SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์
เพื่อพัฒนาครูคุณภาพ
ผศ.ดร.สุภาณี เส็งศรี
ดร.เชาวฤทธิ์ จั่นจีน
ดร.นเรศวร์ เศรษฐสิงห์
ดร.อัญชุลี ทองเงิน
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
ได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์
เพื่อพัฒนาครูคุณภาพ
บอกแนวทางการพัฒนาและใช้ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์
เพื่อพัฒนาครูคุณภาพของท่านได้
พบปัญหาแบบเดียวกัน ...ทาอย่างไร
ต้องการระดมความคิด แลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้...ทาอย่างไร
ต้องการบริหารจัดการข้อมูลความรู้ ...ทาอย่างไร
ต้องการเผยแพร่ ถ่ายโอนความรู้ ...ทาอย่างไร
ต้องการประเมินองค์ความรู้ ...ทาอย่างไร
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
Care & Share
 ลักษณะของชุมชน
 มีความสนใจเรื่องเดียวกัน (Knowledge Domain)
 ต้องการแลกเปลี่ยน แบ่งปันประสบการณ์ความรู้
 เชื่อมโยง เผยแพร่ และการประยุกต์ใช้ความรู้
เพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาชีพหรือสังคม
 มีพัฒนาการและยกระดับความสามารถของสมาชิก
 กลุ่มคน
 มีความสัมพันธ์อันดี
 เอื้ออาทร ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
 ปรารถนาที่จะทาให้ทุกอย่างดีขึ้น
 สถานที่ (พื้นที่)
 นัดพบ (face to face)
 ประชุม (Meeting)
 สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้
 AAR : After Action Review
 Story Telling
 Best Practice
 Knowledge Assets
ปัจจัยที่ทาการเกิดชุมชนการเรียนรู้
สภาพแวดล้อม สิ่งอานวยความสะดวก
*** Change is a process, not an event.***
ความเปลี่ยนแปลง
ของ
สังคมโลก
- แรงขับเคลื่อนทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change Drivers)
- ข้อมูล ความรู้ (Information/Knowledge)
- ลักษณะของมนุษย์ (Individual Consideration)
- เครือข่ายทางสังคม (social Network)
- เทคโนโลยี/นวัตกรรมทันสมัย (Technology/Innovation)
- ทุกคนต้องได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม
(Information and Communication Technologies: ICT)
การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 (ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช) และ
การเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกในศตวรรษที่ 21และ
การพัฒนาสู่ครูมืออาชีพ (ศ.นพ.สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ)
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
การก้าวเข้าสู่โลกเสมือนจริง (Virtual World)
จึงเป็นทางเลือกใหม่สาหรับมนุษย์แห่งศตวรรษที่ 21
(Anywhere Anytime Anybody)
Care Share
ICT
Tool/Innovation
พัฒนาการที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
เราในฐานะ ครูแกนนา
คุณ คือ ผู้นาการเปลี่ยนแปลง
เพื่อนครู
เพื่อนครู
ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา
ผู้บริหารโรงเรียน
CEO โครงการฯ/
วิทยากร
ศึกษานิเทศก์
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
 เป็นการบ่งชี้ความรู้
 คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์
ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ
 จัดลาดับความสาคัญของปัญหา
 ต้องการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
ประเด็นคุณภาพ
ความถี่ร้อยละ
เป้าหมาย ???
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ปัจจัยต่าง ๆ
ความต้องการ
ทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผู้เรียนพึงประสงค์
ผลสัมฤทธิ์
กระบวนการจัดการเรียนการสอน
แผนการสอน
สื่อ/เทคโนโลยี
สภาพแวดล้อม
ภาษา
ครูมืออาชีพ
 ปัญหาหน้างาน
 ปัญหาระบบ
 กระบวนการ
 ผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
 คุณภาพการศึกษา
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (People)
 กระบวนการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ (KM Process)
 พันธะทางสังคม
(Social Bond)
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
>> Sponsor หรือคุณเอื้อ เป็นผู้บริหารระดับสูง
ทาหน้าที่
>>> ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/คน (People)
 ให้แนวคิดอย่างมีส่วนร่วมกับสมาชิก เพื่อกาหนดทิศทาง สร้างเป้าหมาย
ของชุมชนการเรียนรู้
 ให้การสนับสนุนทรัพยากร
 สร้างการยอมรับชุมชนการเรียนรู้ในองค์กร
 สร้างแรงจูงใจให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรูปแบบต่าง ๆ
 เป็นตัวอย่างที่ดีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
>> Facilitator หรือ คุณอานวย หรือ ผู้นาการเสวนา
ทาหน้าที่
>>> ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/คน (People)
 บริหารจัดการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิก
 จุดประกายและกระตุ้นความคิดอย่างเป็นระบบ
 สนับสนุนให้สมาชิกวางแผนการดาเนินงานและนาความรู้ไปประยุกต์ใช้
 สร้างแรงจูงใจให้สมาชิก
 อบรม/ช่วยเหลือสมาชิกในด้านเทคนิคต่าง ๆ
 ประสานงานกับทุกฝ่าย
 ประเมินผลทุกขั้นตอน
 สื่อสารและเผยแพร่ความสาเร็จ
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
>> Communities Historian หรือ คนจดบันทึก/คุณลิขิต
ทาหน้าที่
>>> ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/คน (People)
 จดบันทึกเนื้อหาความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้ในกลุ่ม
 บันทึกความรู้อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่ม
 อาจเป็นผู้บันทึกความรู้ลงในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ด้วย
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
>> Community Members หรือ สมาชิก/คุณกิจ
ทาหน้าที่
>>> ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง/คน (People)
 ร่วมกาหนดหัวข้อความรู้
 เป็นผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ที่มีความรู้ในเรื่องที่แลกเปลี่ยนกัน
 ร่วมประชุมแสดงความคิดเห็น
 สื่อสารภายในกลุ่ม
 ประสานงานกับภายนอก
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
กพร.&สถาบันเพิ่มผลผลิต
แห่งชาติ (2549)
>>> กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM Process)
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
การประยุกต์หลักการ PDCA กับ KM Process
(องค์กรแห่งการเรียนรู้ รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย.)
>>> กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM Process)
ความรู้ในการลงมือปฏิบัติ
ให้บรรลุตามเป้าหมายความรู้ที่จาเป็นตามเป้าหมาย
นาความรู้ที่ได้ ไปจัดการตามระบบ
หรือกลับไปวางแผน
เพื่อให้ได้ความรู้ ที่ต้องการ
ตรวจสอบว่าปฏิบัติบรรลุตามเป้าหมาย
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
1. กาหนด
ทิศทาง/
ค้นหาปัญหา
2. สร้าง
แรงจูงใจ
3.สนับสนุน
แหล่งเรียนรู้
4.รวมรวม
และวิเคราะห์
ข้อมูล5.
วางแผนการ
ดาเนินงาน
6.
ดาเนินงาน/
ประยุกต์
ใช้งาน
7. สรุปผล
การทางาน
8.
ประเมินผล
การเรียนรู้
>>> กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM Process)
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
ยึดเหนี่ยวสมาชิกเข้าไว้ด้วยกันภายใต้ประเด็นความรู้และแรงปรารถนาเดียวกัน
ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่
1. การยึดเหนี่ยว >> ความสัมพันธ์ ความปรารถนาดี ความเป็นกัลยาณมิตร
2. การมีพันธะ >> เวลา อุทิศแรงกาย และความพยายามในการปฏิบัติหน้าที่รับผิดชอบ
3. การมีส่วนเกี่ยวข้อง >> ความสนใจ วินัยในตนเอง
4. ความเชื่อ >> กฎเกณฑ์ ระเบียบ และการเคารพสิทธิ์ และกติกาสังคม
>>> พันธะทางสังคม/ความผูกพันทางสังคม (Social Bond)
Travis Hirschi ผู้เสนอทฤษฎีทางพันธะสังคม (social bonding theory)
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
 Communication Technology
 Collaboration Technology
 Storage Technology
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
>>> Communication Technology
 Hardware
 ความพร้อมใช้ของระบบสัญญาณสื่อ
 ขนาด Bandwidth
 จุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 WiFi Zone
>>>
>>> Collaboration Technology
>>>  Learning Management System : LMS >> Moodle
 Web Technology >> Workpress ,MySQL, Microsoft.net, joomla …
 e-Conference >> Skype, Line, Webex, Microsoft Lync
 Google Apps >> google site, google
 Social Media >> Facebook, YouTube, Line …
 Blogger, Web board
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
 Storage Area Network(SAN)
 Network Attached Storage (NAS)
 Storage Cloud Computing
>>> Storage Technology
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
 Explicit Knowledge
 Best Practices
 พิสูจน์ ยอมรับ และเชื่อถือได้
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
• การทบทวนหลังปฏิบัติการหรือการถอดบทเรียน (After action review: AAR)
• บันทึกเรื่องเล่า (Story Telling)
• แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
• ฐานข้อมูลองค์ความรู้ (Knowledge Asset Database)
>>>
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
ขั้น
เริ่ม
 ขั้น
เปิดตัว
 ขั้น
เติบโต
 ขั้น
การสลายตัว

VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
VIRTUAL ONLINE COMMUNITY
1. กาหนด Sponsor/ Leader ทีมนา
2. กาหนดประเด็นความรู้ และขอบเขตที่สนใจ
3. กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกลุ่มร่วมกัน
4. ออกแบบโครงสร้าง วางแผน กาหนดกิจกรรม และการวัดผล
5. เชิญชวนและรับสมัครสมาชิกเพื่อจัดตั้งชุมชนการเรียนรู้
6. กาหนดและทาความเข้าใจกับหน้าที่ที่รับผิดชอบของสมาชิก
7. เตรียมทรัพยากรและขอสนับสนุนจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
8. พัฒนาเครื่องมือที่ใช้งานร่วมกัน เช่น website
1. เปิดตัว KM Team ของชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์
2. ประชาสัมพันธ์และทาการเปิดตัวชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์
ชี้แจงนโยบาย เป้าหมายชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์
ชี้แจงกติกาและช่องทางการมีส่วนร่วม
3. กาหนดเครื่องมือที่เหมาะสมต่อการทากิจกรรมในแต่ละช่วง
4. กาหนดวัน,เวลา และช่องทางสื่อสารที่แน่นอนในแต่ละช่วงการลปรร.
5. อบรมและให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
1. ประชุมแลกเปลี่ยน แบ่งปันความรู้ ตามปฏิทินที่กาหนดสมาชิกร่วมกัน
2. สร้างแรงจูงใจ จุดประกายและกระตุ้นการทางานของชุมชนให้มีชีวิต
3. ช่วยกันสะท้อนปัญหา แชร์แหล่งการเรียนรู้ และรวบรวมความรู้
4. วิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ที่รวบรวมได้และแสดงความคิดเห็น
5. วางแผนและลงมือปฎิบัติ (นาไปใช้)
6. ปรับปรุงเทคนิค/วิธีการการทางานของชุมชนฯ ให้เหมาะสม
7. สรุปผลการทางาน พร้อมเผยแพร่เพื่อขยายกลุ่ม
8. ประเมินผลรอบด้านอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
1. ตกลงใจระหว่างสมาชิก เพื่อปิดตัว
2. เก็บรวบรวมความรู้ที่ได้สร้างร่วมกัน
3. สุดท้าย อาจมีการแสวงหาประเด็นความรู้ใหม่
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
ดร. ประพนธ์ ผาสุกยืด การจัดการความรู้ฉบับขับเคลื่อน. สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม.2550
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
ปัจจัยแห่ง
ความสาเร็จ
สมาชิกคือ
ผู้ปฏิบัติ
พลวัต
ความรู้
มีแหล่ง
ทรัพยากร
นโยบาย
เทคโนโลยี
สนับสนุน
ประเด็น
ความรู้ตอบ
โจทย์
มีแผนงานดี
ระบบวัด
และ
ประเมินผล
กาหนดเวลา
ที่แน่นอน
สร้าง
แรงจูงใจ
พันธะสังคม
ผู้นาเป็น
แบบอย่าง วัฒนธรรม
องค์กร
เหมาะสม
การบริหาร
การปลี่ยน
แปลง
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
 ครูมีทักษะด้านการสื่อสาร การถ่ายทอดความรู้ (Knowledge) และแลกเปลี่ยน
แบ่งปันความรู้ (Tacit/Explicit Knowledge) และ จัดเก็บความรู้ (Best
Practice/Knowledge Asset ด้วยการเทคโนโลยีสื่อสารและ ICT ที่หลากหลาย
 มีการทางานเป็นทีม (Term work) ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ จากทั่วทุกมุมโลก
 ตกผลึกความรู้ จากการสังเคราะห์ และนาใช้จริงตามบริบท
 กระตุ้นความคิดครูให้เป็นผู้ใฝ่รู้และแสวงหาวิธีการความรู้ใหม่ ๆ เพื่อพัฒนา
วิชาชีพครู
 เกิดจิตสานึกต่อการพัฒนาและการมีส่วนร่วมในการพัฒนางาน
 ครูมีเครือข่ายกัลยาณมิตรสาหรับพัฒนาวิชาชีพครู คือ ร่วมกันสร้างสรรค์
(Co-Creation) ขยาย (Extend) และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ (Connect)
ระหว่างสมาชิกด้วยกัน (Coaching and Mentoring)
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
VIRTUAL LEARNING COMMUNITY
ผศ.ดร.สุภาณี เส็งศรี
supanees@nu.ac.th
ช่องทางติดต่อกับทีมวิทยากร :
ดร.เชาวฤทธิ์ จั่นจีน
chaowarit.edu@gmail.com
ดร.นเรศวร์ เศรษฐสิงห์
sing.sett007@gmail.com
ดร.อัญชุลี ทองเงิน
anchuleet@gmail.com

More Related Content

What's hot

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Rujroad Kaewurai
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
Bodaidog
 
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
Singhar Kramer
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

21st century skill for librarian
21st century skill for librarian21st century skill for librarian
21st century skill for librarian
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
 
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
การออกแบบการเรียนการสอน ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2014
การออกแบบการเรียนการสอนในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2014การออกแบบการเรียนการสอนในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2014
การออกแบบการเรียนการสอน ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2014
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
 
Blog22 feb21
Blog22 feb21Blog22 feb21
Blog22 feb21
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 

Viewers also liked

PLC - An Introduction
PLC - An IntroductionPLC - An Introduction
PLC - An Introduction
aprilme74
 

Viewers also liked (7)

Professional Learning Communities Made Easy
Professional Learning Communities Made EasyProfessional Learning Communities Made Easy
Professional Learning Communities Made Easy
 
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
เกียรติบัตรส่งเสริมการแข่งขันคอมพิวเตอร์ ปี2559
 
Professional Learning Communities
Professional Learning CommunitiesProfessional Learning Communities
Professional Learning Communities
 
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยาเกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
เกียรติบัตรการพัฒนาตนและส่งเสริมผู้เรียนปี 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
 
Why PLCs?
Why PLCs?Why PLCs?
Why PLCs?
 
Intro To PLCs
Intro To PLCsIntro To PLCs
Intro To PLCs
 
PLC - An Introduction
PLC - An IntroductionPLC - An Introduction
PLC - An Introduction
 

Similar to ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู

Week3 key information_management
Week3 key information_managementWeek3 key information_management
Week3 key information_management
Karuna Limjaroen
 
Week3 key information_management
Week3 key information_managementWeek3 key information_management
Week3 key information_management
Karuna Limjaroen
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 

Similar to ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู (20)

การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยีการจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
 
Week3 key information_management
Week3 key information_managementWeek3 key information_management
Week3 key information_management
 
Social Network
Social NetworkSocial Network
Social Network
 
Week3 key information_management
Week3 key information_managementWeek3 key information_management
Week3 key information_management
 
Week3 key information_management
Week3 key information_managementWeek3 key information_management
Week3 key information_management
 
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum  ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
 
Social media2011 15dec10_arnut
Social media2011 15dec10_arnutSocial media2011 15dec10_arnut
Social media2011 15dec10_arnut
 
Nursing informatics
Nursing informaticsNursing informatics
Nursing informatics
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
Km
KmKm
Km
 
Km
KmKm
Km
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpter
 
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
 
Social network Material
Social network  MaterialSocial network  Material
Social network Material
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 

More from Duangnapa Inyayot

ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
Duangnapa Inyayot
 

More from Duangnapa Inyayot (20)

ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
ใบงานภาระกิจ พิชิตแหล่งเรียนรู้2560
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ดโครงงานคอมพิวเตอร์  นาฬิกาคีย์บอร์ด
โครงงานคอมพิวเตอร์ นาฬิกาคีย์บอร์ด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีดโครงงานคอมพิวเตอร์  ที่ลับมีด
โครงงานคอมพิวเตอร์ ที่ลับมีด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ยามหัสจรรย์
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ยามหัสจรรย์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์  ตู้ปลารักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ ตู้ปลารักษ์โลก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลกโครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
โครงงานคอมพิวเตอร์ โคมไฟรักษ์โลก
 
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียนคู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
คู่มือการใช้งานบทเรียนออนไลน์ สำหรับนักเรียน
 
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครูคู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น  สำหรับครู
คู่มือการใช้งาน Google classroom เบื้องต้น สำหรับครู
 
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนสบป้าดวิทยา 2558
 
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด E-book  ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
E-book ลำปางเมืองต้องห้ามพลาด
 
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13  มีนา 59
เอกสารประกอบการอบรม ครูสบป้าดวิทยา Google app 12 13 มีนา 59
 
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558  ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
 
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภาประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
ประมวลภาพการปฏิบัติราชการงานศิลปหัตถกรรม 4 ภูมิภาค ปี2552 ครูดวงนภา
 
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยารายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558   โรงเรียนสบป้าดวิทยา
รายงานการนำนักเรียนร่วมกิจกรรม It รักษ์โลก 2558 โรงเรียนสบป้าดวิทยา
 
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
หลักสูตรพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี2558
 
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.orgเกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
เกียรติบัตร พื้นฐานการเขียนโปรแกรม จาก code.org
 
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .itการสร้างเกมส์ง่าย  ๆ ด้วย Kahoot .it
การสร้างเกมส์ง่าย ๆ ด้วย Kahoot .it
 
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for eduการใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
การใชงานอีเมล์ ในระบบ google app for edu
 
หลักสูตรการอบรม Dlit
หลักสูตรการอบรม Dlitหลักสูตรการอบรม Dlit
หลักสูตรการอบรม Dlit
 
เกียรติบัตรแข่งขันการออกแบบผลิตภัณฑ์ 58
เกียรติบัตรแข่งขันการออกแบบผลิตภัณฑ์ 58เกียรติบัตรแข่งขันการออกแบบผลิตภัณฑ์ 58
เกียรติบัตรแข่งขันการออกแบบผลิตภัณฑ์ 58
 

ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู