักษณะ ทีแสดงออกถึงการปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย มีความเคารพและนอบ น้อมต่อผู้ใหญ่ 9) มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทํา รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นการประพฤติปฏิบัติตนอย่างมีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทํา อย่างรอบคอบถูกต้อง เหมาะสม และน้อมนําพระราช ดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ มาปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ) รู้จักดํารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมือยามจําเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จําหน่าย และขยายกิจการเมือมีความพร้อม สามารถดําเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันใน ตัวทีดี มีความรู้ มีคุณธรรม และปรับตัวเพืออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ) มีความเข้มแข็งทังร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออํานาจฝ่ ายตําหรือกิเลส มีความ ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา เป็นการปฏิบัติตนให้มีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงปราศจาก โรคภัยและมีจิตใจทีเข้มแข็ง ไม่กระทําความชัวใดๆ ยึดมันในการทําความดีตามหลักของศาสนา ) คํานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง ให้ ความร่วมมือในกิจกรรมทีเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และประเทศชาติ เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพือ รักษาประโยชน์ของส่วนรวม
  • 19. 16 กิจกรรม .ผู้เรียนคิดว่ารัฐธรรมนูญคือประชาธิปไตยหรือไม่เพราะเหตุใด ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- .ผู้เรียนเข้าใจข้อความทีว่า “การปกครองโดยเสียงข้างมากและเคารพสิทธิของเสียงข้างน้อย” ว่าอย่างไร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- .ทําไมจึงมีคํากล่าวทีว่าใช้สิทธิโดยไม่ละทิงหน้าที ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 4. การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบนันมีความสําคัญต่อการอยู่ร่วมกันอย่างไร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- .ผู้เรียนจะนําคุณธรรมจริยธรรมใดมาใช้ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
  • 20. 17 บรรณานุกรม ความเคลือนไหวทางการจัดการศึกษาของศธ.กับ คสช. ทีน่ารู้. [เว็ปไซต์] เข้าถึงได้จาก http://jukravuth.blogspot.com/ . สืบค้นเมือ วันที สิงหาคม . จักราวุธ คาทวี. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ประการ ของ คสช.: เนือหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพือนครู, 2557. (เอกสารอัดสาเนา). ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวเนืองในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา รอบ ธันวาคม . กรุงเทพฯ ราชบัณฑิตยสถาน, . วิดิพีเดีย สารานุกรมเสรี.อับราฮัม ลินคอล์น.[เว็ปไซต์].เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org/wiki สืบค้นเมือวันที สิงหาคม สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ประการ ของ คสช. : เนือหาช่วยสอนและจัดกิจกรรม เพือนครู. [เว็ปไซต์]. เข้าถึงได้จาก :http://www.slideshare.net/jukravuth.สืบค้นเมือ วันที สิงหาคม
  • 21. 18 คณะผู้จัดทํา เนือหาเพิมเติม เรือง “หลักการสําคัญของประชาธิปไตยและการปฏิบัติตนตามคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดองสมานฉันท์” ทีปรึกษา 1. นายการุณ สกุลประดิษฐ์ เลขาธิการ กศน. 2. นายชาญวิทย์ ทับสุพรรณ รองเลขาธิการ กศน. 3. นายสุรพงษ์ จําจด รองเลขาธิการ กศน. 4. นางศุทธินี งามเขตต์ ผู้อํานวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ผู้เขียน เรียบเรียง จากการประชุม ครังที 1. นายทองอยู่ แก้วไทรฮะ ข้าราชการบํานาญ 2. นางวันเพ็ญ สุทธากาศ ข้าราชการบํานาญ 3. นายวัฒนา อัคคพานิช ข้าราชการบํานาญ 4. นางบุปผา ประกฤติกุล ข้าราชการบํานาญ 5. นายไตรรัตน์ เอียมพันธ์ โรงเรียนสตรีวิทยา ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี . นางสาวณัฐภัสสร แดงมณี สถาบัน กศน.ภาคใต้ . นางวิภานันท์ สิริวัฒนไกรกุล กศน.อําเภอคลองหลวงจ.ปทุมธานี ผู้เขียน เรียบเรียง และ บรรณาธิการ จากการประชุมครังที 1. นางวันเพ็ญ สุทธากาศ ข้าราชการบํานาญ 2. นางสุคนธ์ สินธพานนท์ ข้าราชการบํานาญ 3. นางสาววัธนีย์วรรณ อุราสุข ข้าราชการบํานาญ . นายวัฒนา อัคคพานิช ข้าราชการบํานาญ . นางพิวัสสา นภารัตน์ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 6. นายจักราวุธ คําทวี กศน.อําเภอสรรพยา จ.ชัยนาท . นางอําพัน คําทวี กศน.อําเภอสรรพยา จ.ชัยนาท คณะทํางาน . นายสุรพงษ์ มันมะโน กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน . นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน . นางสาวสุลาง เพ็ชรสว่าง กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน . นางสาวชมพูนท สังข์พิชัย กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน . นางจุฑากมล อินทระสันต์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 7. นางสาวทิพวรรณ วงศ์เรือน กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน