SlideShare a Scribd company logo
TCP/IP
ความหมาย TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นโปรโตคอลสำคัญที่ใช้ในการเชื่อมโยงและติดต่อสื่อสารในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อสื่อสารกันทั้งภายในและภายนอกองค์กร  TCP/IP   ได้รับความนิยมอย่างสูงเนื่องจากเป็นโปรโตคอลที่เป็นกลาง ทำให้ระบบที่แตกต่างกันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้
ประเภทของ  TCP/IP   TCP/IP   มีทั้งหมด  4  ชั้น คือ ชั้นติดต่อระดับแอปพลิเคชั่น  ( Application Layer )  ,  ชั้นติดต่อระหว่างโฮสต์  ( Host-to-Host Layer )  ,  ชั้นติดต่อระดับเครืออินเตอร์เน็ต  ( Internet Layer )  ,  และชั้นควบคุมการติดต่อระดับเครือข่าย  ( Network Access Layer )  ,  ซึ่งมีรายการละเอียดดังนี้
ชั้นที่  1:   ชั้นควบคุมการติดต่อระดับเครือข่าย  (Network Access Layer) เป็นชั้นที่คอยดูแลการติดต่อสื่อสารในระดับกายภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็นในการเชื่อต่อ และสัญญาณที่ใช้ในอุปกรณ์นั้นด้วย   Network Layer   ในชั้นนี้จะกล่าวถึง โปรโตคอล ต่างๆ เช่น  IP, Novell's IPX , IBM's APPN ,Appletalk   เป็นต้น การทํางานในชั้นนี้จะเป็นการเชื่อมต่อและการเลือกเส้นทาง การนําพาข้อมูลระหว่างเครื่อง
ชั้นที่   2  ชั้นติดต่อระดับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต  ( Internet Layer )  ในชั้นนี้มีโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง คือ  IP,RARP,ARP,ICMP,  และ  IGMP  ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1.  IP (Internet Protocol)  เป็นโปรโตคอลสำคัญที่คอยรับข้อมูลหรือคำสั่งจากโปรโตคอลที่อยู่ระดับชั้นสูงกว่า และทำงานร่วมกับโปรโตคอล  TCP  และ  IP  จะมีหน้าที่รับผิดชอบในการหาเส้นทางให้กับแพ็กเกจข้อมูลที่ส่งมาจากชั้นที่สูงกว่า การขนส่งข้อมูลของ  IP  นั้นจะเป็นแบบ  Connectioniess  ซึ่งไม่จำเป็นต้องมีการติดต่อเพื่อสร้างเส้นทางการส่ง ทำให้มีการน่าเชื่อถือน้อยและไม่มีการรับประกันว่าข้อมูลจะถึงปลายทาง สำหรับข้อมูลที่  IP  มีหน้าที่รับผิดชอบนั้นเป็นแพ็กเกจข้อมูลที่เรียกว่า  Datagram  ซึ่งภายในประกอบด้วยส่วนของข้อมูลและส่วนหัว โดยส่วนหัวมีขนาดตั้งแต่  20-60 bytes  ซึ่งมีข้อมูลที่จำเป็นบรรจุไว้ภายใน เช่น เวอร์ชัน  ( Version )  ที่บงบอกถึงเวอร์ชันของโปรโตคอล  ,  ข้อมูลบอกความยาวของส่วนหัว  ( Header Length )  ,  ข้อมูลบอกความยาวของแพ็กเกจ  ( Total Length )  , IP Address  ต้นทาง  ( Source   IP Address )  และ  IP Address  ปลายทาง  ( Destination IP Address )
2.  ARP (Address Resolution Protocol)  เป็นโปรโตคอลที่ทำหน้าที่รับผิดชอบการติดต่อสื่อสารภายในเครือข่ายเดียวกัน หรือภายใน  LAN  โดยใช้หมายเลข  Network Card  หรือ  NIC (Network  Interface Card)  ซึ่งเป็นที่อยู่ของแต่ละเครื่องในระดับกายภาพ โดย  ARP  จะทำการค้นหาหมายเลขเครื่องด้วยการกระจายข้อมูล  ( Broadcast )  ไปยังทุกเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกัน เมื่อพบเครื่องที่มีหมายเลขตรงกับข้อมูลที่ส่งมาก็จะตอบกลับไปยังเครื่องที่ขอร้อง หลังจากนั้นทั้งสองเครื่อง ก็จะสามารถสื่อสารกันได้โดยตรง  ARP  จะต้องมี  IP Address  ของเครื่องที่ต้องการจึงจะสามารถค้นหาเครื่องดังกล่าวได้ โดยจะได้รับหมายเลข  MAC Address  ตอบกลับมาเพื่อใช้ในการติดต่อกัน
