SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
เสนอ 
ผศ.ดร. หนูกร ปฐมพรรษ
กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ 
1. ประวัติผู้ก่อตั้งกิจกรรมผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 
2. ผู้ก่อตั้งกิจกำรผู้บำ เพ็ญประโยชน์ในประเทศไทย 
3. ควำมหมำยของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 
4. วัตถุประสงค์ เพื่อให้เด็กผู้หญิงและเยำวสตรี 
5. คำ ปฏิญำณของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 
6. กฎของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 
7. กำรใช้วิธีกำรของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ในกำรฝึกสมำชิก (Methods) 
8. ขอบข่ำยกำรพัฒนำในกำรฝึก
กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ (ต่อ) 
9. เนื้อหำหลักสูตรของกิจกรรมผู้บำ เพ็ญประโยชน์หรือโปรแกรม 
10. สมำชิกผู้บำ เพ็ญประโยชน์มี 4 ประเภท 
11. วิสัยทัศน์ (Vision ) 
12. พันธกิจ (Mission ) 
13. เกียรติของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 
14. คำ ขวัญของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 
15. เครื่องแบบสมำชิกผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 
16. สรุปกิจกรรมผู้บำ เพ็ญประโยชน์
Lord Baden Powell ผู้ก่อตั้ง กิจกำรลูกเสือ 
(Boy Scouts) ได้ก่อตั้งกิจกำรผู้บำ เพ็ญประโยชน์ (Girl Guides) ขึ้น 
ในสหรำชอำณำจักรในปี พ.ศ.2453 (ค.ศ. 1910) และให้ Ms. Agnes 
Powell พี่สำวเป็นผู้ดูแลกิจกำร Girl Guides ต่อมา Ms. Agnes Baden- 
Powell เป็นผู้บำ เพ็ญประโยชน์คนแรกของโลก และต่อมำได้ดำ รง 
ตำ แหน่งเป็นนำยกสมำคมผู้บำ เพ็ญประโยชน์แห่งประเทศอังกฤษ (The 
Girl Guides Association of United Kingdom)
ผู้ก่อตั้งกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ในประเทศไทย 
ดร. คุณหญิงกนก สำมเสน วิล
ผู้ก่อต้งั (ต่อ) 
ในประเทศไทย คุณหญิงกนก สำมเสน วิล ได้นำกิจกรรม 
นี้เข้ำมำเมื่อ พ.ศ. 2500ใช้ชื่อองค์กำรว่ำสมำคมผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 
แห่งประเทศไทย ( The World Association of Thailand ) จด 
ทะเบียนเป็นสมำคมฯ เมื่อ 21 พฤษภำคม พ.ศ. 2501 สมเด็จพระ 
นำงเจ้ำสิริกิต์ิ พระบรมรำชินีนำถ ทรงรับอยู่ในพระบรม 
รำชินูปถัมภ์ เมื่อ 16 มกรำคม พ.ศ. 2506 และองค์กำรผู้บำ เพ็ญ 
ประโยชน์แห่งโลกรับเข้ำเป็นสมำชิกโดยสมบูรณ์ในปี พ.ศ.2515
ควำมหมำย 
“ ผู้บำ เพ็ญประโยชน์ ” ( Guide) หมำยถึง ผู้ที่ฝึกฝนตนเองให้ 
พร้อมที่จะแนะนำ และช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ โดยกำรฝึกทักษะต่ำงๆ ให้มี 
ควำมพร้อมทั้งด้ำนร่ำงกำย สติปัญญำ อำรมณ์ สังคม และคุณธรรม มีคำ 
ปฏิญำณ และกฎ 10 ข้อ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี 
โดยมีกำรจัดองค์กรกำรบริหำรตำมข้อบังคับและนโยบำยขององค์กำรผู้ 
บำ เพ็ญประโยชน์แห่งโลก ( The World Association of Girl Guides 
and Girl Scouts ) ในปี พ.ศ. 2545 มีประเทศที่เป็นสมำชิกผู้บำ เพ็ญ 
ประโยชน์อยู่ทั่วโลก 144 ประเทศ
วัตถุประสงค์ 
เพื่อให้เด็กผู้หญิงและเยำวสตรี 
1. อุปนิสัยที่ดีตำมแนวทำงของคำ ปฏิญำณและกฎ 
2. มีทักษะชีวิตที่เหมำะสมกับสังคมในปัจจุบันและอนำคต 
3. เป็นผู้นำ และผู้ตำมที่ดีในระบอบประชำธิปไตย 
4. รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น และบำ เพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
คำปฏิญำณ 
1. ข้ำพเจ้ำจะปฏิบัติหน้ำที่อันพึงมีต่อชำติ ศำสนำพระมหำกษัตริย์ 
2. ข้ำพเจ้ำจะช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ 
3. ข้ำพเจ้ำเชื่อและจะปฏิบัติตำมกฎของคณะผู้บำ เพ็ญประโยชน์
กฎของผู้บำเพ็ญประโยชน์ 
1. ข้อ 1 ทำ ตนให้เป็นที่เชื่อถือและไว้วำงใจได้ 
2. ข้อ 2 ซื่อสัตย์ 
3. ข้อ 3 ทำ ตนให้เป็นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ 
4. ข้อ 4 เป็นมิตรกับคนทั้งหลำยและถือเป็นพี่เป็นน้องกับผู้ 
บำ เพ็ญประโยชน์ร่วมคณะ 
5. ข้อ 5 สุภำพอ่อนน้อม
กฎของผู้บำเพ็ญประโยชน์ (ต่อ) 
6. ข้อ 6 เมตตำกรุณำต่อสัตว์ 
7. ข้อ 7 เชื่อฟังและปฏิบัติตำมคำ สั่ง 
8. ข้อ 8 อดทนต่อควำมยำกลำ บำกด้วยใจร่ำเริง 
9. ข้อ 9 มัธยัสถ์ 
10. ข้อ 10 สุจริตพร้อมกำยวำจำใจ
วิธีในกำรฝึกสมำชิก (Methods) 
กิจกรรมผู้บำ เพ็ญประโยชน์ เป็นกระบวนกำรในกำรทำ งำน 
เพื่อให้เด็กผู้หญิงและเยำวสตรีมีโอกำสเท่ำเทียมกันในกำรพัฒนำตนเอง 
ให้เต็มตำมศักยภำพ ซึ่งวิธีกำรของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ มี 9 วิธีกำร ดังนี้ 
1. ยึดมั่นในคำ ปฏิญำณและกฎ (Promise and law) 
2. ระบบหมู่ (The Patrol System) 
3. กำรเรียนรู้โดยกำรลงมือทำ (Learning by doing) 
4. กำรพัฒนำตนเองให้ก้ำวหน้ำ (Progressive Development
วิธีในกำรฝึกสมำชิ(Methods) (ต่อ) 
5. ควำมร่วมมือระหว่ำงผู้ใหญ่และเด็ก (Active Co-operation 
between Youths and Adults) 
6. กำรใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน (Symbolism) 
7. กิจกรรมกลำงแจ้ง (Outdoor activities) 
8. กำรบำ เพ็ญประโยชน์ต่อชุมชน (Community Service) 
9. ประสบกำรณ์นำนำชำติ (International Experiences)
ขอบข่ำยกำรพัฒนำ ในกำรฝึก 
จะต้องให้สมำชิกได้รับกำรพัฒนำทุกด้ำน คือ 
1. ร่ำงกำย (PHYSICAL) 
2. อำรมณ์ (EMOTIONAL) 
3. สังคม (SOCIAL) 
4. สติปัญญำ (INTELLECTUAL) 
5. จิตใจ (SPIRITUAL) 
6. คุณธรรม (MORAL )
เนื้อหำหลักสูตร 
1. กำรบำ เพ็ญประโยชน์ (Giving Service) 
2. กำรเป็นพลเมืองดี (Citizenship) 
3. วัฒนธรรมและมรดกของชำติ (Culture and Heritage) 
4. สิ่งแวดล้อม (Environment) 
5. กำรอยู่ร่วมกับผู้อื่น (Relationships)
เนื้อหำหลักสูตร (ต่อ) 
6. สุขภำพ (Health) 
7. ประสบกำรณ์นำนำชำติ (International Understanding) 
8. เทคโนโลยี (Technology) 
9. ครอบครัว (Family life) 
10. วิสัยทัศน์ (My vision)
สมำชิกผู้บำเพ็ญประโยชน์มี 4 ประเภท 
1. เยำวสมำชิก ได้แก่ สตรีอำยุครบ 4 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี 
2. สมำชิกสำมัญ ได้แก่ สตรีที่บรรลุนิติภำวะ อำยุ 20 ปี 
3. สมำชิกสมทบ ได้แก่ บุรุษที่บรรลุนิติภำวะแล้วอำยุ 20 ปี 
4. สมำชิกกิตติมศักด์ิได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมกำรอำ นวยกำร 
ของสมำคมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้เชิญเป็นสมำชิกกิตติมศักด์ิได้
เครื่องแบบสมำชิกผู้บำเพ็ญประโยชน์ 
นกน้อย (Little bird) อำยุ 4-6 ปี นกสีฟ้ำ (Blue Birds) อำยุ 7-11 ปี
เครื่องแบบสมำชิกผู้บำเพ็ญประโยชน์(ต่อ) 
บ.พ. รุ่นกลำง (Guides) อำยุ 12-15 ปี และ 
บ.พ. รุ่นใหญ่ (Senior Guides) อำยุ 16 - 18 ปี 
สมาชิกสามัญ,สมาชิกกิตติมศักดิ์,หัวหน้าหมวดผู้ 
บาเพ็ญประโยชน์สมาชิกสามัญ,สมาชิกกิตติมศักดิ์
วิสัยทัศน์ ( Vision ) : ผู้หญิงที่เก่ง ดีและมีประโยชน์ต่อสังคม 
พันธกิจ ( Mission ) : ทำ ให้เด็กหญิงและเยำวสตรีสำมำรถพัฒนำ 
ศักยภำพของตนเองได้สูงสุด ในกำรเป็นพลเมืองดี มีควำมรับผิดชอบ 
ต่อสังคม 
เกียรติของผู้บำเพ็ญประโยชน์: กำรทำ ตนให้เป็นที่เชื้อถือและไว้วำงใจได้ 
คำ ขวัญของผู้บำเพ็ญประโยชน์: "ทำ ควำมดี อย่ำงน้อยวันละหนึ่งครั้ง"
สรุป 
ผู้บำ เพ็ญประโยชน์ คือ ผู้ที่ฝึกตนเองให้พร้อมที่จะแนะนำ และ 
ช่วยเหลือผู้อื่นเสมอโดยกำรฝึกทักษะต่ำงๆให้มีควำมพร้อมทั้งด้ำน 
ร่ำงกำย สติปัญญำ สังคม และคุณธรรม มีคำ ปฏิญำณตนและกฎ 10 
ข้อ เป็นเครื่องมือยึดเหนี่ยวให้ปฏิบัติเป็นพลเมืองดี 
กำรบำ เพ็ญที่แท้จริง คือ กำรทำ หน้ำที่เพื่อมุ่งผลของงำนทำ ด้วย 
จิตใจหวังดีต่อมนุษย์โลก ทำ โดยไม่คิดว่ำผลประโยชน์นั้นจะกลับมำ 
สู่ตัวเรำ ไม่หวั่นเกรงต่อควำมเข้ำใจผิด ทำ ทุกสิ่งโดยไม่นกถึง 
ประโยชน์ส่วนตน ไม่หวังในลำภยศต่ำงๆ
ผู้บำเพ็ญประโยชน์

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดJoy Jantima
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์Jindarat JB'x Kataowwy
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtthitinanmim115
 
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานThanawut Rattanadon
 

What's hot (20)

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.2 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
 

Similar to ผู้บำเพ็ญประโยชน์

ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_makusoh026
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีWatcharasak Chantong
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าIpst Thailand
 

Similar to ผู้บำเพ็ญประโยชน์ (20)

ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
 

ผู้บำเพ็ญประโยชน์

  • 2. กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ 1. ประวัติผู้ก่อตั้งกิจกรรมผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 2. ผู้ก่อตั้งกิจกำรผู้บำ เพ็ญประโยชน์ในประเทศไทย 3. ควำมหมำยของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 4. วัตถุประสงค์ เพื่อให้เด็กผู้หญิงและเยำวสตรี 5. คำ ปฏิญำณของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 6. กฎของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 7. กำรใช้วิธีกำรของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ในกำรฝึกสมำชิก (Methods) 8. ขอบข่ำยกำรพัฒนำในกำรฝึก
  • 3. กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ (ต่อ) 9. เนื้อหำหลักสูตรของกิจกรรมผู้บำ เพ็ญประโยชน์หรือโปรแกรม 10. สมำชิกผู้บำ เพ็ญประโยชน์มี 4 ประเภท 11. วิสัยทัศน์ (Vision ) 12. พันธกิจ (Mission ) 13. เกียรติของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 14. คำ ขวัญของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 15. เครื่องแบบสมำชิกผู้บำ เพ็ญประโยชน์ 16. สรุปกิจกรรมผู้บำ เพ็ญประโยชน์
  • 4. Lord Baden Powell ผู้ก่อตั้ง กิจกำรลูกเสือ (Boy Scouts) ได้ก่อตั้งกิจกำรผู้บำ เพ็ญประโยชน์ (Girl Guides) ขึ้น ในสหรำชอำณำจักรในปี พ.ศ.2453 (ค.ศ. 1910) และให้ Ms. Agnes Powell พี่สำวเป็นผู้ดูแลกิจกำร Girl Guides ต่อมา Ms. Agnes Baden- Powell เป็นผู้บำ เพ็ญประโยชน์คนแรกของโลก และต่อมำได้ดำ รง ตำ แหน่งเป็นนำยกสมำคมผู้บำ เพ็ญประโยชน์แห่งประเทศอังกฤษ (The Girl Guides Association of United Kingdom)
  • 6. ผู้ก่อต้งั (ต่อ) ในประเทศไทย คุณหญิงกนก สำมเสน วิล ได้นำกิจกรรม นี้เข้ำมำเมื่อ พ.ศ. 2500ใช้ชื่อองค์กำรว่ำสมำคมผู้บำ เพ็ญประโยชน์ แห่งประเทศไทย ( The World Association of Thailand ) จด ทะเบียนเป็นสมำคมฯ เมื่อ 21 พฤษภำคม พ.ศ. 2501 สมเด็จพระ นำงเจ้ำสิริกิต์ิ พระบรมรำชินีนำถ ทรงรับอยู่ในพระบรม รำชินูปถัมภ์ เมื่อ 16 มกรำคม พ.ศ. 2506 และองค์กำรผู้บำ เพ็ญ ประโยชน์แห่งโลกรับเข้ำเป็นสมำชิกโดยสมบูรณ์ในปี พ.ศ.2515
  • 7. ควำมหมำย “ ผู้บำ เพ็ญประโยชน์ ” ( Guide) หมำยถึง ผู้ที่ฝึกฝนตนเองให้ พร้อมที่จะแนะนำ และช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ โดยกำรฝึกทักษะต่ำงๆ ให้มี ควำมพร้อมทั้งด้ำนร่ำงกำย สติปัญญำ อำรมณ์ สังคม และคุณธรรม มีคำ ปฏิญำณ และกฎ 10 ข้อ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี โดยมีกำรจัดองค์กรกำรบริหำรตำมข้อบังคับและนโยบำยขององค์กำรผู้ บำ เพ็ญประโยชน์แห่งโลก ( The World Association of Girl Guides and Girl Scouts ) ในปี พ.ศ. 2545 มีประเทศที่เป็นสมำชิกผู้บำ เพ็ญ ประโยชน์อยู่ทั่วโลก 144 ประเทศ
  • 8. วัตถุประสงค์ เพื่อให้เด็กผู้หญิงและเยำวสตรี 1. อุปนิสัยที่ดีตำมแนวทำงของคำ ปฏิญำณและกฎ 2. มีทักษะชีวิตที่เหมำะสมกับสังคมในปัจจุบันและอนำคต 3. เป็นผู้นำ และผู้ตำมที่ดีในระบอบประชำธิปไตย 4. รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น และบำ เพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
  • 9. คำปฏิญำณ 1. ข้ำพเจ้ำจะปฏิบัติหน้ำที่อันพึงมีต่อชำติ ศำสนำพระมหำกษัตริย์ 2. ข้ำพเจ้ำจะช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ 3. ข้ำพเจ้ำเชื่อและจะปฏิบัติตำมกฎของคณะผู้บำ เพ็ญประโยชน์
  • 10. กฎของผู้บำเพ็ญประโยชน์ 1. ข้อ 1 ทำ ตนให้เป็นที่เชื่อถือและไว้วำงใจได้ 2. ข้อ 2 ซื่อสัตย์ 3. ข้อ 3 ทำ ตนให้เป็นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ 4. ข้อ 4 เป็นมิตรกับคนทั้งหลำยและถือเป็นพี่เป็นน้องกับผู้ บำ เพ็ญประโยชน์ร่วมคณะ 5. ข้อ 5 สุภำพอ่อนน้อม
  • 11. กฎของผู้บำเพ็ญประโยชน์ (ต่อ) 6. ข้อ 6 เมตตำกรุณำต่อสัตว์ 7. ข้อ 7 เชื่อฟังและปฏิบัติตำมคำ สั่ง 8. ข้อ 8 อดทนต่อควำมยำกลำ บำกด้วยใจร่ำเริง 9. ข้อ 9 มัธยัสถ์ 10. ข้อ 10 สุจริตพร้อมกำยวำจำใจ
  • 12. วิธีในกำรฝึกสมำชิก (Methods) กิจกรรมผู้บำ เพ็ญประโยชน์ เป็นกระบวนกำรในกำรทำ งำน เพื่อให้เด็กผู้หญิงและเยำวสตรีมีโอกำสเท่ำเทียมกันในกำรพัฒนำตนเอง ให้เต็มตำมศักยภำพ ซึ่งวิธีกำรของผู้บำ เพ็ญประโยชน์ มี 9 วิธีกำร ดังนี้ 1. ยึดมั่นในคำ ปฏิญำณและกฎ (Promise and law) 2. ระบบหมู่ (The Patrol System) 3. กำรเรียนรู้โดยกำรลงมือทำ (Learning by doing) 4. กำรพัฒนำตนเองให้ก้ำวหน้ำ (Progressive Development
  • 13. วิธีในกำรฝึกสมำชิ(Methods) (ต่อ) 5. ควำมร่วมมือระหว่ำงผู้ใหญ่และเด็ก (Active Co-operation between Youths and Adults) 6. กำรใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน (Symbolism) 7. กิจกรรมกลำงแจ้ง (Outdoor activities) 8. กำรบำ เพ็ญประโยชน์ต่อชุมชน (Community Service) 9. ประสบกำรณ์นำนำชำติ (International Experiences)
  • 14. ขอบข่ำยกำรพัฒนำ ในกำรฝึก จะต้องให้สมำชิกได้รับกำรพัฒนำทุกด้ำน คือ 1. ร่ำงกำย (PHYSICAL) 2. อำรมณ์ (EMOTIONAL) 3. สังคม (SOCIAL) 4. สติปัญญำ (INTELLECTUAL) 5. จิตใจ (SPIRITUAL) 6. คุณธรรม (MORAL )
  • 15. เนื้อหำหลักสูตร 1. กำรบำ เพ็ญประโยชน์ (Giving Service) 2. กำรเป็นพลเมืองดี (Citizenship) 3. วัฒนธรรมและมรดกของชำติ (Culture and Heritage) 4. สิ่งแวดล้อม (Environment) 5. กำรอยู่ร่วมกับผู้อื่น (Relationships)
  • 16. เนื้อหำหลักสูตร (ต่อ) 6. สุขภำพ (Health) 7. ประสบกำรณ์นำนำชำติ (International Understanding) 8. เทคโนโลยี (Technology) 9. ครอบครัว (Family life) 10. วิสัยทัศน์ (My vision)
  • 17. สมำชิกผู้บำเพ็ญประโยชน์มี 4 ประเภท 1. เยำวสมำชิก ได้แก่ สตรีอำยุครบ 4 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี 2. สมำชิกสำมัญ ได้แก่ สตรีที่บรรลุนิติภำวะ อำยุ 20 ปี 3. สมำชิกสมทบ ได้แก่ บุรุษที่บรรลุนิติภำวะแล้วอำยุ 20 ปี 4. สมำชิกกิตติมศักด์ิได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมกำรอำ นวยกำร ของสมำคมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้เชิญเป็นสมำชิกกิตติมศักด์ิได้
  • 18. เครื่องแบบสมำชิกผู้บำเพ็ญประโยชน์ นกน้อย (Little bird) อำยุ 4-6 ปี นกสีฟ้ำ (Blue Birds) อำยุ 7-11 ปี
  • 19. เครื่องแบบสมำชิกผู้บำเพ็ญประโยชน์(ต่อ) บ.พ. รุ่นกลำง (Guides) อำยุ 12-15 ปี และ บ.พ. รุ่นใหญ่ (Senior Guides) อำยุ 16 - 18 ปี สมาชิกสามัญ,สมาชิกกิตติมศักดิ์,หัวหน้าหมวดผู้ บาเพ็ญประโยชน์สมาชิกสามัญ,สมาชิกกิตติมศักดิ์
  • 20. วิสัยทัศน์ ( Vision ) : ผู้หญิงที่เก่ง ดีและมีประโยชน์ต่อสังคม พันธกิจ ( Mission ) : ทำ ให้เด็กหญิงและเยำวสตรีสำมำรถพัฒนำ ศักยภำพของตนเองได้สูงสุด ในกำรเป็นพลเมืองดี มีควำมรับผิดชอบ ต่อสังคม เกียรติของผู้บำเพ็ญประโยชน์: กำรทำ ตนให้เป็นที่เชื้อถือและไว้วำงใจได้ คำ ขวัญของผู้บำเพ็ญประโยชน์: "ทำ ควำมดี อย่ำงน้อยวันละหนึ่งครั้ง"
  • 21. สรุป ผู้บำ เพ็ญประโยชน์ คือ ผู้ที่ฝึกตนเองให้พร้อมที่จะแนะนำ และ ช่วยเหลือผู้อื่นเสมอโดยกำรฝึกทักษะต่ำงๆให้มีควำมพร้อมทั้งด้ำน ร่ำงกำย สติปัญญำ สังคม และคุณธรรม มีคำ ปฏิญำณตนและกฎ 10 ข้อ เป็นเครื่องมือยึดเหนี่ยวให้ปฏิบัติเป็นพลเมืองดี กำรบำ เพ็ญที่แท้จริง คือ กำรทำ หน้ำที่เพื่อมุ่งผลของงำนทำ ด้วย จิตใจหวังดีต่อมนุษย์โลก ทำ โดยไม่คิดว่ำผลประโยชน์นั้นจะกลับมำ สู่ตัวเรำ ไม่หวั่นเกรงต่อควำมเข้ำใจผิด ทำ ทุกสิ่งโดยไม่นกถึง ประโยชน์ส่วนตน ไม่หวังในลำภยศต่ำงๆ