SlideShare a Scribd company logo
TCP/IP และอินเทอร์เน็ต
(TCP/IP AND INTERNET)
1
วัตถุประสงค์
1. สามารถสรุปประวัติโดยย่อของอินเทอร์เน็ตได้
2. สามารถอธิบายกลไกการทางานของโปรโตคอล IP ได้อย่างถูกต้อง
3. สามารถจัดสรรคลาสต่างๆ บน IPv4 ได้
4. สามารถแบ่งเครือข่ายย่อยด้วยการใช้ซับเน็ตมาสก์ได้
5. เข้าใจหลักการของ CIDR และสามารถนาไปใช้เพื่อการจัดสรรหมายเลขไอพีแอดเดรสได้
อย่างเหมาะสม
6. สามารถคานวณหาแอดเดรสซับเน็ตได้
7. บอกวัตถุประสงค์ของ NAT และวิธีการ NAT ในรูปแบบต่างๆ ได้
8. บอกหน้าที่การทางานของโปรโตคอลที่อยู่บนชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก ทรานสปอร์ตและ
แอปพลิเคชั่นได้
9. เข้าใจในโครงสร้างของ IPv6 และสามารถกาหนดแอดเดรสด้วย IPv6 ได้อย่างถูกต้อง
2
ประวัติเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Brief History of Internet)
อินเทอร์เน็ตเกิดจากโครงการเครือข่ายอาร์พาเน็ต (Advanced Research Project
Agency Network : ARPANET) ภายใต้กระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมี
วัตถุประสงค์ดังนี้คือ
1. เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์ที่วิจัยด้านเทคโนโลยีที่อยู่ตามพื้นที่ต่างๆ ห่างไกลกัน
สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ในโครงการวิจัยทางการทหาร
2. เครือข่ายจะยังคงสามารถสื่อสารใช้งานได้ถึงแม้ว่าจะถูกโจมตีหรือถูกทาลาย
ด้วยอาวุธนิวเคลียร์
3
ประวัติเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Brief History of Internet)
มีการทดลองใช้งานเมื่อปี พ.ศ. 2512 โดยประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ที่เป็น
ศูนย์กลางอยู่ 4 เครื่องด้วยกัน
1. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียร์แห่งนครลอสแอนเจลิส
2. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียร์แห่งนครซานตา บาร์บารา
3. มหาวิทยาลัยยูทาห์
4. สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด
หลังจากนั้นเป็นต้นมา หน่วยงานต่างๆ ได้เล็งเห็นประโยชน์จากเครือข่ายดังกล่าว และได้มี
การพัฒนาเครือข่ายเพื่อใช้งานในหน่วยงานของตน จนกระทั่งมีการเชื่อมโยงเครือข่าย
ด้วยโปรโตคอล TCP/IP เป็นครั้งแรก และต่อมาก็ได้มีการเปลี่ยนจากเครือข่าย
เฉพาะกลุ่มมาเป็นเครือข่ายสาธารณะที่สามารถใช้งานอยู่ในปัจจุบันเรียกว่า
“เครือข่ายอินเทอร์เน็ต”
4
ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก (Network Layer)
ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก ทาหน้าที่เลือกเส้นทางเพื่อจัดส่งข้อมูลในรูปแบบแพ็กเก็ต โดย
จะใช้อัลกอริทึมในการกาหนดเส้นทางที่เหมาะสม โปรโตคอลที่สาคัญคือ IP จะทางาน
ร่วมกับอุปกรณ์เร้าเตอร์ในการส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายต่างๆ นอกจากนี้ยังมีโปรโตคอลที่
เกี่ยวข้องคือ ARP, RARP, ICMP และ IGMP เป็นต้น
5
OSI Model กับ Protocol ต่างๆ
6
OSI Model
TCP/IP Model กับ Protocol ต่างๆ
7
IP เป็นโปรโตคอลหลักในการสื่อสารข้อมูล เป็นกลไกสาคัญ
ที่ทาให้ข้อมูลสามารถเคลื่อนย้ายไปยังปลายทาง
ICMP (Internet Control Message Protocol) ทาหน้าที่
เสริมการทางานของ IP ให้สมบูรณ์โดยจะแจ้งข้อผิดพลาดแก่ IP
IGMP (Internet Group Management Protocol)
ทาหน้าที่ในการส่ง UDP ไปยังกลุ่ม
ของโฮสต์หรือโฮสต์หลายๆ ตัวพร้อมกัน
ARP (Address Reservation Protocol) ทาหน้าที่เปลี่ยน
ระหว่าง Address ที่ใช้โดย IP ให้เป็น Address ของ Network
Interface
RARP (Reverse ARP) ทาหน้าที่สลับกันกับ ARP คือเปลี่ยน
ระหว่าง Address ของ Network Interface ให้เป็น Address
ที่ใช้โดย IP
โปรโตคอล TCP/IP (TCP/IP Protocol)
TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นชุดของโปรโตคอลที่ถูกใช้
ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถใช้สื่อสารจากต้น
ทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทางได้ และสามารถหาเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปได้เองโดย
อัตโนมัติ ถึงแม้ว่าในระหว่างทางอาจจะผ่านเครือข่ายที่มีปัญหา โปรโตคอลก็ยังคงหาเส้นทาง
อื่นในการส่งผ่านข้อมูลไปให้ถึงปลายทางได้
8
โปรโตคอล TCP/IP (TCP/IP Protocol)
TCP/IP มีจุดประสงค์ของการสื่อสารตามมาตรฐาน คือ
1. เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน
2. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย เช่นในกรณีที่ผู้ส่งและผู้รับ
ยังคงมีการติดต่อกันอยู่ แต่โหนดกลางทีใช้เป็นผู้ช่วยรับ-ส่งเกิดเสียหายใช้การไม่ได้ หรือสาย
สื่อสารบางช่วงถูกตัดขาด กฎการสื่อสารนี้จะต้องสามารถจัดหาทางเลือกอื่นเพื่อทาให้การ
สื่อสารดาเนินต่อไปได้โดยอัตโนมัติ
3. มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน เช่น การจัดส่ง
แฟ้ มข้อมูล และแบบที่ต้องการรับประกันความเร่งด่วนของข้อมูล เช่น การสื่อสารแบบ
real-time และทั้งการสื่อสารแบบเสียง (Voice) และข้อมูล (data)
9
การบริการการเชื่อมต่อการสื่อสาร
การบริการการเชื่อมต่อการสื่อสารระหว่างต้นทางและปลายทาง ประกอบด้วยการสื่อสาร 2
แบบ คือ การสื่อสารแบบ Connectionless และแบบ Connection oriented ส่วนในรูปแบบ
OSI จะให้ความสาคัญเฉพาะบริการแบบ Connection - oriented เท่านั้น
10
การสื่อสารแบบ Connection-oriented
1. การสื่อสารแบบ Connection-oriented จะมีการกาหนดช่วงเวลา (Session)
สาหรับการติดต่อยืนยันการส่ง-รับข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้ง 2 เครื่อง เช่นเดียว กับการ
ทางานของโปรโตคอล Session ในรูปแบบ OSI ซึ่งทาให้โปรโตคอล TCP เป็นโปรโตคอลที่มี
ความน่าเชื่อถือ (Reliable) เพราะให้ความแน่นอนว่าแพ็กเกจข้อมูลที่ถูกส่งออกไปจากต้นทาง
จะไปถึงยังปลายทาง อย่างเป็นลาดับ และไม่มีความผิดพลาด หรือสูญหายของข้อมูล
11
การสื่อสารแบบ Connectionless
2. การสื่อสารแบบ Connectionless ของโปรโตคอล จะมีลักษณะแบบเดียวกับ
โปรโตคอล UDP (User Datagram Protocol)และ โปรโตคอล IP (Internet Protocol) คือ
โปรโตคอลจะมีหน้าที่ควบคุมการส่ง – รับข้อมูลโดยไม่มีการรอคอย หรือการยืนยันการตอบรับ
ข้อมูลจากปลายทาง ทาให้บริการแบบนี้ให้ความน่าเชื่อถือน้อยกว่า แต่ก็ทาให้การสื่อสาร
ข้อมูลรวดเร็วยิ่งขึ้นถ้าไม่มีความผิดพลาดเกิดขึ้นในการส่ง-รับข้อมูล
12
การบริการการเชื่อมต่อการสื่อสาร
สรุป
- Connection-Oriented ต้องสร้าง connection ก่อน เสียเวลาตอนเริ่มต้นหลังจากนั้นจึงเริ่ม
ส่งได้ มีการรับประกันว่าข้อมูลถึงปลายทางอย่างถูกต้อง ตัวอย่างการใช้งาน เช่น
E-mail, World Wide Web และ FTP (File Transfer Protocol) เป็นต้น
- Connectionless ไม่มีการสร้าง connection ส่งได้เลย ทาได้รวดเร็ว แต่ไม่มีการรับประกันว่า
ข้อมูลถึงปลายทางอย่างถูกต้องครบถ้วน ตัวอย่างการใช้งาน เช่น สัญญาณ Video, เสียง
ซึ่งข้อมูลสามารถหายไปบางส่วนได้
13
โปรโตคอล IP (Internet Protocol)
โปรโตคอล IP (Internet Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ทาหน้าที่รับภาระในการนาข้อมูล
ไปยังปลายทาง ในอินเตอร์เน็ต โปรโตคอลต่างๆ ทั้ง TCP,UDP,ICMP ต่างก็ใช้ระบบนี้ทั้งสิ้น
เนื่องจากโปรโตคอล IP มีกลไกที่ฉลาดในการค้นหาเส้นทางขนส่งข้อมูล
แต่จุดด้อยโปรโตคอล IP คือเป็นโปรโตคอลที่ทางานแบบ Connectionless
(เปรียบเสมือนระบบขนส่งที่สามารถนาสิ่งของไปยังปลายทางได้อย่างรวดเร็วแต่ไม่รับประกัน
ว่าข้อมูลจะถึงปลายทางหรือไม่) ซึ่งโปรโตคอล IP อยู่ในชั้น Network Layer หรือ Internet
Layer
14
โปรโตคอล IP (Internet Protocol)
หากต้องการความน่าเชื่อถือในการส่งข้อมูลไปยังปลายทาง โปรโตคอล IP จะทางาน
ควบคู่ไปกับโปรโตคอลที่มีเครื่องมือในการตรวจสอบข้อมูลว่าส่งถึงปลายทางหรือไม่ คือ
โปรโตคอล TCP ตัวอย่างเช่น การส่งจดหมาย หากเป็นการส่งแบบปกติ จะไม่มีการรับประกัน
ว่าจดหมายจะถึงมือผู้รับหรือไม่ เนื่องจากอาจมีการตกหล่นหรือสูญหายระหว่างทาง ดังนั้น
หากต้องการส่งจดหมายที่มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น อาจเลือกวิธีการส่งแบบลงทะเบียน ซึ่ง
จะมีการรับรองว่าจดหมายจะส่งถึงมือผู้รับอย่างแน่นอน ดังนั้น IP เปรียบเสมือนการส่ง
จดหมายแบบธรรมดาและ TCP คือการส่งจดหมายแบบลงทะเบียน
15
การกาหนดตาแหน่งที่อยู่ใน IPv4 (IPv4 Addressing)
TCP/IP จะกาหนดที่อยู่ด้วยไอพีแอดเดรส โดยไอพีแอดเดรส คือ ชุดตัวเลขฐานสองขนาด
32 บิต ที่ใช้กาหนดที่อยู่ของโฮสต์ โดยแต่ละ 32 บิตของไอพีแอดเดรสจะถูกแบ่งออกเป็น 2
ส่วน คือ NetID และ HostID ถูกออกแบบมาเพื่อใช้สาหรับการหาเส้นทาง
• แอดเดรสในส่วนของ NetID จะชี้ระบุเครือข่าย (Physical Network) ที่คอมพิวเตอร์
เชื่อมต่อ
• แอดเดรสในส่วนของ HostID จะชี้ระบุตาแหน่งของอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ
กับเครือข่าย
16
การกาหนดตาแหน่งที่อยู่ใน IPv4 (IPv4 Addressing)
ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วย 4 ไบต์ หรือ 4 ออคเทต (32 บิต)
โดยในชุดของหมายเลขไอพี จะมีฟิลด์ 3 ฟิลด์ คือ
- ประเภทของคลาส (Class)
- ส่วนที่ใช้เป็นหมายเลขเครือข่าย (Network Address)
- ส่วนที่ใช้เป็นหมายเลขเครื่อง (Host Address)
17
Network ID and Node ID concepts18
การแทนค่าไอพีแอดเดรสแบบเลขฐานสองและฐานสิบ
(Binary and Dotted Decimal Notation)
IP Address ขนาด 32 bit จะเป็นไปตามข้อกาหนดของ IPv4 จานวน bit ดังกล่าว
สามารถแทนเลขหมายหรือ address ของอุปกรณ์ได้ประมาณ 4 พันล้านเครื่อง หรือเท่ากับ
232 (4,294,967,296) แต่ไม่ได้นามาใช้งานทั้งหมดเนื่องจากมีการสงวนไว้ใช้งานเฉพาะอย่าง
และด้วยขนาด 32 bit ของ IP Address ทาให้ยากต่อการจดจา จึงมีการแทนเครื่องหมายในรูป
แบบของเลขฐานสิบ และใช้จุดทศนิยมคั่นระหว่างตัวเลขแต่ละชุด ดังรูป
19
IP Address ในรูปแบบเลขฐานสอง และฐานสิบที่มีจุดทศนิยมคั่นระหว่างตัวเลขแต่ละชุด
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
เป็นแนวคิดในการแบ่งคลาสออกเป็น 5 ชนิดโดยแต่ละคลาสที่ออกแบบมาจะรองรับ
ความต้องการที่แตกต่างกันแล้วแต่องค์กรปัจจุบันคลาส A และคลาส B ถูกนามาใช้จนเต็ม
แล้ว เหลือแต่ คลาส C ที่ยังมีการใช้งานอยู่ คลาส D ถูกสงวนไว้สาหรับเป็นมัลติคลาสต์
แอดเดรส และคลาส E ถูกสงวนไว้ใช้งานในอนาคต
20
Network Class Range
Class A 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255
Class B 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255
Class C 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255
Class D 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255
Class E 240.0.0.0 ถึง 247.255.255.255
จานวนโฮสต์ในแต่ละเครือข่าย = 2HostID-2จานวนเครือข่าย = 2NetID
21
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Class A
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Class A
คลาส A จะมีส่วนของหมายเลขเครือข่าย (NetID) ขนาด 7 บิต
- บิตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 0 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส A
- จานวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ 126 (27-2) เครือข่าย
- ออคเทตแรกที่มีค่าเป็น 0 (00000000) และ 127 (01111111) จะถูกสงวนไว้
- แต่ละเครือข่ายสามารถมีจานวนโฮสต์ได้ถึง (224-2) โฮสต์
- สามารถนาไปใช้งานกับองค์กรหรือหน่วยงานที่มีขนาดใหญ่ ที่จาเป็นต้องมี
โฮสต์จานวนมาก
22
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Ex. จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ 0 1 0 1 1 1 0 1 เป็นเลขฐานสิบ
23
27 26 25 24 23 22 21 20
128 64 32 16 8 4 2 1
0 1 0 1 1 1 0 1
จากโจทย์จะได้
64 + 16 + 8 +4 +1
= 93
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Class B
คลาส B จะมีส่วนของหมายเลขเครือข่าย (NetID) ขนาด 14 บิต
- 2 บิตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 10 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส B
- จานวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ (214-2) เครือข่าย
- ออคเทตแรกที่มีค่าเป็น 128 (10000000) และ 191 (10111111) จะถูกสงวนไว้
- แต่ละเครือข่ายสามารถมีจานวนโฮสต์ได้ถึง (216-2) โฮสต์
- เหมาะสมกับการนาไปใช้งานกับองค์กรขนาดกลาง เช่น สถาบันการศึกษา
หน่วยงานของรัฐ หรือเอกชน
24
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Ex. จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ 1 0 1 1 1 1 1 1 เป็นเลขฐานสิบ
25
27 26 25 24 23 22 21 20
128 64 32 16 8 4 2 1
1 0 1 1 1 1 1 1
จากโจทย์จะได้
128 + 32 + 16 + 8 +
4 + 2 + 1 = 191
26
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Class C
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Class C
คลาส C จะมีส่วนของหมายเลขเครือข่าย (NetID) ขนาด 21 บิต
- 3 บิตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 110 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส C
- จานวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ (221-2) เครือข่าย
- ออคเทตแรกที่มีค่าเป็น 192 (11000000) และ 223 (11011111) จะถูกสงวนไว้
- แต่ละเครือข่ายสามารถมีจานวนโฮสต์ได้ 254 (28-2) โฮสต์
- เหมาะสมกับการนาไปใช้งานกับองค์กรขนาดเล็ก
27
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Ex. จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ 1 1 1 1 1 1 1 0 เป็นเลขฐานสิบ
28
27 26 25 24 23 22 21 20
128 64 32 16 8 4 2 1
1 1 1 1 1 1 1 0
จากโจทย์จะได้
128 + 64 +32 + 16 +
8 + 4 + 2 = 254
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Class D
คลาส D จะไม่มีการกาหนดหมายเลขเครือข่าย และถูกสงวนไว้สาหรับเป็นมัลติคาสต์
- 4 บิตในออคเทตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 1110 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส D
- แอดเดรสเริ่มต้น คือ 224 (11100000) และแอดเดรสสุดท้าย คือ 239 (11101111)
29
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
Class E
คลาส E จะไม่ถูกนามาใช้ โดยจะถูกสงวนไว้ใช้งานในอนาคต
- 4 บิตในออคเทตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 1111 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส E
- แอดเดรสเริ่มต้น คือ 240 (11110000) และแอดเดรสสุดท้าย คือ 255 (11111111)
30
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
31
Network Class Range
Class A 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255
Class B 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255
Class C 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255
Class D 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255
Class E 240.0.0.0 ถึง 255.255.255.255
Class เลขนาหน้า จานวนเครือข่าย จานวนโฮสต์สูงสุด ต่อหนึ่งเครือข่าย
Class A 0 - 127 126 Address (7Bits) 16,777,214 Address (24Bits)
Class B 128 - 191 16,382 Address (14Bits) 65,534 Address (16Bits)
Class C 192 - 223 2,097,152 Address (14Bits) 254 Address (8Bits)
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส
(Classful Addressing)
เนื่องจากไอพีแอดเดรสถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนประกอบกัน คือ หมายเลขเครือข่าย และ
หมายเลขโฮสต์ ทาให้ง่ายต่อการออกแบบระบบ โดยในการส่งแพ็กเก็ตข้อมูลบนเครือข่าย
เร้าเตอร์จะพิจารณาเลือกเส้นทางเฉพาะส่วนของหมายเลขเครือข่ายเท่านั้น โดยโฮสต์หรือ
อุปกรณ์ที่มีหมายเลขเครือข่ายชุดเดียวกันจะอยู่บนเครือข่ายเดียวกันหรือเรียกว่าอยู่บน
เน็ตเวิร์กเดียวกัน
32
การแบ่งเครือข่ายย่อย (Subnetting)
การทา Subnet คือการแบ่งเน็ตเวิร์กย่อยภายในเน็ตเวิร์กหลักเพื่อให้แต่ละเน็ตเวิร์กมี
ขนาดที่เหมาะสมกับปริมาณโฮสต์ที่มีอยู่ โดยใช้หลักการเดียวกับการนา IP Address มาแยก
เป็น Host id และ Network id
ข้อดีของการทา Subnet
1. ใช้เครือข่ายได้เต็มประสิทธิภาพ
2. สามารถกาหนดหรือแจกจ่ายหมายเลข IP ได้ตามที่ต้องการ
33
http://www.infocellar.com/networks/ip/subnets.htm
34
การแบ่งเครือข่ายย่อย (Subnetting)
ซับเน็ตมาสก์ (Subnet Mask)
การทาซับเน็ตมาสก์จะดาเนินการควบคู่ไปกับการทาซับเน็ต โดยซับเน็ตมาสก์เป็น
กระบวนการที่บอกให้รู้ว่า เครือข่ายที่ใช้งานอยู่นั้นมีการแบ่งเป็นซับเน็ต มีบิตที่ยืมไปเพื่อ
ดาเนินการแบ่งซับเน็ตจานวนกี่บิต และใช้ตาแหน่งใดเพื่อระบุเป็นหมายเลขเครือข่ายย่อย
ปกติค่าของซับเน็ตจะมีการระบุไว้แล้ว เรียกว่า ค่าดีฟอลต์ (Default) หากไม่มีการทาซับเน็ต
ค่าของซับเน็ตมาสก์จะเป็นค่าดีฟอลต์ ดังนี้
35
Class Subnet Mask (Binary) Dotted-Decimal CIDR
A 11111111 00000000 00000000 00000000 255.0.0.0 /8
B 11111111 11111111 00000000 00000000 255.255.0.0 /16
C 11111111 11111111 11111111 00000000 255.255.255.0 /24
Default subnet mask แบบ Classful
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบไม่ใช้คลาส
(Classless Addressing)
ในปัจจุบันมีการใช้งานอินเตอร์เน็ตสูงขึ้นและการใช้แอดเดรสแบบ Classful Addressing
มีข้อจากัดอยู่มาก และก่อให้เกิดการใช้งานไอพีแอดเดรสอย่างไม่มีประสิทธิภาพ คือทาให้
สูญเสียไอพีแอดเดรสไปจานวนมาก
จึงได้มีแนวทางในการจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบ
Classless Addressing ด้วยการมุ่งเน้นจานวนโฮสต์ที่ต้องการใช้งานจริงเป็นสาคัญ โดยไม่มี
การแบ่งแอดเดรสออกเป็นคลาส คือ การจัดสรรจานวนไอพีแอดเดรสให้เหมาะสมกับจานวนที่
นาไปใช้งานจริง
36
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบไม่ใช้คลาส
(Classless Addressing)
CIDR Notation (Classless Inter-Domain Routing)
CIDR อ่านว่า ไซเดอร์ (CI-DER) เป็นการแทนค่าในรูปแบบใหม่ที่ใช้สาหรับการมาสกิ้ง
ด้วยการเพิ่มสัญลักษณ์ “ / (Slash) “ แล้วตามด้วยขนาดของมาสก์ เช่น ไอพีแอดเดรส
128.10.0.0 (Class B) ประกอบด้วย NetID ในส่วนของ 16 บิตแรก และ HostID ใน 16 บิต
หลัง ดังนั้นการแทนแอดเดรส ในรูปแบบของ CIDR สามารถเขียนได้ดังนี้128.10.0.0/16 ซึ่งจะ
ทาให้เราสามารถทราบว่ามาสก์ของแอดเดรสนี้คืออะไร
37
CIDR 128.10.0.0/16128.10.0.0 + NetID
ตัวอย่าง ที่1
Ex1. จากหมายเลข IP 192.168.100.0/27 จงหา
1. จานวน Subnet
2. หาหมายเลข Subnet mask
3. จานวน Host/Subnet
วิธีคิด
จากโจทย์ IP 192.168.100.0/27
/27 แปลงเป็นเลขฐาน 2
11111111.11111111.11111111.111/00000
จากสูตรหาจานวน Subnet = 2n
แทนค่าจากสูตร
จะได้ จานวน Subnet = 23 = 8 subnet
ตัวอย่าง ที่1
โดยที่ n คือ bit ที่ยืม (bit 1)
ถูกยืมมา 3 bit
จากโจทย์ IP 192.168.100.0/27
/27 แปลงเป็นเลขฐาน 2
11111111.11111111.11111111.111/00000
Subnet mask
ถ้าดูจากตารางคานวณ
จะได้
255.255.255.224
ตัวอย่าง ที่1
วิธีคิด
จากโจทย์ IP 192.168.100.0/27
/27 แปลงเป็นเลขฐาน 2
11111111.11111111.11111111.111/00000
จากสูตรจานวน host/subnet = 2n-2
แทนค่าจากสูตร
จะได้ จานวน Host/Subnet = 25-2= 30 host/subnet
ตัวอย่าง ที่1
โดยที่ n คือ bit ที่เหลือ (bit 0)
บิตที่เหลือ 5 bit
ตัวอย่าง ที่1
หมายเลข Subnet ที่ถูกต้องเป็นหมายเลขอะไรบ้าง ??
Subnet Zero คือ 192.168.100.0 - 192.168.100.31
Subnet แรก คือ 192.168.100.32 - 192.168.100.63
Subnet สอง คือ 192.168.100.64 - 192.168.100.95
Subnet สาม คือ 192.168.100.96 - 192.168.100.127
Subnet สี่ คือ 192.168.100.128 - 192.168.100.159
Subnet ห้า คือ 192.168.100.160 - 192.168.100.191
Subnet หก คือ 192.168.100.192 - 192.168.100.223
Subnet เจ็ด คือ 192.168.100.224 - 192.168.100.255
จาก IP 192.168.100.68/27 นาไป set ให้ host ได้หรือไม่
และ IP 192.168.100.32/27 นาไป set ให้ host ได้หรือไม่
ตัวอย่าง ที่1
หมายเหตุ
- สูตรทั่วไปในการหาจานวน subnet ที่จะเกิดขึ้นคือ 2n โดยที่ค่า n นั้น ก็คือจานวน host bit
ที่ถูกยืมมาเป็น subnet bit ที่เราหาได้มาจาก การเทียบ subnet mask
แต่ถ้าใช้สอบวิชา network พื้นฐาน , สอบ ccna หรือ ใช้งาน กับ product ที่ไม่ใช่ของ cisco
สูตรที่ใช้ในการหา subnet ก็คือ 2n-2
ที่ต้องหักออกไป 2 เพราะว่า จะต้องตัด subnet แรก กับ subnet สุดท้ายออกไป เพราะติดเรื่อง
zero subnet และ all 1s subnet
- แต่ถ้าใช้สอบ certify ตั้งแต่ CCNP ขึ้นไป หรือ ใช้งาน กับ product ของ cisco ซึ่งใช้ ios
ล่าสุดสูตรที่ใช้ในการหา subnet ก็คือ 2n เหมือนกับอันแรกเลย
ที่ไม่ต้องมีการตัด subnet แรก และ subnet สุดท้ายออกไป ก็เพราะว่า ปัจจุบัน ios ของ cisco
ที่ใช้อยู่ในอุปกรณ์ ตั้งแต่เวอร์ชั่น 12.0 ขึ้นไป มีคาสั่ง ip subnet zero ซึ่งจะทาให้ใช้งาน ip ที่
อยู่ใน subnet แรกได้และ พวก ip ที่อยู่ใน subnet สุดท้ายนั้น ด้วย rfc ใหม่ๆ ก็กาหนดให้
สามารถใช้งานได้เช่นกัน
ตัวอย่าง ที่2
Ex2. IP 10.10.10.0/13 เป็น IP ที่นาไป set ให้ host ได้หรือไม่
วิธีคิด
จากโจทย์ /13 แปลงเป็นเลขฐาน 2
11111111.11111/000. 00000000.00000000
จากสูตรจานวน Subnet = 2n
แทนค่าจากสูตร
จะได้ จานวน Subnet = 25 = 32 Subnet
แทนค่าจากสูตร
จะได้ จานวน Host/Subnet = 219-2= 524,286 Host/Subnet
สูตรหา Host/Subnet = 2n-2
โดยที่ n คือ bit ที่ยืม (bit 1)
โดยที่ n คือ bit ที่เหลือ (bit 0)
จากโจทย์ IP 10.10.10.0/13
/13 แปลงเป็นเลขฐาน 2
11111111.11111/000. 00000000.00000000
Subnet mask
ถ้าดูจากตารางคานวณ
จะได้
255.248.0.0
ตัวอย่าง ที่2
จากโจทย์ IP 10.10.10.0/13
นามาเขียนเป็นหมายเลข IP Address ได้ดังนี้
10.0.0.0 – 10.7.255.255
10.8.0.0 – 10.15.255.255 10.10.10.0 อยู่ในช่วงนี้
IP ที่ใช้งานได้คือ 10.8.0.1 – 10.15.255.254
IP 10.10.10.0/13 นาไป set ให้host ได้หรือไม่
ตอบ ได้
IP Calculator โปรแกรมช่วยคานวณ IP Address
ตัวอย่าง ที่2
จากรูปถ้ากาหนด IP มาให้ เป็น 192.168.55.0 /24 ให้ทาการแบ่ง จานวน host ให้
เหมาะสมกับแต่ละ Subnet จะได้ดังนี้
ตัวอย่างที่ 3
ตัวอย่างที่ 3
วงที่ 1 ต้องการ 7 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ /28 จะมีจานวน host 14 ตัว
เพียงพอกับความต้องการ ( ใช้ /29 ไม่ได้เนื่องจากจะได้จานวน hosts เพียง 6 ตัวเท่านั้น
ซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการ ) ถ้าเราใช้IP ของ subnet แรกของ /28 IP ที่ใช้งานไปคือ
192.168.55.0 - 192.168.55.15 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ
IP 192.168.55.16 – 192.168.55.255
ตัวอย่างที่ 3
วงที่ 2 ต้องการ 2 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ ??
/30 จะมีจานวน hosts 2 ตัวพอดี ในการเลือกใช้ IP ต้องเลือก subnets ที่IP ไม่ซ้ากับที่
แบ่งให้วงที่1 เช่น เลือกใช้ subnet ที่มี IP ตั้งแต่ 192.168.55.16 - 192.168.55.19
ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ
192.168.55.20 – 192.168.55.255
ตัวอย่าง ที่4
วงที่ 3 ต้องการ 90 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ ??
/25 จะมีจานวน hosts 126 ตัว /25 จะมีเพียง 2 subnets ในการเลือกใช้ IP ต้องเลือก
subnets ที่IP ไม่ซ้ากับที่แบ่งให้วงที่2 คือ IP ตั้งแต่ 192.168.55.20 - 192.168.55.147
ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ
192.168.55.148 – 192.168.55.255
ตัวอย่าง ที่4
วงที่ 4 ต้องการ 2 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ ??
/30 จะมีจานวน hosts 2 ตัวพอดี ในการเลือกใช้ IP ต้องเลือก subnets ที่IP ไม่ซ้ากับที่
แบ่งให้วงที่3 คือ IP ตั้งแต่ 192.168.55.148 - 192.168.55.151
ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ
192.168.55.152 – 192.168.55.255
ตัวอย่าง ที่4
วงที่ 5 ต้องการ 23 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ ??
/27 จะมีจานวน hosts 32 ตัว ในการเลือกใช้ IP ต้องเลือก subnets ที่IP ไม่ซ้ากับที่แบ่ง
ให้วงที่4 คือ IP ตั้งแต่ 192.168.55.152 - 192.168.55.183
ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ
192.168.55.184 – 192.168.55.255
การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต จะใช้ประโยชน์จากซับเน็ตมาสก์และไอพี
แอดเดรส โดยความยากง่ายในการคานวณจะขึ้นอยู่กับค่าซับเน็ตมาสก์ว่าเป็นค่าดีฟอลต์ หรือ
เป็นค่าที่กาหนดเอง (Custom Subnet Mask)
1. การมาสก์แบบ Boundary-Level เป็นวิธีการตั้งค่าซับเน็ตมาสก์ตามค่าดีฟอลต์ของแต่ละ
คลาส จะทาด้วยการกาหนดบิตเป็น 1 หรือ 0 ทั้งหมดในแต่ละออคเทต ดังนั้นค่าที่เป็นไปได้
ตรงกับเลขฐานสิบ คือ 0 หรือ 255 เท่านั้น
54
การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต
2. การมาสก์แบบ Nonboundary-Level เป็นกรณีที่การมาสก์ไม่ได้กาหนดเป็น 255 หรือ 0
ซึ่งเป็นการกาหนดซับเน็ตมาสก์แบบ Custom วิธีนี้เป็นตัวกาหนดจานวนซับเน็ต และจานวน
โฮสต์เองตามความเหมาะสม ดังนั้นในการหาแอดเดรสซับเน็ตจะมีความแตกต่างจากวิธีแรก
ด้วยการนาตาแหน่งออคเทตของมาสก์ที่มีค่านอกเหนือจากไปเทียบบิตต่อบิตกับไอพีแอดเดรส
ด้วยโอเปอร์เรชั่น AND ซับเน็ต
55
การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต
0 AND 0 = 0
0 AND 1 = 0
1 AND 0 = 0
1 AND 1 = 1
Ex.
123 =
192 =
64 =
ดังนั้น IP Address 45.123.21.8 ที่มีค่า mask เป็น 255.192.0.0 จะมี Address Subnet คือ
45.64.0.0
56
การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต
Octed 1 Octed 2 Octed 3 Octed 4
IP Address 45 . 123 . 21 . 8
Mask 255 . 192 . 0 . 0
Subnetwork Address 45 . 64 . 0 . 0
0 1 1 1 1 0 1 1
1 1 0 0 0 0 0 0
AND
0 1 0 0 0 0 0 0
ตารางช่วยคานวณ
1 1 1 1 1 1 1 1
27 26 25 24 23 22 21 20
128 64 32 16 8 4 2 1
57
123 แปลงเป็นเลขฐาน 2
0 + 64 + 32 + 16 + 8 + 0 + 2 + 1
= 123 ( 0 1 1 1 1 0 1 1 )2
1 100 1111
การคานวณ IP Address
เมื่อเราได้หมายเลข IP Address มา 1 ชุด สิ่งที่จะบอกได้จาก
IP Address ที่ได้มาคือ
• Subnet Mask คือ อะไร
• Network IP คือ อะไร
• Broadcast IP คือ อะไร
• Range host IP ที่สามารถนามาใช้งานได้ มี IP อะไรบ้าง
• จานวน Subnet , จานวน hosts / Subnet
58
Subnet Mask คืออะไร
เป็น Parameter ที่ระบุควบคู่กับหมายเลข IP Address หน้าที่ของ Subnet Mask คือช่วยใน
แยกว่าส่วนใดภายในหมายเลข IP Address เป็น Network Address และส่วนใดเป็นหมาย
เลข Host Address
Network Class Subnet Mask
Class A 255.0.0.0
Class B 255.255.0.0
Class C 255.255.255.0
59
วิธีการหา Subnet Mask
/30 หมายถึง mask 30 bits แรก
/27 หมายถึง mask 27 bits แรก
ให้ทาการแปลง mask bit ที่กาหนดให้ เป็นค่า Subnet Mask
วิธีการก็คือ bits ที่อยู่หน้าตัว mask ให้แทนด้วยเลข 1 bits ที่อยู่หลังให้แทนด้วยเลข 0
60
วิธีการหา Subnet Mask
Ex. /30
/30 แปลงเป็นเลขฐาน 2 ได้ดังนี้
11111111.11111111.11111111.111111/00
255 . 255 . 255 . 252
111111/00 แปลงเป็นเลขฐาน 10 ได้ดังนี้
(1 x 27) + (1 x 26) + (1 x 25) + (1 x 24) + (1 x 23) + (1 x 22) + (0 x 21) + (0 x 20)
จะได้ค่าคือ 252
61
วิธีการหา Subnet Mask
จากโจทย์ คาตอบที่ได้คือ /30 255.255.255.252
แต่ถ้ามีตารางช่วย เราจะสามารถคานวณหรือหา IP ได้เร็วขึ้น
62
วิธีการหา Subnet Mask
Ex. /27
/27 แปลงเป็นเลขฐาน 2
11111111.11111111.11111111.111/00000
จากโจทย์ คาตอบที่ได้คือ /27 255.255.255.224
63
วิธีการหา Subnet Mask
Ex. /20
/20 แปลงเป็นเลขฐาน 2
11111111.11111111.1111/0000.00000000
จากโจทย์ คาตอบที่ได้คือ /20 255.255.240.0
64
วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP
Network IP คืออะไร
คือ IP ตัวแรกของ Subnet ปกติจะนาไปใช้ประกาศเรื่องของ
Router จะไม่สามารถ set ให้กับอุปกรณ์หรือเครื่อง PC ได้
Broadcast IP คืออะไร
คือ IP ตัวสุดท้ายของ Subnet ปกติจะทาหน้าที่ Broadcast
ให้อุปกรณ์ที่อยู่ในวงเดียวกัน จะไม่สามารถ set ให้กับอุปกรณ์หรือเครื่อง PC ได้
65
Ex.1 192.168.22.50/30
จากโจทย์ /30 เมื่อแปลงเป็น Subnet Mask จะได้ 255.255.255.252
ขั้นต่อไปหาว่าจานวน IP ต่อ Subnet
จากสูตร หาจานวน IP ต่อ Subnet
2n โดย n คือ bit ที่เหลือ (bit 0)
จาก 11111111.11111111.11111111.111111/00
นาค่าแทนในสูตรก็จะได้ 22 = 4
สรุปคือ จานวน Host ต่อ Subnet คือ 4 ตัว
วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP
66
วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP
เทคนิค
จาก 11111111.11111111.11111111.111111/00
เทียบตารางจะได้ 22
ดังนั้น /30 จานวน Host ในแต่ละ Subnet ที่เป็นไปได้คือ
0-3 , 4-7,….,252-255
67
นามาเขียนเป็นหมายเลข IP Address ได้ดังนี้
192.168.22.0 – 192.168.22.3
192.168.22.4 – 192.168.22.7
192.168.22.8 – 192.168.22.11
----------------------------------------
192.168.22.48 – 192.168.22.51 192.168.22.50
----------------------------------------
192.168.22.252 – 192.168.22.255
วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP
68
จากโจทย์ 192.168.22.50/30
ตอบ
1. Network IP คือ 192.168.22.48
2. Broadcast IP คือ 192.168.22.51
3. Range hosts IP ที่สามารถนาไปใช้งานได้ หรือจานวน hosts Per Subnet คือ
192.168.22.49 – 192.168.22.50
นามา set เป็น host ได้ 2 IP
วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP
69
เทคนิคการหา IP ตัวแรกของ Subnet หรือ Network IP จากโจทย์ 192.168.22.50/30
192.168.22.48 – 192.168.22.51
วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP
วิธีการหา Network IP นอกเหนือจากการเขียนตามด้านบนแล้วยังหาได้โดยวิธีการ
ปกติทาได้โดยการนาเอา Subnet Mask มา AND กับ IP Address ที่ให้มา หรือ
หมายถึง Address Subnet นั่นเอง
70
วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP
Ex.2 192.168.5.33/27 IP Address ใดบ้างที่สามารถนามาใช้งานได้
ก.192.168.5.5
ข.192.168.5.32
ค.192.168.5.40
ง.192.168.5.63
จ.192.168.5.75
71
จากโจทย์ 192 .168.5.33/27 Subnet Mask จะได้ 255.255.255.224
เมื่อดูจากตาราง IP ต่อ Subnet ก็จะเป็น 32
ใช้วิธีลัดหา IP ตัวแรกก็จะได้ Network IP คือ 192 .168.5.32
และ Broadcast IP คือ 192 .168.5.63
คาตอบจึงเป็นข้อ ค. 192.168.5.40
วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP
72
การหาจานวน host ต่อ Subnet จากค่า Subnet Mask ที่ให้มา จะใช้สูตร 2n -2
โดย n คือ bits ที่อยู่หลังตัว Mask ส่วนเลข 2 ที่ลบออกไปคือ Network IP และ Broadcast IP
EX.3 /30 11111111.11111111.11111111.111111/00
หรือ 255.255.255.252
จานวน hosts/Subnet = 2n -2 = 22 -2 = 4-2 = 2
วิธีการหา Host ต่อ Subnet
จานวนโฮสต์ต่อซับเน็ต = 2n-2
73
การหาจานวน Subnet จากค่า Subnet Mask ในปัจจุบัน ทุก subnet สามารถใช้ได้ทั้งหมด
เนื่องจากเทคโนโลยีที่ใช้มีการเพิ่ม IP Subnet Zero ไว้อยู่แล้ว โดยใช้สูตร 2n โดย n คือ bits
ที่อยู่หน้าตัว Mask ถึงตาแหน่ง . (dot) ที่ใกล้ที่สุดหรือตาแหน่งที่ระบุไว้
EX.4 /30 11111111.11111111.11111111.111111/00
หรือ 255.255.255.252
จานวน Subnet = 2n = 26 = 64
วิธีการหาจานวน Subnet
จานวน Subnet = 2n
74
Ex 1. บริษัทแห่งหนึ่ง ได้รับหมายเลขไอพีแอดเดรสเบอร์ 192.10.10.0 ซึ่งเป็นไอพีแอดเดรสคลาส C
โดยมีแผนงานคือ ต้องการนาหมายเลขไอพีนี้มาจัดสรรด้วยการแบ่งเป็น 14 เครือข่ายย่อย เพื่อกระจาย
ไปยังแผนกต่างๆ และแต่ละเครือข่ายย่อยสามารถเชื่อมต่อจานวนโฮสต์สูงสุดได้ 10 โฮสต์
75
แนวทางในการจัดสรรไอพีแอดเดรสตามหลัก CIDR
Number of needed usable subnets = 14
Number of needed usable hosts = 10
Network Address = 192.10.10.0
Address Class = Class C
Default subnet mask = 255.255.255.0
Custom subnet mask = 255.255.255.240
Total number of subnets = 24 = 16
Number of usable subnets = 24 - 2 = 14
Total number of host address = 24 = 16
Number of usable host address = 24 - 2 = 14
Number of bit borrowed = 4
Private IP Address คือหมายเลขไอพีเครื่อง แต่ละเครื่อง ในองค์กร หน่วยงาน โดย
กาหนด ขึ้นมาเองเพื่อใช้ในองค์กรนั้นๆ เพื่อการสื่อสารภายใน ระบบเครือข่ายแลน หรือ
อินทราเน็ตภายในเท่านั้นโดยสามารถกาหนดได้ 2 รูปแบบ คือ
1. กาหนดแบบ Dynamic วิธีนี้คอมพิวเตอร์ หรือ DHCP Server จะทาหน้าทีกาหนดหมายเลข IP และจ่าย
เลข IP ให้กับระบบคอมพิวเตอร์ในกรุ๊ปนั้นหรือเรียกการจ่ายไอพีแบบนี้ว่า (Automatic Private IP Address)
2. กาหนดแบบ Static เป็นวิธีการกาหนดไอพีแอดแดรสแบบคงที่ โดยผู้ติดตั้งระบบ ทาหน้าที่กาหนด
หมายเลข IP Address ให้แต่ละเครื่อง โดยห้ามกาหนด IP ซ้ากัน
( แต่เมื่อมีการติดต่อกับเครือข่าย Internet ก็จะได้รับหมายเลข ไอพี แอดเดรส "Public IP Address“ จากผู้
ให้บริการอินเตอร์เน็ตจะจ่ายหมายเลข IP Address สาหรับใช้ชั่วคราว 1 IP หมายเลขที่ใช้ได้จริง
บนอินเตอร์เน็ตซึ่งก็คือหมายเลขไอพีทีแสดงการ เช็คไอพี Check IP นั้นเอง )
76
เครือข่ายไอพีภายใน (Private IP Network)
Public IP Address หมายเลข IP Address "Public IP" ของแต่ละเครื่องบนเครือขายInternet
จะไม่ซ้ากันโดยในการเชื่อมต่อ Internet ไปยังผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตจะจ่ายหมายเลข IP
Address มาใช้ชั่วคราว 1 IP ซึ่งเป็น หมายเลข IP ที่ใช้จริงบนอินเตอร์เน็ตโดย เรียก หมายเลข
IP นี้ว่า "Public IP Address" หมายเลข IP นี้จะเปลี่ยนไปทุกครั้งทีมีการเชื่อมต่อใหม่ โดย
หมายเลข IP Address นี้เป็นหมายเลขที่จะบอกความเป็นตัวตนของเครื่องนั้น ในการสื่อสารกัน
ในระบบ Internetโดยหมายเลข IP Address "Public IP" นี้เครื่อง Serverผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
จะเป็นผู้กาหนด จ่ายหมายเลข IP นี้มา
สามารถเช็ค Public IP ได้ที่ :: http://whatismyipaddress.com/ หรือ http://www.ip-th.com/
77
เครือข่ายไอพีภายนอก (Public IP Network)
นอกจากนี้ยังมี loopback address ซึ่งเป็นหมายเลขไอพีพิเศษ สาหรับทดสอบหรือหา
ข้อผิดพลาด โดยแพ็กเก็ตที่ส่งด้วย loopback address จะไม่มีการข้ามเครือข่าย
แต่จะย้อนกลับมายังเครื่องที่ส่งเองสาหรับ loop back ที่นิยมใช้ คือ หมายเลข 127.0.0.1
78
เครือข่ายไอพีภายใน (Private IP Network)
เป็นวิธีการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนหมายเลขไอพีแอดเดรส โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทา
การมัลติเพล็กซ์จราจรจากเครือข่ายภายใน ให้สามารถออกไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
หลักการทางานของ NAT คือ จะทาการแปลงหมายเลขไพรเวตไอพีมาเป็นไอพีแอดเดรส
จริง เพื่อให้เครือข่ายภายในสามารถติดต่อกับอินเทอร์เน็ตได้
NAT มีหลายประเภท และมีลักษณะการทางานที่แตกต่างกัน ดังนี้
79
Network Address Translation (NAT)
NATPrivate IP Public IP
1. NAT แบบสแตติก (Static NAT)
หลักการของ NAT แบบสเตติก คือ จะจับคู่ระหว่าง Private IP กับ Public IP แบบ
หนึ่งต่อหนึ่ง (one-to-one) เช่น คอมพิวเตอร์ IP เบอร์ 192.168.32.10 เมื่อเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตผ่าน NAT จะได้ Public IP หมายเลข 213.18.123.110 เสมอซึ่งจะเห็นว่า
NAT แบบสเตติกไม่ได้ช่วยประหยัดหมายเลขไอพีจริงแต่อย่างใดการจับคู่แบบตายตัวระหว่าง
Private IP กับ Public IP จะทาให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงเครือข่ายเพื่อเข้าถึงการ
ใช้งานภายเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายได้
80
Network Address Translation (NAT)
PrivateNetwork
PublicNetwork
Router/NAT
2. NAT แบบไดนามิก (Dynamic NAT)
หลักการของ NAT แบบไดนามิก จะต่างจากแบบสเตติกตรงที่ การแปลง Private IP มา
เป็น Public IP ที่จดทะเบียน จะจับคู่แบบไดนามิกด้วยการหมุนเวียนชนิดไม่ตายตัว โดยจะได้
Private IP ช่วงแบบไม่ซ้ากัน
Ex. คอมพิวเตอร์ที่ใช้ไอพีแอดเดรส 192.168.32.10
เมื่อมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน NAT เบอร์ไอพีที่ได้สามารถมีค่าภายในช่วง
213.18.123.100 ถึง 213.18.123.150 ซึ่งไอพีแอดเดรสที่ได้แต่ละครั้ง อาจเป็นเบอร์ใดเบอร์
หนึ่งที่อยู่ในช่วงการ NAT แบบไดนามิก เป็นความปลอดภัยแนวทางหนึ่งในการปิดบังโฮสต์
ภายในเครือข่าย เพื่อป้ องกันบุคคลภายนอกเข้ามาตรวจสอบค้นหาร่องรอยจากโฮสต์ภายในได้
แต่การ NAT แบบไดนามิกก็ยังไม่ช่วยประหยัดหมายเลขไอพี
81
Network Address Translation (NAT)
Dynamic NAT
82
Network Address Translation (NAT)
PrivateNetwork
PublicNetwork
Router/NAT
3. NAT แบบโอเวอร์โหลดดิ้ง (Overloading NAT)
หลักการของ NAT แบบโอเวอร์โหลดดิ้ง คือ เมื่อคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายภายในต้องการ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จะถูกแปลงมาเป็น Public IP เพียงหมายเลขเดียว แต่จะมีหมายเลขพอร์ต
ที่แตกต่างกัน ดังนั้น ด้วยหลักการนี้ ทาให้สามารถประหยัดหมายเลขไอพีได้มาก
เนื่องจากเครือข่ายภายในทั้งหมด จะใช้หมายเลขไอพีจริงเพียงหมายเลขเดียวเท่านั้นใน
การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
Ex. คอมพิวเตอร์ที่ใช้ไอพีแอดเดรส 192.168.32.10 เมื่อมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน NAT
เบอร์ไอพีที่ได้คือ 213.18.123.100:101
ส่วนคอมพิวเตอร์ไอพีแอดเดรส 192.168.32.11 เมื่อเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน NAT เบอร์ไอพีที่
ได้ คือ 213.18.123.100:102
83
Network Address Translation (NAT)
Overloading NAT
84
Network Address Translation (NAT)PrivateNetwork
PublicNetwork
Router/NAT
4. NAT แบบโอเวอร์แลปปิ้ง (Overlapping)
เทคนิคของ NAT แบบโอเวอร์แลปปิ้งจะถูกนามาใช้ในกรณีที่เครือข่ายภายในมีการนา Public IP
มาใช้ ซึ่งไอพีแอดเดรสนั้นเป็นของเครือข่ายอื่น หรือมีการเปลี่ยน ISP รายใหม่ทาให้ได้รับ
หมายเลข ไอพีที่จดทะเบียนใหม่แทนที่หมายเลขไอพีเดิม แต่ไม่ต้องการคอนฟิก
หมายเลขไอพีภายในเครือข่ายทั้งหมด และด้วยเทคนิคการ NAT แบบโอเวอร์แลปปิ้งก็จะแปลง
Public IP ที่เป็นหมายเลขเดิม มาเป็น Public IP ที่ได้จดทะเบียนไว้ เพื่อให้สามารถติดต่อกับ
อินเทอร์เน็ตได้
Ex. คอมพิวเตอร์มีหมายเลขภายใน 237.16.32.10 เมื่อมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน NAT
จะได้หมายเลข Public IP เป็น 213.18.123.103
85
Network Address Translation (NAT)
Overloading NAT
86
Network Address Translation (NAT)PrivateNetwork
PublicNetwork
Router/NAT
87
ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6)
IPv6 คืออะไร ?
หมายเลข IP address ที่เราใช้กันทุกวันนี้คือ Internet Protocol version 4 (IPv4) ซึ่ง
ใช้เป็นมาตรฐานในการส่งข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981 ทั้งนี้การขยายตัว
ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในช่วงที่ผ่านมามีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว นักวิจัยเริ่มพบว่า
จานวนหมายเลข IP address ของ IPv4 กาลังจะถูกใช้หมดไป ไม่เพียงพอกับการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตในอนาคต และหากเกิดขึ้นก็หมายความว่าเราจะไม่สามารถเชื่อมต่อเครื่อข่ายเข้ากับ
ระบบอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นคณะทางาน IETF (The Internet Engineering Task
Force) ซึ่งตระหนักถึงปัญหาสาคัญดังกล่าว จึงได้พัฒนาอินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นใหม่ขึ้น คือ
รุ่นที่หก (Internet Protocol version 6; IPv6)
เพื่อทดแทนอินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นเดิม
88
ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6)
วัตถุประสงค์ของ IPv6
เพื่อปรับปรุงโครงสร้างของตัวโพรโตคอล ให้รองรับหมายเลขแอดเดรส
จานวนมาก และปรับปรุงคุณลักษณะอื่นๆ อีกหลายประการ ทั้งในแง่ของประสิทธิภาพและ
ความปลอดภัยรองรับระบบแอพพลิเคชั่น (application) ใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการประมวลผลแพ็กเก็ต (packet) ให้ดีขึ้น ทาให้สามารถตอบสนองต่อการ
ขยายตัวและความต้องการใช้งานเทคโนโลยีบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในอนาคตได้เป็นอย่างดี
89
ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6)
ประวัติ IPv6
IPv6 ถูกเริ่มใช้มาเป็นเวลาหลายปีแล้ว เพียงแต่ไม่ได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย ในประเทศ
เกาหลี และญี่ปุ่น ได้มีการใช้ IPv6 ในเครือข่าย ISP หลายแห่ง ในประเทศไทยยังไม่มีการใช้
IPv6 ในเชิงพาณิชย์ มีแต่ในเครือข่ายทดสอบของหน่วยงานวิจัยและมหาวิทยาลัยต่างๆ”
ประโยชน์หลักของ IPv6 และเป็นเหตุผลสาคัญของการเริ่มใช้ IPv6 ได้แก่ จานวน IP address ที่
เพิ่มขึ้นอย่างมากมายมหาศาลเมื่อเปรียบเทียบกับจานวน IP address เดิมภายใต้ IPv4 IPv4
address มี 32 บิต ในขณะที่ IPv6 address มี 128 บิต ความแตกต่างของจานวน IP address
มีมากถึง 296 เท่า
เปรียบเทียบรูปแบบของ IPv6 และ IPv4 address
90
ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6)
การเขียนเลข IPv4 เช่น 192.168.1.1 มาจากเลขฐานสองจานวน 32 บิต ซึ่งเวลาอ้างถึง
IP address จะใช้วิธีเปลี่ยนเป็นเลขฐานสิบ โดยแบ่งเลขฐานสอง 32 บิต ออกเป็นช่วง ๆ ละ 8
บิต 4 ช่วง แล้วจึงแปลงเลขฐานสอง 8 บิต เป็นเลขฐานสิบ แต่ละช่วงคั่นด้วย “.”
การเขียนเลข IPv6 ประกอบด้วยเลขฐานสองจานวน 128 บิต โดยใช้เลขฐาน 16 แทน
ฐาน 10 เพราะ 4 บิตของเลขฐานสองแปลงเป็นเลขฐาน 16 ได้ 1 หลักพอดี ดังนั้นเลข IP ก็จะ
เป็นเลขฐาน 16 จานวน 32 หลัก และเพื่อให้สังเกตได้ง่ายจึงใช้ “:” คั่นแต่ละ 4 หลักของเลข
ฐาน 16
11000000 10101000 00000001 000000001 192.168.1.1
แสดงแอดเดรสของ IPv4
3ffe : ffff : 0100 : f101 : 0210 : 94ff : fee3 : 9566
แสดงแอดเดรสของ IPv6
91
ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบริการ IPv6 ของISP ต่างๆ ในประเทศไทย จะหา
ได้จากที่ไหน?
เวบไซต์เหล่านี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความก้าวหน้าและบริการด้าน IPv6 ของ ISP แต่ละแห่งดังนี้
CAT : http://web.ipv6.cattelecom.com
InternetThailand : http://www.v6.inet.co.th
CS-Loxinfo : http://www.ipv6.loxinfo.net.th
TRUE (AsiaInfonet) : http://www.v6.trueinternet.co.th
NECTEC : http://www.ipv6.nectec.or.th
ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6)
92
อินเทอร์เน็ตโพรโตคอล IPv6 มีข้อดีที่เหนือกว่าอินเทอร์เน็ตโพรโตคอล IPv4 ดังนี้
 มีจานวนหมายเลขอ้างอิงบนเครือข่ายหรือไอพีแอดเดรสที่มากกว่า
 มีรูปแบบเฮดเดอร์ของตัวโพรโตคอลที่เรียบง่ายและยืดหยุ่นกว่าทาให้ประสิทธิภาพดีขึ้นใน
หลาย ๆ ด้าน
 สนับสนุนแนวคิดการค้นหาเส้นทางแบบลาดับชั้น ส่งผลให้ตารางการค้นหาเส้นทางใน
เครือข่ายแบ็กโบนมีขนาดเล็ก
 สนับสนุนการสร้างคุณภาพของบริการ (Quality of Service, QoS)
 สนับสนุนการติดตั้งปรับแต่งระบบแบบอัตโนมัติ (Serverless Autoconfiguration) การ
ปรับเปลี่ยนแอดเดรส (Renumbering) การเชื่อมต่อหลายผู้ให้บริการ (Multihoming) และ
Plug-and-Play
 สนับสนุนกลไกการรักษาความปลอดภัยบนพื้นฐานของ IPSec (IP Security)
 สนับสนุนการสื่อสารด้วยไอพีแบบเคลื่อนที่ (Mobile IP) มีการปรับปรุงความสามารถในการ
ติดต่อแบบมัลติคาสต์ (Multicast)
ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6)
สรุป
TCP/IP จะกาหนดที่อยู่ด้วยไอพีแอดเดรส โดยไอพีแอดเดรสคือชุดตัวเลขฐานสองขนาด 32
บิต (IPv4) ที่ใช้กาหนดที่อยู่ของโฮสต์ ซึ่งมีความสาคัญต่อกลไกในการสื่อสารจากโฮสต์หนึ่ง
ไปยังอีกโฮสต์หนึ่งในระบบสื่อสาร
ไอพีแอดเดรส จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ NetID และ HostID โดย NetID จะชี้
ระบุเครือข่ายที่คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ ในขณะที่ HostID จะชี้ระบุตาแหน่งของอุปกรณ์
ไอพีแอดเดรสเป็นเพียงลอจิคอลแอดเดรส ซึ่งไม่ใช่เป็นหมายเลขที่ใช้อ้างอิงโฮสต์หนึ่งโฮสต์ใด
จริงๆ แต่การอ้างอิงถึงตาแหน่งจริงๆ ของโฮสต์จะใช้หมายเลขแมคแอดเดรสบนการ์ดเครือข่าย
ซึ่งเป็นฟิสิคัลแอดเดรส
93
สรุป
เพื่อให้ไอพีแอดเดรสง่ายต่อการอ่านและจดจา จึงมีการแทนเครื่องหมายในรูปแบบของ
เลขฐานสิบและใช้จุดทศนิยมเป็นตัวคั่นระหว่างไบต์
รูปแบบของคลาสที่ใช้งานมีอยู่ 5 คลาสด้วยกันคือ คลาส A, B, C, D และ E
Class A สามารถมีจานวนเครือข่าย 126 เครือข่าย และมีจานวนโฮสต์เชื่อมต่อมากถึง
16,777,214 โฮสต์ โดย Class A มีจานวนเครือข่ายน้อย แต่มีโฮสต์เชื่อมต่าจานวนมาก
Class B สามารถมีจานวนเครือข่าย 16,382 เครือข่าย และมีจานวนโฮสต์เชื่อมต่อมากถึง
65,534 โฮสต์ โดย Class B มีจานวนเครือข่ายและมีโฮสต์เชื่อมต่อจานวนปานกลาง
Class C สามารถมีจานวนเครือข่าย 2,097,150 เครือข่าย และมีจานวนโฮสต์เชื่อมต่อ 254
โฮสต์ โดย Class C มีจานวนเครือข่ายมาก แต่มีโฮสต์เชื่อมต่อน้อย
94
สรุป
การทาซับเน็ต คือการแบ่งส่วนเครือข่ายออกเป็นเครือข่ายย่อยๆ ดังนั้นจึงต้องมีการแบ่งไอพี
แอดเดรสออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน คือ 1) NetID ใช้ระบุไซต์, 2) SubNetID ใช้ระบุฟิสิคัลซับ
เน็ตเวิร์ก 3) หมายเลขโฮสต์
ซับเน็ตมาสก์หรือมาสกิ้ง เป็นกระบวนการที่บอกให้รู้ว่าเครือข่ายของเราได้มีการแบ่งเป็น
ซับเน็ต มีบิตที่ใช้แบ่งซับเน็ตจานวนกี่บิต และใช้ตาแหน่งใดเพื่อระบุเป็นหมายเลขเครือข่ายย่อย
ค่าของซับเน็ตมาสก์ในแต่ละคลาส ปกติจะมีการระบุค่าใว้อยู่แล้ว ซึ่งเรียกว่าค่า Default
หลักการจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบ Classless จะไม่มีการแบ่งแอดเดรสออกเป็นคลาสเหมือน
แบบ Classful แต่จะมุ่งประเด็นไปที่การจัดสรรจานวนไอพีแอดเดรส ให้เหมาะสมกับจานวน
โฮสต์ที่ต้องการนาไปใช้งานจริงๆ เป็นหลัก เพื่อให้การจัดสรรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และยัง
คงเหลือหมายเลขไอพีสาหรับบริการแก่ลูกค้ารายอื่นๆ ได้ต่อไป
95
สรุป
CIDR (CI-DER) เป็นการแทนค่าที่ใช้สาหรับการทามาสกิ้ง ด้วยการเพิ่มสัญลักษณ์ / (Slash)
แล้วตามด้วยขนาดของมาสก์ เช่น 128.211.0.16/28
การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต จะใช้ประโยชน์จากซับเน็ตมาสก์และไอพีแอดเดรส ทั้งนี้
ความยากง่ายในการคานวณขึ้นอยู่กับค่าซับเน็ตมาสก์ว่าเป็นค่าดีฟอลต์ หรือเป็นค่าซับเน็ต
มาสก์ ที่กาหนดขึ้นเอง
การมาส์แบบ Nonboundary-Level เป็นการกาหนดค่าซับเน็ตมาสก์แบบ Custom วิธีนี้จะ
ใช้ค่าซับเน็ตมาสก์เป็นตัวกาหนดจานวนซับเน็ต และจานวนโฮสต์ขึ้นเองตามความเหมาะสม
ดังนั้นในการหาแอดเดรสซับเน็ตจึงมีขั้นตอนการหาที่ยุ่งยากกว่า ซึ่งจะใช้โอเปอเรชั่น AND
ในการเปรียบเทียบบิตต่อบิตระหว่างไอพีแอดเดรสและซับเน็ตมาสก์
96
สรุป
ไอพีแอดเดรสทั้งคลาส A, B และ C จะมีชุดแอดเดรสอยู่กลุ่มหนึ่งที่สงวนไว้ใช้งานบน
เครือข่ายภายในที่เรียกว่า Private IP โดยเครือข่ายที่ใช้งานหมายเลขเครือข่ายภายในเหล่านี้
จะไม่สามารถเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายภายนอกอย่างอินเทอร์เน็ตได้ ถึงแม้หลักการโดยทั่วไป
ของเครือข่าย Private IP คือการเชื่อมโยงเครือข่ายภายในที่ไม่สามารถเข้าถึงเครือข่ายภายนอก
อย่างอินเทอร์เน็ตได้ แต่ก็มีกระบวนการอินเตอร์เฟซที่เรียกว่า NAT (Network Address
Translation) ซึ่งจะแปลง Private IP มาเป็น Public IP (IP Address จริง) เพื่อให้เครือข่าย
ภายในสามารถติดต่อกับอินเทอร์เน็ตได้
NAT มีอยู่หลายประเภทด้วยกัน ซึ่งประกอบด้วย NAT แบบสเตติก ไดนามิก โอเวอร์โหลดดิ้ง
และโอเวอร์แลปปิ้ง โดย NAT แบบโอเวอร์โหลดดิ้งจะเป็นวิธีที่สามารถประหยัดหมายเลขไอพีได้
97
สรุป
หมายเลขไอพี 127.0.0.1 เป็น Loopback Address ที่นามาใช้สาหรับทดสอบหรือหาข้อผิด
พลาดโดยแพ็กเก็กที่ส่งด้วย Loopback Address นี้จะไม่มีการส่งข้ามไปยังเครือข่ายอื่นๆ แต่จะ
ย้อนกลับมายังตนเอง
โปรโตคอล ARP จะทาหน้าที่ในการแปลงไอพีแอดเดรสมาเป็นแมคแอดเดรส
โปรโตคอล RARP จะทาหน้าที่ในการแปลงแมคแอดเดรสบนการ์ดเครือข่ายมาเป็นไอพี
แอดเดรส
โปรโตคอล ICMP จะใช้สาหรับรายงานข้อผิดพลาดไปยังโฮสต์ฝ่ายส่ง เพื่อให้รับทราบถึง
ปัญหาที่เกิดขึ้น
โปรโตคอล IGMP จะสนับสนุนวิธีการส่งข้อมูลแบบมัลติคาสติ้ง ด้วยการส่งข้อมูลชุดเดียว
ไปยังกลุ่มผู้รับปลายทางที่เป็นกลุ่มสมาชิกเดียวกัน ทาให้ลดแบนด์วิดธ์บนเครือข่ายลงได้อย่าง
มากเนื่องจาก ส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายเพียงครั้งเดียว
98
สรุป
IPv4 ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบันใกล้จะเต็มหมดแล้ว ดังนั้นจึงต้องมีการวางแผนเพื่อนา IPv6 มา
ใช้งานในอนาคต ทั้งนี้IPv6 จะมีขนาดแอดเดรส 128 บิต ซึ่งมากกว่า IPv4 ถึง 4 เท่าตัว ทาให้
รองรับอัตราการใช้งานที่เติบโตอย่างต่อเนื่องในอนาคตได้
คุณลักษณะสาคัญของ IPv6 ที่แตกต่างไปจาก IPv4 คือ ขนาดของแอดเดรส รูปแบบของ
เฮดเดอร์ ส่วนขยายของเฮดเดอร์ การสนับสนุนข้อมูลออดิโอและวิดีโอ และส่วนขยายไปยังโปร-
โตคอล
โครงสร้าง IPv6 มีการแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ ด้วยกันคือ Base Header และ Payload
ทั้งนี้ในส่วนของ Payload ยังประกอบไปด้วยส่วนขยายของเฮดเดอร์ (ซึ่งอาจมีหรือไม่มีก็ได้)
และตามด้วยข้อมูล
99
สรุป
IPv6 จะรองรับแอดเดรส 3 ประเภทด้วยกันดังนี้คือ ยูนิคาสต์ มัลติคาสต์ และเอนนีคาสต์
เพื่อช่วยให้การอ้างอิงแอดเดรสของ IPv6 ง่ายขึ้น จึงมีการแทนค่าไอพีแอดเดรสของ IPv6 ในรูป
แบบของเลขฐานสิบหก โดยมีการแบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีขนาด 16 บิต และใช้เครื่อง
หมาย “:” (Colon) ในการแบ่งส่วนของแต่ละกลุ่ม
100
แบบฝึกหัดครั้งที่ 9
จากโจทย์
- 10.0.0.1/11
- 172.16.0.1/18
- 192.168.0.1/30
จงหา
1. จานวน Subnet
2. หาหมายเลข Subnet mask
3. จานวน Host/Subnet
101

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
kru_ann
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
Teetut Tresirichod
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
Coco Tan
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
ratchadaphun
 
แบบฟอร์มการเขียน Storyboard
แบบฟอร์มการเขียน Storyboardแบบฟอร์มการเขียน Storyboard
แบบฟอร์มการเขียน Storyboard
rungtip boontiengtam
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
KruPor Sirirat Namthai
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
พัน พัน
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
Apirak Potpipit
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องMind Candle Ka
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
อนุชิต ไชยชมพู
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
แบบฟอร์มการเขียน Storyboard
แบบฟอร์มการเขียน Storyboardแบบฟอร์มการเขียน Storyboard
แบบฟอร์มการเขียน Storyboard
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 

Similar to ไอพี และอินเตอร์เน็ต

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kalib Karn
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายssrithai
 
Tcp
TcpTcp
Chapter5.3
Chapter5.3Chapter5.3
Chapter5.3
Bobiizo EibaBo
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพnan1799
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
Tophit Sampootong
 
Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)strang
 
Ieee
IeeeIeee
Ieee
IeeeIeee

Similar to ไอพี และอินเตอร์เน็ต (20)

Week8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internetWeek8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internet
 
Home network
Home networkHome network
Home network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย
 
Mission3
Mission3Mission3
Mission3
 
Mission3
Mission3Mission3
Mission3
 
Tcp
TcpTcp
Tcp
 
IEEE
IEEEIEEE
IEEE
 
Ieee
IeeeIeee
Ieee
 
Chapter5.3
Chapter5.3Chapter5.3
Chapter5.3
 
งานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพงานกลุ่มอาจารนพ
งานกลุ่มอาจารนพ
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)Fast ethernet(word)
Fast ethernet(word)
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Chapter5 3
Chapter5 3Chapter5 3
Chapter5 3
 
Ieee
IeeeIeee
Ieee
 
Ieee
IeeeIeee
Ieee
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Tcp
TcpTcp
Tcp
 

ไอพี และอินเตอร์เน็ต

  • 2. วัตถุประสงค์ 1. สามารถสรุปประวัติโดยย่อของอินเทอร์เน็ตได้ 2. สามารถอธิบายกลไกการทางานของโปรโตคอล IP ได้อย่างถูกต้อง 3. สามารถจัดสรรคลาสต่างๆ บน IPv4 ได้ 4. สามารถแบ่งเครือข่ายย่อยด้วยการใช้ซับเน็ตมาสก์ได้ 5. เข้าใจหลักการของ CIDR และสามารถนาไปใช้เพื่อการจัดสรรหมายเลขไอพีแอดเดรสได้ อย่างเหมาะสม 6. สามารถคานวณหาแอดเดรสซับเน็ตได้ 7. บอกวัตถุประสงค์ของ NAT และวิธีการ NAT ในรูปแบบต่างๆ ได้ 8. บอกหน้าที่การทางานของโปรโตคอลที่อยู่บนชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก ทรานสปอร์ตและ แอปพลิเคชั่นได้ 9. เข้าใจในโครงสร้างของ IPv6 และสามารถกาหนดแอดเดรสด้วย IPv6 ได้อย่างถูกต้อง 2
  • 3. ประวัติเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Brief History of Internet) อินเทอร์เน็ตเกิดจากโครงการเครือข่ายอาร์พาเน็ต (Advanced Research Project Agency Network : ARPANET) ภายใต้กระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมี วัตถุประสงค์ดังนี้คือ 1. เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์ที่วิจัยด้านเทคโนโลยีที่อยู่ตามพื้นที่ต่างๆ ห่างไกลกัน สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ในโครงการวิจัยทางการทหาร 2. เครือข่ายจะยังคงสามารถสื่อสารใช้งานได้ถึงแม้ว่าจะถูกโจมตีหรือถูกทาลาย ด้วยอาวุธนิวเคลียร์ 3
  • 4. ประวัติเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Brief History of Internet) มีการทดลองใช้งานเมื่อปี พ.ศ. 2512 โดยประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ที่เป็น ศูนย์กลางอยู่ 4 เครื่องด้วยกัน 1. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียร์แห่งนครลอสแอนเจลิส 2. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียร์แห่งนครซานตา บาร์บารา 3. มหาวิทยาลัยยูทาห์ 4. สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด หลังจากนั้นเป็นต้นมา หน่วยงานต่างๆ ได้เล็งเห็นประโยชน์จากเครือข่ายดังกล่าว และได้มี การพัฒนาเครือข่ายเพื่อใช้งานในหน่วยงานของตน จนกระทั่งมีการเชื่อมโยงเครือข่าย ด้วยโปรโตคอล TCP/IP เป็นครั้งแรก และต่อมาก็ได้มีการเปลี่ยนจากเครือข่าย เฉพาะกลุ่มมาเป็นเครือข่ายสาธารณะที่สามารถใช้งานอยู่ในปัจจุบันเรียกว่า “เครือข่ายอินเทอร์เน็ต” 4
  • 5. ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก (Network Layer) ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก ทาหน้าที่เลือกเส้นทางเพื่อจัดส่งข้อมูลในรูปแบบแพ็กเก็ต โดย จะใช้อัลกอริทึมในการกาหนดเส้นทางที่เหมาะสม โปรโตคอลที่สาคัญคือ IP จะทางาน ร่วมกับอุปกรณ์เร้าเตอร์ในการส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายต่างๆ นอกจากนี้ยังมีโปรโตคอลที่ เกี่ยวข้องคือ ARP, RARP, ICMP และ IGMP เป็นต้น 5
  • 6. OSI Model กับ Protocol ต่างๆ 6 OSI Model
  • 7. TCP/IP Model กับ Protocol ต่างๆ 7 IP เป็นโปรโตคอลหลักในการสื่อสารข้อมูล เป็นกลไกสาคัญ ที่ทาให้ข้อมูลสามารถเคลื่อนย้ายไปยังปลายทาง ICMP (Internet Control Message Protocol) ทาหน้าที่ เสริมการทางานของ IP ให้สมบูรณ์โดยจะแจ้งข้อผิดพลาดแก่ IP IGMP (Internet Group Management Protocol) ทาหน้าที่ในการส่ง UDP ไปยังกลุ่ม ของโฮสต์หรือโฮสต์หลายๆ ตัวพร้อมกัน ARP (Address Reservation Protocol) ทาหน้าที่เปลี่ยน ระหว่าง Address ที่ใช้โดย IP ให้เป็น Address ของ Network Interface RARP (Reverse ARP) ทาหน้าที่สลับกันกับ ARP คือเปลี่ยน ระหว่าง Address ของ Network Interface ให้เป็น Address ที่ใช้โดย IP
  • 8. โปรโตคอล TCP/IP (TCP/IP Protocol) TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นชุดของโปรโตคอลที่ถูกใช้ ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถใช้สื่อสารจากต้น ทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทางได้ และสามารถหาเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปได้เองโดย อัตโนมัติ ถึงแม้ว่าในระหว่างทางอาจจะผ่านเครือข่ายที่มีปัญหา โปรโตคอลก็ยังคงหาเส้นทาง อื่นในการส่งผ่านข้อมูลไปให้ถึงปลายทางได้ 8
  • 9. โปรโตคอล TCP/IP (TCP/IP Protocol) TCP/IP มีจุดประสงค์ของการสื่อสารตามมาตรฐาน คือ 1. เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน 2. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย เช่นในกรณีที่ผู้ส่งและผู้รับ ยังคงมีการติดต่อกันอยู่ แต่โหนดกลางทีใช้เป็นผู้ช่วยรับ-ส่งเกิดเสียหายใช้การไม่ได้ หรือสาย สื่อสารบางช่วงถูกตัดขาด กฎการสื่อสารนี้จะต้องสามารถจัดหาทางเลือกอื่นเพื่อทาให้การ สื่อสารดาเนินต่อไปได้โดยอัตโนมัติ 3. มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน เช่น การจัดส่ง แฟ้ มข้อมูล และแบบที่ต้องการรับประกันความเร่งด่วนของข้อมูล เช่น การสื่อสารแบบ real-time และทั้งการสื่อสารแบบเสียง (Voice) และข้อมูล (data) 9
  • 10. การบริการการเชื่อมต่อการสื่อสาร การบริการการเชื่อมต่อการสื่อสารระหว่างต้นทางและปลายทาง ประกอบด้วยการสื่อสาร 2 แบบ คือ การสื่อสารแบบ Connectionless และแบบ Connection oriented ส่วนในรูปแบบ OSI จะให้ความสาคัญเฉพาะบริการแบบ Connection - oriented เท่านั้น 10
  • 11. การสื่อสารแบบ Connection-oriented 1. การสื่อสารแบบ Connection-oriented จะมีการกาหนดช่วงเวลา (Session) สาหรับการติดต่อยืนยันการส่ง-รับข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้ง 2 เครื่อง เช่นเดียว กับการ ทางานของโปรโตคอล Session ในรูปแบบ OSI ซึ่งทาให้โปรโตคอล TCP เป็นโปรโตคอลที่มี ความน่าเชื่อถือ (Reliable) เพราะให้ความแน่นอนว่าแพ็กเกจข้อมูลที่ถูกส่งออกไปจากต้นทาง จะไปถึงยังปลายทาง อย่างเป็นลาดับ และไม่มีความผิดพลาด หรือสูญหายของข้อมูล 11
  • 12. การสื่อสารแบบ Connectionless 2. การสื่อสารแบบ Connectionless ของโปรโตคอล จะมีลักษณะแบบเดียวกับ โปรโตคอล UDP (User Datagram Protocol)และ โปรโตคอล IP (Internet Protocol) คือ โปรโตคอลจะมีหน้าที่ควบคุมการส่ง – รับข้อมูลโดยไม่มีการรอคอย หรือการยืนยันการตอบรับ ข้อมูลจากปลายทาง ทาให้บริการแบบนี้ให้ความน่าเชื่อถือน้อยกว่า แต่ก็ทาให้การสื่อสาร ข้อมูลรวดเร็วยิ่งขึ้นถ้าไม่มีความผิดพลาดเกิดขึ้นในการส่ง-รับข้อมูล 12
  • 13. การบริการการเชื่อมต่อการสื่อสาร สรุป - Connection-Oriented ต้องสร้าง connection ก่อน เสียเวลาตอนเริ่มต้นหลังจากนั้นจึงเริ่ม ส่งได้ มีการรับประกันว่าข้อมูลถึงปลายทางอย่างถูกต้อง ตัวอย่างการใช้งาน เช่น E-mail, World Wide Web และ FTP (File Transfer Protocol) เป็นต้น - Connectionless ไม่มีการสร้าง connection ส่งได้เลย ทาได้รวดเร็ว แต่ไม่มีการรับประกันว่า ข้อมูลถึงปลายทางอย่างถูกต้องครบถ้วน ตัวอย่างการใช้งาน เช่น สัญญาณ Video, เสียง ซึ่งข้อมูลสามารถหายไปบางส่วนได้ 13
  • 14. โปรโตคอล IP (Internet Protocol) โปรโตคอล IP (Internet Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ทาหน้าที่รับภาระในการนาข้อมูล ไปยังปลายทาง ในอินเตอร์เน็ต โปรโตคอลต่างๆ ทั้ง TCP,UDP,ICMP ต่างก็ใช้ระบบนี้ทั้งสิ้น เนื่องจากโปรโตคอล IP มีกลไกที่ฉลาดในการค้นหาเส้นทางขนส่งข้อมูล แต่จุดด้อยโปรโตคอล IP คือเป็นโปรโตคอลที่ทางานแบบ Connectionless (เปรียบเสมือนระบบขนส่งที่สามารถนาสิ่งของไปยังปลายทางได้อย่างรวดเร็วแต่ไม่รับประกัน ว่าข้อมูลจะถึงปลายทางหรือไม่) ซึ่งโปรโตคอล IP อยู่ในชั้น Network Layer หรือ Internet Layer 14
  • 15. โปรโตคอล IP (Internet Protocol) หากต้องการความน่าเชื่อถือในการส่งข้อมูลไปยังปลายทาง โปรโตคอล IP จะทางาน ควบคู่ไปกับโปรโตคอลที่มีเครื่องมือในการตรวจสอบข้อมูลว่าส่งถึงปลายทางหรือไม่ คือ โปรโตคอล TCP ตัวอย่างเช่น การส่งจดหมาย หากเป็นการส่งแบบปกติ จะไม่มีการรับประกัน ว่าจดหมายจะถึงมือผู้รับหรือไม่ เนื่องจากอาจมีการตกหล่นหรือสูญหายระหว่างทาง ดังนั้น หากต้องการส่งจดหมายที่มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น อาจเลือกวิธีการส่งแบบลงทะเบียน ซึ่ง จะมีการรับรองว่าจดหมายจะส่งถึงมือผู้รับอย่างแน่นอน ดังนั้น IP เปรียบเสมือนการส่ง จดหมายแบบธรรมดาและ TCP คือการส่งจดหมายแบบลงทะเบียน 15
  • 16. การกาหนดตาแหน่งที่อยู่ใน IPv4 (IPv4 Addressing) TCP/IP จะกาหนดที่อยู่ด้วยไอพีแอดเดรส โดยไอพีแอดเดรส คือ ชุดตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต ที่ใช้กาหนดที่อยู่ของโฮสต์ โดยแต่ละ 32 บิตของไอพีแอดเดรสจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ NetID และ HostID ถูกออกแบบมาเพื่อใช้สาหรับการหาเส้นทาง • แอดเดรสในส่วนของ NetID จะชี้ระบุเครือข่าย (Physical Network) ที่คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อ • แอดเดรสในส่วนของ HostID จะชี้ระบุตาแหน่งของอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่าย 16
  • 17. การกาหนดตาแหน่งที่อยู่ใน IPv4 (IPv4 Addressing) ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วย 4 ไบต์ หรือ 4 ออคเทต (32 บิต) โดยในชุดของหมายเลขไอพี จะมีฟิลด์ 3 ฟิลด์ คือ - ประเภทของคลาส (Class) - ส่วนที่ใช้เป็นหมายเลขเครือข่าย (Network Address) - ส่วนที่ใช้เป็นหมายเลขเครื่อง (Host Address) 17
  • 18. Network ID and Node ID concepts18
  • 19. การแทนค่าไอพีแอดเดรสแบบเลขฐานสองและฐานสิบ (Binary and Dotted Decimal Notation) IP Address ขนาด 32 bit จะเป็นไปตามข้อกาหนดของ IPv4 จานวน bit ดังกล่าว สามารถแทนเลขหมายหรือ address ของอุปกรณ์ได้ประมาณ 4 พันล้านเครื่อง หรือเท่ากับ 232 (4,294,967,296) แต่ไม่ได้นามาใช้งานทั้งหมดเนื่องจากมีการสงวนไว้ใช้งานเฉพาะอย่าง และด้วยขนาด 32 bit ของ IP Address ทาให้ยากต่อการจดจา จึงมีการแทนเครื่องหมายในรูป แบบของเลขฐานสิบ และใช้จุดทศนิยมคั่นระหว่างตัวเลขแต่ละชุด ดังรูป 19 IP Address ในรูปแบบเลขฐานสอง และฐานสิบที่มีจุดทศนิยมคั่นระหว่างตัวเลขแต่ละชุด
  • 20. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) เป็นแนวคิดในการแบ่งคลาสออกเป็น 5 ชนิดโดยแต่ละคลาสที่ออกแบบมาจะรองรับ ความต้องการที่แตกต่างกันแล้วแต่องค์กรปัจจุบันคลาส A และคลาส B ถูกนามาใช้จนเต็ม แล้ว เหลือแต่ คลาส C ที่ยังมีการใช้งานอยู่ คลาส D ถูกสงวนไว้สาหรับเป็นมัลติคลาสต์ แอดเดรส และคลาส E ถูกสงวนไว้ใช้งานในอนาคต 20 Network Class Range Class A 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 Class B 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255 Class C 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255 Class D 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 Class E 240.0.0.0 ถึง 247.255.255.255 จานวนโฮสต์ในแต่ละเครือข่าย = 2HostID-2จานวนเครือข่าย = 2NetID
  • 22. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) Class A คลาส A จะมีส่วนของหมายเลขเครือข่าย (NetID) ขนาด 7 บิต - บิตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 0 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส A - จานวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ 126 (27-2) เครือข่าย - ออคเทตแรกที่มีค่าเป็น 0 (00000000) และ 127 (01111111) จะถูกสงวนไว้ - แต่ละเครือข่ายสามารถมีจานวนโฮสต์ได้ถึง (224-2) โฮสต์ - สามารถนาไปใช้งานกับองค์กรหรือหน่วยงานที่มีขนาดใหญ่ ที่จาเป็นต้องมี โฮสต์จานวนมาก 22
  • 23. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) Ex. จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ 0 1 0 1 1 1 0 1 เป็นเลขฐานสิบ 23 27 26 25 24 23 22 21 20 128 64 32 16 8 4 2 1 0 1 0 1 1 1 0 1 จากโจทย์จะได้ 64 + 16 + 8 +4 +1 = 93
  • 24. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) Class B คลาส B จะมีส่วนของหมายเลขเครือข่าย (NetID) ขนาด 14 บิต - 2 บิตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 10 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส B - จานวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ (214-2) เครือข่าย - ออคเทตแรกที่มีค่าเป็น 128 (10000000) และ 191 (10111111) จะถูกสงวนไว้ - แต่ละเครือข่ายสามารถมีจานวนโฮสต์ได้ถึง (216-2) โฮสต์ - เหมาะสมกับการนาไปใช้งานกับองค์กรขนาดกลาง เช่น สถาบันการศึกษา หน่วยงานของรัฐ หรือเอกชน 24
  • 25. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) Ex. จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ 1 0 1 1 1 1 1 1 เป็นเลขฐานสิบ 25 27 26 25 24 23 22 21 20 128 64 32 16 8 4 2 1 1 0 1 1 1 1 1 1 จากโจทย์จะได้ 128 + 32 + 16 + 8 + 4 + 2 + 1 = 191
  • 27. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) Class C คลาส C จะมีส่วนของหมายเลขเครือข่าย (NetID) ขนาด 21 บิต - 3 บิตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 110 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส C - จานวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ (221-2) เครือข่าย - ออคเทตแรกที่มีค่าเป็น 192 (11000000) และ 223 (11011111) จะถูกสงวนไว้ - แต่ละเครือข่ายสามารถมีจานวนโฮสต์ได้ 254 (28-2) โฮสต์ - เหมาะสมกับการนาไปใช้งานกับองค์กรขนาดเล็ก 27
  • 28. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) Ex. จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ 1 1 1 1 1 1 1 0 เป็นเลขฐานสิบ 28 27 26 25 24 23 22 21 20 128 64 32 16 8 4 2 1 1 1 1 1 1 1 1 0 จากโจทย์จะได้ 128 + 64 +32 + 16 + 8 + 4 + 2 = 254
  • 29. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) Class D คลาส D จะไม่มีการกาหนดหมายเลขเครือข่าย และถูกสงวนไว้สาหรับเป็นมัลติคาสต์ - 4 บิตในออคเทตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 1110 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส D - แอดเดรสเริ่มต้น คือ 224 (11100000) และแอดเดรสสุดท้าย คือ 239 (11101111) 29
  • 30. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) Class E คลาส E จะไม่ถูกนามาใช้ โดยจะถูกสงวนไว้ใช้งานในอนาคต - 4 บิตในออคเทตแรกจะเป็นค่าคงที่ คือ 1111 เพื่อใช้แทนว่าเป็นคลาส E - แอดเดรสเริ่มต้น คือ 240 (11110000) และแอดเดรสสุดท้าย คือ 255 (11111111) 30
  • 31. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) 31 Network Class Range Class A 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 Class B 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255 Class C 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255 Class D 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 Class E 240.0.0.0 ถึง 255.255.255.255 Class เลขนาหน้า จานวนเครือข่าย จานวนโฮสต์สูงสุด ต่อหนึ่งเครือข่าย Class A 0 - 127 126 Address (7Bits) 16,777,214 Address (24Bits) Class B 128 - 191 16,382 Address (14Bits) 65,534 Address (16Bits) Class C 192 - 223 2,097,152 Address (14Bits) 254 Address (8Bits)
  • 32. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing) เนื่องจากไอพีแอดเดรสถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนประกอบกัน คือ หมายเลขเครือข่าย และ หมายเลขโฮสต์ ทาให้ง่ายต่อการออกแบบระบบ โดยในการส่งแพ็กเก็ตข้อมูลบนเครือข่าย เร้าเตอร์จะพิจารณาเลือกเส้นทางเฉพาะส่วนของหมายเลขเครือข่ายเท่านั้น โดยโฮสต์หรือ อุปกรณ์ที่มีหมายเลขเครือข่ายชุดเดียวกันจะอยู่บนเครือข่ายเดียวกันหรือเรียกว่าอยู่บน เน็ตเวิร์กเดียวกัน 32
  • 33. การแบ่งเครือข่ายย่อย (Subnetting) การทา Subnet คือการแบ่งเน็ตเวิร์กย่อยภายในเน็ตเวิร์กหลักเพื่อให้แต่ละเน็ตเวิร์กมี ขนาดที่เหมาะสมกับปริมาณโฮสต์ที่มีอยู่ โดยใช้หลักการเดียวกับการนา IP Address มาแยก เป็น Host id และ Network id ข้อดีของการทา Subnet 1. ใช้เครือข่ายได้เต็มประสิทธิภาพ 2. สามารถกาหนดหรือแจกจ่ายหมายเลข IP ได้ตามที่ต้องการ 33 http://www.infocellar.com/networks/ip/subnets.htm
  • 35. ซับเน็ตมาสก์ (Subnet Mask) การทาซับเน็ตมาสก์จะดาเนินการควบคู่ไปกับการทาซับเน็ต โดยซับเน็ตมาสก์เป็น กระบวนการที่บอกให้รู้ว่า เครือข่ายที่ใช้งานอยู่นั้นมีการแบ่งเป็นซับเน็ต มีบิตที่ยืมไปเพื่อ ดาเนินการแบ่งซับเน็ตจานวนกี่บิต และใช้ตาแหน่งใดเพื่อระบุเป็นหมายเลขเครือข่ายย่อย ปกติค่าของซับเน็ตจะมีการระบุไว้แล้ว เรียกว่า ค่าดีฟอลต์ (Default) หากไม่มีการทาซับเน็ต ค่าของซับเน็ตมาสก์จะเป็นค่าดีฟอลต์ ดังนี้ 35 Class Subnet Mask (Binary) Dotted-Decimal CIDR A 11111111 00000000 00000000 00000000 255.0.0.0 /8 B 11111111 11111111 00000000 00000000 255.255.0.0 /16 C 11111111 11111111 11111111 00000000 255.255.255.0 /24 Default subnet mask แบบ Classful
  • 36. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบไม่ใช้คลาส (Classless Addressing) ในปัจจุบันมีการใช้งานอินเตอร์เน็ตสูงขึ้นและการใช้แอดเดรสแบบ Classful Addressing มีข้อจากัดอยู่มาก และก่อให้เกิดการใช้งานไอพีแอดเดรสอย่างไม่มีประสิทธิภาพ คือทาให้ สูญเสียไอพีแอดเดรสไปจานวนมาก จึงได้มีแนวทางในการจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบ Classless Addressing ด้วยการมุ่งเน้นจานวนโฮสต์ที่ต้องการใช้งานจริงเป็นสาคัญ โดยไม่มี การแบ่งแอดเดรสออกเป็นคลาส คือ การจัดสรรจานวนไอพีแอดเดรสให้เหมาะสมกับจานวนที่ นาไปใช้งานจริง 36
  • 37. การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบไม่ใช้คลาส (Classless Addressing) CIDR Notation (Classless Inter-Domain Routing) CIDR อ่านว่า ไซเดอร์ (CI-DER) เป็นการแทนค่าในรูปแบบใหม่ที่ใช้สาหรับการมาสกิ้ง ด้วยการเพิ่มสัญลักษณ์ “ / (Slash) “ แล้วตามด้วยขนาดของมาสก์ เช่น ไอพีแอดเดรส 128.10.0.0 (Class B) ประกอบด้วย NetID ในส่วนของ 16 บิตแรก และ HostID ใน 16 บิต หลัง ดังนั้นการแทนแอดเดรส ในรูปแบบของ CIDR สามารถเขียนได้ดังนี้128.10.0.0/16 ซึ่งจะ ทาให้เราสามารถทราบว่ามาสก์ของแอดเดรสนี้คืออะไร 37 CIDR 128.10.0.0/16128.10.0.0 + NetID
  • 38. ตัวอย่าง ที่1 Ex1. จากหมายเลข IP 192.168.100.0/27 จงหา 1. จานวน Subnet 2. หาหมายเลข Subnet mask 3. จานวน Host/Subnet
  • 39. วิธีคิด จากโจทย์ IP 192.168.100.0/27 /27 แปลงเป็นเลขฐาน 2 11111111.11111111.11111111.111/00000 จากสูตรหาจานวน Subnet = 2n แทนค่าจากสูตร จะได้ จานวน Subnet = 23 = 8 subnet ตัวอย่าง ที่1 โดยที่ n คือ bit ที่ยืม (bit 1) ถูกยืมมา 3 bit
  • 40. จากโจทย์ IP 192.168.100.0/27 /27 แปลงเป็นเลขฐาน 2 11111111.11111111.11111111.111/00000 Subnet mask ถ้าดูจากตารางคานวณ จะได้ 255.255.255.224 ตัวอย่าง ที่1
  • 41. วิธีคิด จากโจทย์ IP 192.168.100.0/27 /27 แปลงเป็นเลขฐาน 2 11111111.11111111.11111111.111/00000 จากสูตรจานวน host/subnet = 2n-2 แทนค่าจากสูตร จะได้ จานวน Host/Subnet = 25-2= 30 host/subnet ตัวอย่าง ที่1 โดยที่ n คือ bit ที่เหลือ (bit 0) บิตที่เหลือ 5 bit
  • 42. ตัวอย่าง ที่1 หมายเลข Subnet ที่ถูกต้องเป็นหมายเลขอะไรบ้าง ?? Subnet Zero คือ 192.168.100.0 - 192.168.100.31 Subnet แรก คือ 192.168.100.32 - 192.168.100.63 Subnet สอง คือ 192.168.100.64 - 192.168.100.95 Subnet สาม คือ 192.168.100.96 - 192.168.100.127 Subnet สี่ คือ 192.168.100.128 - 192.168.100.159 Subnet ห้า คือ 192.168.100.160 - 192.168.100.191 Subnet หก คือ 192.168.100.192 - 192.168.100.223 Subnet เจ็ด คือ 192.168.100.224 - 192.168.100.255
  • 43. จาก IP 192.168.100.68/27 นาไป set ให้ host ได้หรือไม่ และ IP 192.168.100.32/27 นาไป set ให้ host ได้หรือไม่ ตัวอย่าง ที่1
  • 44. หมายเหตุ - สูตรทั่วไปในการหาจานวน subnet ที่จะเกิดขึ้นคือ 2n โดยที่ค่า n นั้น ก็คือจานวน host bit ที่ถูกยืมมาเป็น subnet bit ที่เราหาได้มาจาก การเทียบ subnet mask แต่ถ้าใช้สอบวิชา network พื้นฐาน , สอบ ccna หรือ ใช้งาน กับ product ที่ไม่ใช่ของ cisco สูตรที่ใช้ในการหา subnet ก็คือ 2n-2 ที่ต้องหักออกไป 2 เพราะว่า จะต้องตัด subnet แรก กับ subnet สุดท้ายออกไป เพราะติดเรื่อง zero subnet และ all 1s subnet - แต่ถ้าใช้สอบ certify ตั้งแต่ CCNP ขึ้นไป หรือ ใช้งาน กับ product ของ cisco ซึ่งใช้ ios ล่าสุดสูตรที่ใช้ในการหา subnet ก็คือ 2n เหมือนกับอันแรกเลย ที่ไม่ต้องมีการตัด subnet แรก และ subnet สุดท้ายออกไป ก็เพราะว่า ปัจจุบัน ios ของ cisco ที่ใช้อยู่ในอุปกรณ์ ตั้งแต่เวอร์ชั่น 12.0 ขึ้นไป มีคาสั่ง ip subnet zero ซึ่งจะทาให้ใช้งาน ip ที่ อยู่ใน subnet แรกได้และ พวก ip ที่อยู่ใน subnet สุดท้ายนั้น ด้วย rfc ใหม่ๆ ก็กาหนดให้ สามารถใช้งานได้เช่นกัน
  • 45. ตัวอย่าง ที่2 Ex2. IP 10.10.10.0/13 เป็น IP ที่นาไป set ให้ host ได้หรือไม่ วิธีคิด จากโจทย์ /13 แปลงเป็นเลขฐาน 2 11111111.11111/000. 00000000.00000000 จากสูตรจานวน Subnet = 2n แทนค่าจากสูตร จะได้ จานวน Subnet = 25 = 32 Subnet แทนค่าจากสูตร จะได้ จานวน Host/Subnet = 219-2= 524,286 Host/Subnet สูตรหา Host/Subnet = 2n-2 โดยที่ n คือ bit ที่ยืม (bit 1) โดยที่ n คือ bit ที่เหลือ (bit 0)
  • 46. จากโจทย์ IP 10.10.10.0/13 /13 แปลงเป็นเลขฐาน 2 11111111.11111/000. 00000000.00000000 Subnet mask ถ้าดูจากตารางคานวณ จะได้ 255.248.0.0 ตัวอย่าง ที่2
  • 47. จากโจทย์ IP 10.10.10.0/13 นามาเขียนเป็นหมายเลข IP Address ได้ดังนี้ 10.0.0.0 – 10.7.255.255 10.8.0.0 – 10.15.255.255 10.10.10.0 อยู่ในช่วงนี้ IP ที่ใช้งานได้คือ 10.8.0.1 – 10.15.255.254 IP 10.10.10.0/13 นาไป set ให้host ได้หรือไม่ ตอบ ได้ IP Calculator โปรแกรมช่วยคานวณ IP Address ตัวอย่าง ที่2
  • 48. จากรูปถ้ากาหนด IP มาให้ เป็น 192.168.55.0 /24 ให้ทาการแบ่ง จานวน host ให้ เหมาะสมกับแต่ละ Subnet จะได้ดังนี้ ตัวอย่างที่ 3
  • 49. ตัวอย่างที่ 3 วงที่ 1 ต้องการ 7 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ /28 จะมีจานวน host 14 ตัว เพียงพอกับความต้องการ ( ใช้ /29 ไม่ได้เนื่องจากจะได้จานวน hosts เพียง 6 ตัวเท่านั้น ซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการ ) ถ้าเราใช้IP ของ subnet แรกของ /28 IP ที่ใช้งานไปคือ 192.168.55.0 - 192.168.55.15 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ IP 192.168.55.16 – 192.168.55.255
  • 50. ตัวอย่างที่ 3 วงที่ 2 ต้องการ 2 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ ?? /30 จะมีจานวน hosts 2 ตัวพอดี ในการเลือกใช้ IP ต้องเลือก subnets ที่IP ไม่ซ้ากับที่ แบ่งให้วงที่1 เช่น เลือกใช้ subnet ที่มี IP ตั้งแต่ 192.168.55.16 - 192.168.55.19 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ 192.168.55.20 – 192.168.55.255
  • 51. ตัวอย่าง ที่4 วงที่ 3 ต้องการ 90 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ ?? /25 จะมีจานวน hosts 126 ตัว /25 จะมีเพียง 2 subnets ในการเลือกใช้ IP ต้องเลือก subnets ที่IP ไม่ซ้ากับที่แบ่งให้วงที่2 คือ IP ตั้งแต่ 192.168.55.20 - 192.168.55.147 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ 192.168.55.148 – 192.168.55.255
  • 52. ตัวอย่าง ที่4 วงที่ 4 ต้องการ 2 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ ?? /30 จะมีจานวน hosts 2 ตัวพอดี ในการเลือกใช้ IP ต้องเลือก subnets ที่IP ไม่ซ้ากับที่ แบ่งให้วงที่3 คือ IP ตั้งแต่ 192.168.55.148 - 192.168.55.151 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ 192.168.55.152 – 192.168.55.255
  • 53. ตัวอย่าง ที่4 วงที่ 5 ต้องการ 23 hosts จะได้ Mask ที่เหมาะสมคือ ?? /27 จะมีจานวน hosts 32 ตัว ในการเลือกใช้ IP ต้องเลือก subnets ที่IP ไม่ซ้ากับที่แบ่ง ให้วงที่4 คือ IP ตั้งแต่ 192.168.55.152 - 192.168.55.183 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไม่ได้ใช้คือ 192.168.55.184 – 192.168.55.255
  • 54. การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต จะใช้ประโยชน์จากซับเน็ตมาสก์และไอพี แอดเดรส โดยความยากง่ายในการคานวณจะขึ้นอยู่กับค่าซับเน็ตมาสก์ว่าเป็นค่าดีฟอลต์ หรือ เป็นค่าที่กาหนดเอง (Custom Subnet Mask) 1. การมาสก์แบบ Boundary-Level เป็นวิธีการตั้งค่าซับเน็ตมาสก์ตามค่าดีฟอลต์ของแต่ละ คลาส จะทาด้วยการกาหนดบิตเป็น 1 หรือ 0 ทั้งหมดในแต่ละออคเทต ดังนั้นค่าที่เป็นไปได้ ตรงกับเลขฐานสิบ คือ 0 หรือ 255 เท่านั้น 54 การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต
  • 55. 2. การมาสก์แบบ Nonboundary-Level เป็นกรณีที่การมาสก์ไม่ได้กาหนดเป็น 255 หรือ 0 ซึ่งเป็นการกาหนดซับเน็ตมาสก์แบบ Custom วิธีนี้เป็นตัวกาหนดจานวนซับเน็ต และจานวน โฮสต์เองตามความเหมาะสม ดังนั้นในการหาแอดเดรสซับเน็ตจะมีความแตกต่างจากวิธีแรก ด้วยการนาตาแหน่งออคเทตของมาสก์ที่มีค่านอกเหนือจากไปเทียบบิตต่อบิตกับไอพีแอดเดรส ด้วยโอเปอร์เรชั่น AND ซับเน็ต 55 การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต 0 AND 0 = 0 0 AND 1 = 0 1 AND 0 = 0 1 AND 1 = 1
  • 56. Ex. 123 = 192 = 64 = ดังนั้น IP Address 45.123.21.8 ที่มีค่า mask เป็น 255.192.0.0 จะมี Address Subnet คือ 45.64.0.0 56 การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต Octed 1 Octed 2 Octed 3 Octed 4 IP Address 45 . 123 . 21 . 8 Mask 255 . 192 . 0 . 0 Subnetwork Address 45 . 64 . 0 . 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 AND 0 1 0 0 0 0 0 0
  • 57. ตารางช่วยคานวณ 1 1 1 1 1 1 1 1 27 26 25 24 23 22 21 20 128 64 32 16 8 4 2 1 57 123 แปลงเป็นเลขฐาน 2 0 + 64 + 32 + 16 + 8 + 0 + 2 + 1 = 123 ( 0 1 1 1 1 0 1 1 )2 1 100 1111
  • 58. การคานวณ IP Address เมื่อเราได้หมายเลข IP Address มา 1 ชุด สิ่งที่จะบอกได้จาก IP Address ที่ได้มาคือ • Subnet Mask คือ อะไร • Network IP คือ อะไร • Broadcast IP คือ อะไร • Range host IP ที่สามารถนามาใช้งานได้ มี IP อะไรบ้าง • จานวน Subnet , จานวน hosts / Subnet 58
  • 59. Subnet Mask คืออะไร เป็น Parameter ที่ระบุควบคู่กับหมายเลข IP Address หน้าที่ของ Subnet Mask คือช่วยใน แยกว่าส่วนใดภายในหมายเลข IP Address เป็น Network Address และส่วนใดเป็นหมาย เลข Host Address Network Class Subnet Mask Class A 255.0.0.0 Class B 255.255.0.0 Class C 255.255.255.0 59
  • 60. วิธีการหา Subnet Mask /30 หมายถึง mask 30 bits แรก /27 หมายถึง mask 27 bits แรก ให้ทาการแปลง mask bit ที่กาหนดให้ เป็นค่า Subnet Mask วิธีการก็คือ bits ที่อยู่หน้าตัว mask ให้แทนด้วยเลข 1 bits ที่อยู่หลังให้แทนด้วยเลข 0 60
  • 61. วิธีการหา Subnet Mask Ex. /30 /30 แปลงเป็นเลขฐาน 2 ได้ดังนี้ 11111111.11111111.11111111.111111/00 255 . 255 . 255 . 252 111111/00 แปลงเป็นเลขฐาน 10 ได้ดังนี้ (1 x 27) + (1 x 26) + (1 x 25) + (1 x 24) + (1 x 23) + (1 x 22) + (0 x 21) + (0 x 20) จะได้ค่าคือ 252 61
  • 62. วิธีการหา Subnet Mask จากโจทย์ คาตอบที่ได้คือ /30 255.255.255.252 แต่ถ้ามีตารางช่วย เราจะสามารถคานวณหรือหา IP ได้เร็วขึ้น 62
  • 63. วิธีการหา Subnet Mask Ex. /27 /27 แปลงเป็นเลขฐาน 2 11111111.11111111.11111111.111/00000 จากโจทย์ คาตอบที่ได้คือ /27 255.255.255.224 63
  • 64. วิธีการหา Subnet Mask Ex. /20 /20 แปลงเป็นเลขฐาน 2 11111111.11111111.1111/0000.00000000 จากโจทย์ คาตอบที่ได้คือ /20 255.255.240.0 64
  • 65. วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP Network IP คืออะไร คือ IP ตัวแรกของ Subnet ปกติจะนาไปใช้ประกาศเรื่องของ Router จะไม่สามารถ set ให้กับอุปกรณ์หรือเครื่อง PC ได้ Broadcast IP คืออะไร คือ IP ตัวสุดท้ายของ Subnet ปกติจะทาหน้าที่ Broadcast ให้อุปกรณ์ที่อยู่ในวงเดียวกัน จะไม่สามารถ set ให้กับอุปกรณ์หรือเครื่อง PC ได้ 65
  • 66. Ex.1 192.168.22.50/30 จากโจทย์ /30 เมื่อแปลงเป็น Subnet Mask จะได้ 255.255.255.252 ขั้นต่อไปหาว่าจานวน IP ต่อ Subnet จากสูตร หาจานวน IP ต่อ Subnet 2n โดย n คือ bit ที่เหลือ (bit 0) จาก 11111111.11111111.11111111.111111/00 นาค่าแทนในสูตรก็จะได้ 22 = 4 สรุปคือ จานวน Host ต่อ Subnet คือ 4 ตัว วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP 66
  • 67. วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP เทคนิค จาก 11111111.11111111.11111111.111111/00 เทียบตารางจะได้ 22 ดังนั้น /30 จานวน Host ในแต่ละ Subnet ที่เป็นไปได้คือ 0-3 , 4-7,….,252-255 67
  • 68. นามาเขียนเป็นหมายเลข IP Address ได้ดังนี้ 192.168.22.0 – 192.168.22.3 192.168.22.4 – 192.168.22.7 192.168.22.8 – 192.168.22.11 ---------------------------------------- 192.168.22.48 – 192.168.22.51 192.168.22.50 ---------------------------------------- 192.168.22.252 – 192.168.22.255 วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP 68
  • 69. จากโจทย์ 192.168.22.50/30 ตอบ 1. Network IP คือ 192.168.22.48 2. Broadcast IP คือ 192.168.22.51 3. Range hosts IP ที่สามารถนาไปใช้งานได้ หรือจานวน hosts Per Subnet คือ 192.168.22.49 – 192.168.22.50 นามา set เป็น host ได้ 2 IP วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP 69
  • 70. เทคนิคการหา IP ตัวแรกของ Subnet หรือ Network IP จากโจทย์ 192.168.22.50/30 192.168.22.48 – 192.168.22.51 วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP วิธีการหา Network IP นอกเหนือจากการเขียนตามด้านบนแล้วยังหาได้โดยวิธีการ ปกติทาได้โดยการนาเอา Subnet Mask มา AND กับ IP Address ที่ให้มา หรือ หมายถึง Address Subnet นั่นเอง 70
  • 71. วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP Ex.2 192.168.5.33/27 IP Address ใดบ้างที่สามารถนามาใช้งานได้ ก.192.168.5.5 ข.192.168.5.32 ค.192.168.5.40 ง.192.168.5.63 จ.192.168.5.75 71
  • 72. จากโจทย์ 192 .168.5.33/27 Subnet Mask จะได้ 255.255.255.224 เมื่อดูจากตาราง IP ต่อ Subnet ก็จะเป็น 32 ใช้วิธีลัดหา IP ตัวแรกก็จะได้ Network IP คือ 192 .168.5.32 และ Broadcast IP คือ 192 .168.5.63 คาตอบจึงเป็นข้อ ค. 192.168.5.40 วิธีการหา Network IP และ Broadcast IP 72
  • 73. การหาจานวน host ต่อ Subnet จากค่า Subnet Mask ที่ให้มา จะใช้สูตร 2n -2 โดย n คือ bits ที่อยู่หลังตัว Mask ส่วนเลข 2 ที่ลบออกไปคือ Network IP และ Broadcast IP EX.3 /30 11111111.11111111.11111111.111111/00 หรือ 255.255.255.252 จานวน hosts/Subnet = 2n -2 = 22 -2 = 4-2 = 2 วิธีการหา Host ต่อ Subnet จานวนโฮสต์ต่อซับเน็ต = 2n-2 73
  • 74. การหาจานวน Subnet จากค่า Subnet Mask ในปัจจุบัน ทุก subnet สามารถใช้ได้ทั้งหมด เนื่องจากเทคโนโลยีที่ใช้มีการเพิ่ม IP Subnet Zero ไว้อยู่แล้ว โดยใช้สูตร 2n โดย n คือ bits ที่อยู่หน้าตัว Mask ถึงตาแหน่ง . (dot) ที่ใกล้ที่สุดหรือตาแหน่งที่ระบุไว้ EX.4 /30 11111111.11111111.11111111.111111/00 หรือ 255.255.255.252 จานวน Subnet = 2n = 26 = 64 วิธีการหาจานวน Subnet จานวน Subnet = 2n 74
  • 75. Ex 1. บริษัทแห่งหนึ่ง ได้รับหมายเลขไอพีแอดเดรสเบอร์ 192.10.10.0 ซึ่งเป็นไอพีแอดเดรสคลาส C โดยมีแผนงานคือ ต้องการนาหมายเลขไอพีนี้มาจัดสรรด้วยการแบ่งเป็น 14 เครือข่ายย่อย เพื่อกระจาย ไปยังแผนกต่างๆ และแต่ละเครือข่ายย่อยสามารถเชื่อมต่อจานวนโฮสต์สูงสุดได้ 10 โฮสต์ 75 แนวทางในการจัดสรรไอพีแอดเดรสตามหลัก CIDR Number of needed usable subnets = 14 Number of needed usable hosts = 10 Network Address = 192.10.10.0 Address Class = Class C Default subnet mask = 255.255.255.0 Custom subnet mask = 255.255.255.240 Total number of subnets = 24 = 16 Number of usable subnets = 24 - 2 = 14 Total number of host address = 24 = 16 Number of usable host address = 24 - 2 = 14 Number of bit borrowed = 4
  • 76. Private IP Address คือหมายเลขไอพีเครื่อง แต่ละเครื่อง ในองค์กร หน่วยงาน โดย กาหนด ขึ้นมาเองเพื่อใช้ในองค์กรนั้นๆ เพื่อการสื่อสารภายใน ระบบเครือข่ายแลน หรือ อินทราเน็ตภายในเท่านั้นโดยสามารถกาหนดได้ 2 รูปแบบ คือ 1. กาหนดแบบ Dynamic วิธีนี้คอมพิวเตอร์ หรือ DHCP Server จะทาหน้าทีกาหนดหมายเลข IP และจ่าย เลข IP ให้กับระบบคอมพิวเตอร์ในกรุ๊ปนั้นหรือเรียกการจ่ายไอพีแบบนี้ว่า (Automatic Private IP Address) 2. กาหนดแบบ Static เป็นวิธีการกาหนดไอพีแอดแดรสแบบคงที่ โดยผู้ติดตั้งระบบ ทาหน้าที่กาหนด หมายเลข IP Address ให้แต่ละเครื่อง โดยห้ามกาหนด IP ซ้ากัน ( แต่เมื่อมีการติดต่อกับเครือข่าย Internet ก็จะได้รับหมายเลข ไอพี แอดเดรส "Public IP Address“ จากผู้ ให้บริการอินเตอร์เน็ตจะจ่ายหมายเลข IP Address สาหรับใช้ชั่วคราว 1 IP หมายเลขที่ใช้ได้จริง บนอินเตอร์เน็ตซึ่งก็คือหมายเลขไอพีทีแสดงการ เช็คไอพี Check IP นั้นเอง ) 76 เครือข่ายไอพีภายใน (Private IP Network)
  • 77. Public IP Address หมายเลข IP Address "Public IP" ของแต่ละเครื่องบนเครือขายInternet จะไม่ซ้ากันโดยในการเชื่อมต่อ Internet ไปยังผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตจะจ่ายหมายเลข IP Address มาใช้ชั่วคราว 1 IP ซึ่งเป็น หมายเลข IP ที่ใช้จริงบนอินเตอร์เน็ตโดย เรียก หมายเลข IP นี้ว่า "Public IP Address" หมายเลข IP นี้จะเปลี่ยนไปทุกครั้งทีมีการเชื่อมต่อใหม่ โดย หมายเลข IP Address นี้เป็นหมายเลขที่จะบอกความเป็นตัวตนของเครื่องนั้น ในการสื่อสารกัน ในระบบ Internetโดยหมายเลข IP Address "Public IP" นี้เครื่อง Serverผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต จะเป็นผู้กาหนด จ่ายหมายเลข IP นี้มา สามารถเช็ค Public IP ได้ที่ :: http://whatismyipaddress.com/ หรือ http://www.ip-th.com/ 77 เครือข่ายไอพีภายนอก (Public IP Network)
  • 78. นอกจากนี้ยังมี loopback address ซึ่งเป็นหมายเลขไอพีพิเศษ สาหรับทดสอบหรือหา ข้อผิดพลาด โดยแพ็กเก็ตที่ส่งด้วย loopback address จะไม่มีการข้ามเครือข่าย แต่จะย้อนกลับมายังเครื่องที่ส่งเองสาหรับ loop back ที่นิยมใช้ คือ หมายเลข 127.0.0.1 78 เครือข่ายไอพีภายใน (Private IP Network)
  • 79. เป็นวิธีการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนหมายเลขไอพีแอดเดรส โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทา การมัลติเพล็กซ์จราจรจากเครือข่ายภายใน ให้สามารถออกไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ หลักการทางานของ NAT คือ จะทาการแปลงหมายเลขไพรเวตไอพีมาเป็นไอพีแอดเดรส จริง เพื่อให้เครือข่ายภายในสามารถติดต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ NAT มีหลายประเภท และมีลักษณะการทางานที่แตกต่างกัน ดังนี้ 79 Network Address Translation (NAT) NATPrivate IP Public IP
  • 80. 1. NAT แบบสแตติก (Static NAT) หลักการของ NAT แบบสเตติก คือ จะจับคู่ระหว่าง Private IP กับ Public IP แบบ หนึ่งต่อหนึ่ง (one-to-one) เช่น คอมพิวเตอร์ IP เบอร์ 192.168.32.10 เมื่อเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตผ่าน NAT จะได้ Public IP หมายเลข 213.18.123.110 เสมอซึ่งจะเห็นว่า NAT แบบสเตติกไม่ได้ช่วยประหยัดหมายเลขไอพีจริงแต่อย่างใดการจับคู่แบบตายตัวระหว่าง Private IP กับ Public IP จะทาให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงเครือข่ายเพื่อเข้าถึงการ ใช้งานภายเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายได้ 80 Network Address Translation (NAT) PrivateNetwork PublicNetwork Router/NAT
  • 81. 2. NAT แบบไดนามิก (Dynamic NAT) หลักการของ NAT แบบไดนามิก จะต่างจากแบบสเตติกตรงที่ การแปลง Private IP มา เป็น Public IP ที่จดทะเบียน จะจับคู่แบบไดนามิกด้วยการหมุนเวียนชนิดไม่ตายตัว โดยจะได้ Private IP ช่วงแบบไม่ซ้ากัน Ex. คอมพิวเตอร์ที่ใช้ไอพีแอดเดรส 192.168.32.10 เมื่อมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน NAT เบอร์ไอพีที่ได้สามารถมีค่าภายในช่วง 213.18.123.100 ถึง 213.18.123.150 ซึ่งไอพีแอดเดรสที่ได้แต่ละครั้ง อาจเป็นเบอร์ใดเบอร์ หนึ่งที่อยู่ในช่วงการ NAT แบบไดนามิก เป็นความปลอดภัยแนวทางหนึ่งในการปิดบังโฮสต์ ภายในเครือข่าย เพื่อป้ องกันบุคคลภายนอกเข้ามาตรวจสอบค้นหาร่องรอยจากโฮสต์ภายในได้ แต่การ NAT แบบไดนามิกก็ยังไม่ช่วยประหยัดหมายเลขไอพี 81 Network Address Translation (NAT)
  • 82. Dynamic NAT 82 Network Address Translation (NAT) PrivateNetwork PublicNetwork Router/NAT
  • 83. 3. NAT แบบโอเวอร์โหลดดิ้ง (Overloading NAT) หลักการของ NAT แบบโอเวอร์โหลดดิ้ง คือ เมื่อคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายภายในต้องการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จะถูกแปลงมาเป็น Public IP เพียงหมายเลขเดียว แต่จะมีหมายเลขพอร์ต ที่แตกต่างกัน ดังนั้น ด้วยหลักการนี้ ทาให้สามารถประหยัดหมายเลขไอพีได้มาก เนื่องจากเครือข่ายภายในทั้งหมด จะใช้หมายเลขไอพีจริงเพียงหมายเลขเดียวเท่านั้นใน การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต Ex. คอมพิวเตอร์ที่ใช้ไอพีแอดเดรส 192.168.32.10 เมื่อมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน NAT เบอร์ไอพีที่ได้คือ 213.18.123.100:101 ส่วนคอมพิวเตอร์ไอพีแอดเดรส 192.168.32.11 เมื่อเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน NAT เบอร์ไอพีที่ ได้ คือ 213.18.123.100:102 83 Network Address Translation (NAT)
  • 84. Overloading NAT 84 Network Address Translation (NAT)PrivateNetwork PublicNetwork Router/NAT
  • 85. 4. NAT แบบโอเวอร์แลปปิ้ง (Overlapping) เทคนิคของ NAT แบบโอเวอร์แลปปิ้งจะถูกนามาใช้ในกรณีที่เครือข่ายภายในมีการนา Public IP มาใช้ ซึ่งไอพีแอดเดรสนั้นเป็นของเครือข่ายอื่น หรือมีการเปลี่ยน ISP รายใหม่ทาให้ได้รับ หมายเลข ไอพีที่จดทะเบียนใหม่แทนที่หมายเลขไอพีเดิม แต่ไม่ต้องการคอนฟิก หมายเลขไอพีภายในเครือข่ายทั้งหมด และด้วยเทคนิคการ NAT แบบโอเวอร์แลปปิ้งก็จะแปลง Public IP ที่เป็นหมายเลขเดิม มาเป็น Public IP ที่ได้จดทะเบียนไว้ เพื่อให้สามารถติดต่อกับ อินเทอร์เน็ตได้ Ex. คอมพิวเตอร์มีหมายเลขภายใน 237.16.32.10 เมื่อมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน NAT จะได้หมายเลข Public IP เป็น 213.18.123.103 85 Network Address Translation (NAT)
  • 86. Overloading NAT 86 Network Address Translation (NAT)PrivateNetwork PublicNetwork Router/NAT
  • 87. 87 ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6) IPv6 คืออะไร ? หมายเลข IP address ที่เราใช้กันทุกวันนี้คือ Internet Protocol version 4 (IPv4) ซึ่ง ใช้เป็นมาตรฐานในการส่งข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981 ทั้งนี้การขยายตัว ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในช่วงที่ผ่านมามีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว นักวิจัยเริ่มพบว่า จานวนหมายเลข IP address ของ IPv4 กาลังจะถูกใช้หมดไป ไม่เพียงพอกับการใช้งาน อินเทอร์เน็ตในอนาคต และหากเกิดขึ้นก็หมายความว่าเราจะไม่สามารถเชื่อมต่อเครื่อข่ายเข้ากับ ระบบอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นคณะทางาน IETF (The Internet Engineering Task Force) ซึ่งตระหนักถึงปัญหาสาคัญดังกล่าว จึงได้พัฒนาอินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นใหม่ขึ้น คือ รุ่นที่หก (Internet Protocol version 6; IPv6) เพื่อทดแทนอินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นเดิม
  • 88. 88 ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6) วัตถุประสงค์ของ IPv6 เพื่อปรับปรุงโครงสร้างของตัวโพรโตคอล ให้รองรับหมายเลขแอดเดรส จานวนมาก และปรับปรุงคุณลักษณะอื่นๆ อีกหลายประการ ทั้งในแง่ของประสิทธิภาพและ ความปลอดภัยรองรับระบบแอพพลิเคชั่น (application) ใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการประมวลผลแพ็กเก็ต (packet) ให้ดีขึ้น ทาให้สามารถตอบสนองต่อการ ขยายตัวและความต้องการใช้งานเทคโนโลยีบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในอนาคตได้เป็นอย่างดี
  • 89. 89 ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6) ประวัติ IPv6 IPv6 ถูกเริ่มใช้มาเป็นเวลาหลายปีแล้ว เพียงแต่ไม่ได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย ในประเทศ เกาหลี และญี่ปุ่น ได้มีการใช้ IPv6 ในเครือข่าย ISP หลายแห่ง ในประเทศไทยยังไม่มีการใช้ IPv6 ในเชิงพาณิชย์ มีแต่ในเครือข่ายทดสอบของหน่วยงานวิจัยและมหาวิทยาลัยต่างๆ” ประโยชน์หลักของ IPv6 และเป็นเหตุผลสาคัญของการเริ่มใช้ IPv6 ได้แก่ จานวน IP address ที่ เพิ่มขึ้นอย่างมากมายมหาศาลเมื่อเปรียบเทียบกับจานวน IP address เดิมภายใต้ IPv4 IPv4 address มี 32 บิต ในขณะที่ IPv6 address มี 128 บิต ความแตกต่างของจานวน IP address มีมากถึง 296 เท่า เปรียบเทียบรูปแบบของ IPv6 และ IPv4 address
  • 90. 90 ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6) การเขียนเลข IPv4 เช่น 192.168.1.1 มาจากเลขฐานสองจานวน 32 บิต ซึ่งเวลาอ้างถึง IP address จะใช้วิธีเปลี่ยนเป็นเลขฐานสิบ โดยแบ่งเลขฐานสอง 32 บิต ออกเป็นช่วง ๆ ละ 8 บิต 4 ช่วง แล้วจึงแปลงเลขฐานสอง 8 บิต เป็นเลขฐานสิบ แต่ละช่วงคั่นด้วย “.” การเขียนเลข IPv6 ประกอบด้วยเลขฐานสองจานวน 128 บิต โดยใช้เลขฐาน 16 แทน ฐาน 10 เพราะ 4 บิตของเลขฐานสองแปลงเป็นเลขฐาน 16 ได้ 1 หลักพอดี ดังนั้นเลข IP ก็จะ เป็นเลขฐาน 16 จานวน 32 หลัก และเพื่อให้สังเกตได้ง่ายจึงใช้ “:” คั่นแต่ละ 4 หลักของเลข ฐาน 16 11000000 10101000 00000001 000000001 192.168.1.1 แสดงแอดเดรสของ IPv4 3ffe : ffff : 0100 : f101 : 0210 : 94ff : fee3 : 9566 แสดงแอดเดรสของ IPv6
  • 91. 91 ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบริการ IPv6 ของISP ต่างๆ ในประเทศไทย จะหา ได้จากที่ไหน? เวบไซต์เหล่านี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความก้าวหน้าและบริการด้าน IPv6 ของ ISP แต่ละแห่งดังนี้ CAT : http://web.ipv6.cattelecom.com InternetThailand : http://www.v6.inet.co.th CS-Loxinfo : http://www.ipv6.loxinfo.net.th TRUE (AsiaInfonet) : http://www.v6.trueinternet.co.th NECTEC : http://www.ipv6.nectec.or.th ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6)
  • 92. 92 อินเทอร์เน็ตโพรโตคอล IPv6 มีข้อดีที่เหนือกว่าอินเทอร์เน็ตโพรโตคอล IPv4 ดังนี้  มีจานวนหมายเลขอ้างอิงบนเครือข่ายหรือไอพีแอดเดรสที่มากกว่า  มีรูปแบบเฮดเดอร์ของตัวโพรโตคอลที่เรียบง่ายและยืดหยุ่นกว่าทาให้ประสิทธิภาพดีขึ้นใน หลาย ๆ ด้าน  สนับสนุนแนวคิดการค้นหาเส้นทางแบบลาดับชั้น ส่งผลให้ตารางการค้นหาเส้นทางใน เครือข่ายแบ็กโบนมีขนาดเล็ก  สนับสนุนการสร้างคุณภาพของบริการ (Quality of Service, QoS)  สนับสนุนการติดตั้งปรับแต่งระบบแบบอัตโนมัติ (Serverless Autoconfiguration) การ ปรับเปลี่ยนแอดเดรส (Renumbering) การเชื่อมต่อหลายผู้ให้บริการ (Multihoming) และ Plug-and-Play  สนับสนุนกลไกการรักษาความปลอดภัยบนพื้นฐานของ IPSec (IP Security)  สนับสนุนการสื่อสารด้วยไอพีแบบเคลื่อนที่ (Mobile IP) มีการปรับปรุงความสามารถในการ ติดต่อแบบมัลติคาสต์ (Multicast) ไอพีเวอร์ชั่น 6 (IPv6)
  • 93. สรุป TCP/IP จะกาหนดที่อยู่ด้วยไอพีแอดเดรส โดยไอพีแอดเดรสคือชุดตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต (IPv4) ที่ใช้กาหนดที่อยู่ของโฮสต์ ซึ่งมีความสาคัญต่อกลไกในการสื่อสารจากโฮสต์หนึ่ง ไปยังอีกโฮสต์หนึ่งในระบบสื่อสาร ไอพีแอดเดรส จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ NetID และ HostID โดย NetID จะชี้ ระบุเครือข่ายที่คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ ในขณะที่ HostID จะชี้ระบุตาแหน่งของอุปกรณ์ ไอพีแอดเดรสเป็นเพียงลอจิคอลแอดเดรส ซึ่งไม่ใช่เป็นหมายเลขที่ใช้อ้างอิงโฮสต์หนึ่งโฮสต์ใด จริงๆ แต่การอ้างอิงถึงตาแหน่งจริงๆ ของโฮสต์จะใช้หมายเลขแมคแอดเดรสบนการ์ดเครือข่าย ซึ่งเป็นฟิสิคัลแอดเดรส 93
  • 94. สรุป เพื่อให้ไอพีแอดเดรสง่ายต่อการอ่านและจดจา จึงมีการแทนเครื่องหมายในรูปแบบของ เลขฐานสิบและใช้จุดทศนิยมเป็นตัวคั่นระหว่างไบต์ รูปแบบของคลาสที่ใช้งานมีอยู่ 5 คลาสด้วยกันคือ คลาส A, B, C, D และ E Class A สามารถมีจานวนเครือข่าย 126 เครือข่าย และมีจานวนโฮสต์เชื่อมต่อมากถึง 16,777,214 โฮสต์ โดย Class A มีจานวนเครือข่ายน้อย แต่มีโฮสต์เชื่อมต่าจานวนมาก Class B สามารถมีจานวนเครือข่าย 16,382 เครือข่าย และมีจานวนโฮสต์เชื่อมต่อมากถึง 65,534 โฮสต์ โดย Class B มีจานวนเครือข่ายและมีโฮสต์เชื่อมต่อจานวนปานกลาง Class C สามารถมีจานวนเครือข่าย 2,097,150 เครือข่าย และมีจานวนโฮสต์เชื่อมต่อ 254 โฮสต์ โดย Class C มีจานวนเครือข่ายมาก แต่มีโฮสต์เชื่อมต่อน้อย 94
  • 95. สรุป การทาซับเน็ต คือการแบ่งส่วนเครือข่ายออกเป็นเครือข่ายย่อยๆ ดังนั้นจึงต้องมีการแบ่งไอพี แอดเดรสออกเป็น 3 ระดับด้วยกัน คือ 1) NetID ใช้ระบุไซต์, 2) SubNetID ใช้ระบุฟิสิคัลซับ เน็ตเวิร์ก 3) หมายเลขโฮสต์ ซับเน็ตมาสก์หรือมาสกิ้ง เป็นกระบวนการที่บอกให้รู้ว่าเครือข่ายของเราได้มีการแบ่งเป็น ซับเน็ต มีบิตที่ใช้แบ่งซับเน็ตจานวนกี่บิต และใช้ตาแหน่งใดเพื่อระบุเป็นหมายเลขเครือข่ายย่อย ค่าของซับเน็ตมาสก์ในแต่ละคลาส ปกติจะมีการระบุค่าใว้อยู่แล้ว ซึ่งเรียกว่าค่า Default หลักการจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบ Classless จะไม่มีการแบ่งแอดเดรสออกเป็นคลาสเหมือน แบบ Classful แต่จะมุ่งประเด็นไปที่การจัดสรรจานวนไอพีแอดเดรส ให้เหมาะสมกับจานวน โฮสต์ที่ต้องการนาไปใช้งานจริงๆ เป็นหลัก เพื่อให้การจัดสรรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และยัง คงเหลือหมายเลขไอพีสาหรับบริการแก่ลูกค้ารายอื่นๆ ได้ต่อไป 95
  • 96. สรุป CIDR (CI-DER) เป็นการแทนค่าที่ใช้สาหรับการทามาสกิ้ง ด้วยการเพิ่มสัญลักษณ์ / (Slash) แล้วตามด้วยขนาดของมาสก์ เช่น 128.211.0.16/28 การคานวณหาแอดเดรสซับเน็ต จะใช้ประโยชน์จากซับเน็ตมาสก์และไอพีแอดเดรส ทั้งนี้ ความยากง่ายในการคานวณขึ้นอยู่กับค่าซับเน็ตมาสก์ว่าเป็นค่าดีฟอลต์ หรือเป็นค่าซับเน็ต มาสก์ ที่กาหนดขึ้นเอง การมาส์แบบ Nonboundary-Level เป็นการกาหนดค่าซับเน็ตมาสก์แบบ Custom วิธีนี้จะ ใช้ค่าซับเน็ตมาสก์เป็นตัวกาหนดจานวนซับเน็ต และจานวนโฮสต์ขึ้นเองตามความเหมาะสม ดังนั้นในการหาแอดเดรสซับเน็ตจึงมีขั้นตอนการหาที่ยุ่งยากกว่า ซึ่งจะใช้โอเปอเรชั่น AND ในการเปรียบเทียบบิตต่อบิตระหว่างไอพีแอดเดรสและซับเน็ตมาสก์ 96
  • 97. สรุป ไอพีแอดเดรสทั้งคลาส A, B และ C จะมีชุดแอดเดรสอยู่กลุ่มหนึ่งที่สงวนไว้ใช้งานบน เครือข่ายภายในที่เรียกว่า Private IP โดยเครือข่ายที่ใช้งานหมายเลขเครือข่ายภายในเหล่านี้ จะไม่สามารถเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายภายนอกอย่างอินเทอร์เน็ตได้ ถึงแม้หลักการโดยทั่วไป ของเครือข่าย Private IP คือการเชื่อมโยงเครือข่ายภายในที่ไม่สามารถเข้าถึงเครือข่ายภายนอก อย่างอินเทอร์เน็ตได้ แต่ก็มีกระบวนการอินเตอร์เฟซที่เรียกว่า NAT (Network Address Translation) ซึ่งจะแปลง Private IP มาเป็น Public IP (IP Address จริง) เพื่อให้เครือข่าย ภายในสามารถติดต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ NAT มีอยู่หลายประเภทด้วยกัน ซึ่งประกอบด้วย NAT แบบสเตติก ไดนามิก โอเวอร์โหลดดิ้ง และโอเวอร์แลปปิ้ง โดย NAT แบบโอเวอร์โหลดดิ้งจะเป็นวิธีที่สามารถประหยัดหมายเลขไอพีได้ 97
  • 98. สรุป หมายเลขไอพี 127.0.0.1 เป็น Loopback Address ที่นามาใช้สาหรับทดสอบหรือหาข้อผิด พลาดโดยแพ็กเก็กที่ส่งด้วย Loopback Address นี้จะไม่มีการส่งข้ามไปยังเครือข่ายอื่นๆ แต่จะ ย้อนกลับมายังตนเอง โปรโตคอล ARP จะทาหน้าที่ในการแปลงไอพีแอดเดรสมาเป็นแมคแอดเดรส โปรโตคอล RARP จะทาหน้าที่ในการแปลงแมคแอดเดรสบนการ์ดเครือข่ายมาเป็นไอพี แอดเดรส โปรโตคอล ICMP จะใช้สาหรับรายงานข้อผิดพลาดไปยังโฮสต์ฝ่ายส่ง เพื่อให้รับทราบถึง ปัญหาที่เกิดขึ้น โปรโตคอล IGMP จะสนับสนุนวิธีการส่งข้อมูลแบบมัลติคาสติ้ง ด้วยการส่งข้อมูลชุดเดียว ไปยังกลุ่มผู้รับปลายทางที่เป็นกลุ่มสมาชิกเดียวกัน ทาให้ลดแบนด์วิดธ์บนเครือข่ายลงได้อย่าง มากเนื่องจาก ส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายเพียงครั้งเดียว 98
  • 99. สรุป IPv4 ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบันใกล้จะเต็มหมดแล้ว ดังนั้นจึงต้องมีการวางแผนเพื่อนา IPv6 มา ใช้งานในอนาคต ทั้งนี้IPv6 จะมีขนาดแอดเดรส 128 บิต ซึ่งมากกว่า IPv4 ถึง 4 เท่าตัว ทาให้ รองรับอัตราการใช้งานที่เติบโตอย่างต่อเนื่องในอนาคตได้ คุณลักษณะสาคัญของ IPv6 ที่แตกต่างไปจาก IPv4 คือ ขนาดของแอดเดรส รูปแบบของ เฮดเดอร์ ส่วนขยายของเฮดเดอร์ การสนับสนุนข้อมูลออดิโอและวิดีโอ และส่วนขยายไปยังโปร- โตคอล โครงสร้าง IPv6 มีการแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ ด้วยกันคือ Base Header และ Payload ทั้งนี้ในส่วนของ Payload ยังประกอบไปด้วยส่วนขยายของเฮดเดอร์ (ซึ่งอาจมีหรือไม่มีก็ได้) และตามด้วยข้อมูล 99
  • 100. สรุป IPv6 จะรองรับแอดเดรส 3 ประเภทด้วยกันดังนี้คือ ยูนิคาสต์ มัลติคาสต์ และเอนนีคาสต์ เพื่อช่วยให้การอ้างอิงแอดเดรสของ IPv6 ง่ายขึ้น จึงมีการแทนค่าไอพีแอดเดรสของ IPv6 ในรูป แบบของเลขฐานสิบหก โดยมีการแบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีขนาด 16 บิต และใช้เครื่อง หมาย “:” (Colon) ในการแบ่งส่วนของแต่ละกลุ่ม 100
  • 101. แบบฝึกหัดครั้งที่ 9 จากโจทย์ - 10.0.0.1/11 - 172.16.0.1/18 - 192.168.0.1/30 จงหา 1. จานวน Subnet 2. หาหมายเลข Subnet mask 3. จานวน Host/Subnet 101