3.  RARP (Reverse Address Resolution Protocol)  เป็นโปรโตคอลที่มีหน้าที่เหมือนกับ  ARP  แต่  RARP  จะใช้วิธีติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางด้วย  MAC Address   สำหรับกระบวนการทำงานก็จะคล้ายกับ  ARP   แตกต่างเพียงข้อมูลที่ใช้ในการติดต่อเท่านั้น  4.  ICMP (Internet Control Message Protocol)  เป็นโปรโตคอลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมข้อความที่เกิดขึ้นในระหว่างการติดต่อสื่อสารในเครือข่าย ซึ่งจะคอยรายงานปัญหาที่เกิดขึ้นกลับมายังผู้ส่ง แต่การส่งข้อมูลของ   ICMP  เป็นแบบ  Conectionless  ซึ่งข้อความที่ส่งมานั้นไม่มีการรับประกันว่าจะมาถึงปลายทางที่แน่นอน ข้อความดังกล่าวอาจสูญหายระหว่างทางเป็นได้ โดย  ICMP   จะรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างการส่งข้อมูล เช่น รายงานความหนาแน่นของการขนส่งข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้ทราบถึงความหนาแน่นของข้อมูลว่ามีมากเกินไปหรือไม่ รายงานระยะเวลาการใช้งานแพ็กเกจ หากแพ็กเกจใช้เวลาในการเดินทางไปยังปลายทางเกินกว่าเวลาที่กำหนดไว้แล้ว แพ็กเกจนั้นจะต้องถูกปล่อยทิ้งไป ซึ่งจำเป็นต้องแจ้งให้ผู้ใช้ทราบด้วย เป็นต้น
5.   IGMP (Internet Group Management Protocol ) เป็นโปรโตคอลที่ทำหน้าที่ในการแจ้งและรายงานข้อมูล ให้กับกลุ่มของ  IP Address  ที่เป็นสมาชิกในกลุ่ม  Multicast  ซึ่งเป็นการส่งข้อมูลแบบหนึ่งต่อหลายเครื่อง  (One-to-Many)  โดยจะแจ้งข้อมูลดังกล่าวแก่  Router  ที่อยู่ภายในเครือข่าย เพื่อให้เครือข่ายสามารถรองรับการติดต่อในรูปแบบดังกล่าวได้  IGMP   ถูกออกแบบมาให้สนับสนุนการทำงานของ  Router   เพื่อระบุเครื่องต่างๆที่อยู่ภายในกลุ่มของการติดต่อแบบ  Multicast  นั่นเอง
ชั้นที่ 3:   ชั้นติดต่อระหว่างโฮสต์  (Host-to-Host Layer ) ในชั้นนี้จะคอยดูแลเกี่ยวกับการขนส่งข้อมูล ซึ่งมีโปรโตคอลที่สำคัญ ดังนี้ 1.  UDP (User Datagram Protocol)  เป็นโปรโตคอลที่คอยดูแลและให้บริการในการส่งข้อมูล โดยเรียกข้อมูลดังกล่าวว่า  “ ดาต้าแกรม ”  (Datagram)  การส่งข้อมูลของ  UDP  นั้นจะเป็นลักษณะการส่งแบบ  Connectionless  คือ จะไม่สร้างเส้นทางขนส่งก่อนทำให้ไม่สามารถทราบสถานะการเดินทางของข้อมูลได้  การส่งแบบนี้จะขาดความน่าเชื่อถือ เพราะไม่มีการรับข้อมูลดังกล่าวถึงปลายทาง แต่ก็มีข้อดี คือ จะมีประมีประสิทธิภาพสูงหากข้อมูลมีขนาดเล็ก เนื่องจากสามารถส่งข้อมูลได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาเพื่อสร้างการเชื่อมต่อ ดังนั้น  UDP  จึงนิยมใช้กับการแพร่กระจายข้อมูล  (Broadcast)  โดยข้อมูล  UDP  สร้างขึ้น เป็นแพ็กเกจ ข้อมูลที่เรียกว่า  “ User Datagram”  ซึ่ง   Address)   และที่อยู่ของ   port  ปลายทาง  (Destination Port Address)  เป็นต้น
2 . TCP (Transmission Control-Protocol )   เป็นโปรโตคอลที่ดูแล และให้บริการในการส่งข้อมูลเหมือนกับ  UDP  แต่ TCP  จะใช้การส่งข้อมูลแบบ  Connection - Oriented  ซึ่งต้องสร้างเส้นทางในการขนส่งข้อมูลก่อน ทำให้มีความน่าเชื่อเถือมากกว่า  UDP   โดย  TCP  สามารถรับรองได้ว่าข้อมูลที่ส่งไปนั้นถึงปลายทางอย่างแน่นอน  TCP   จะแบ่งข้อมูลที่ทำการส่งทั้งหมดออกเป็นแพ็กเกจย่อยๆ สำหรับการเชื่อมต่อเพื่อทำการส่งข้อมูลจะมีการส่งแพ็กเกจข้อมูลเพื่อแจ้งให้ปลายทางทราบว่าต้องการส่งข้อมูล จากนั้นปลายทางก็จะตอบกลับพร้อมส่งข้อมูลหรือรหัสที่จำเป็นในการส่งข้อมูล เมื่อต้นทางได้รับการตอบกลับดังกล่าวก็จะส่งข้อมูลกลับมายังปลายทางเพื่อเพื่อยืนยันการเชื่อมต่อหลังจากติดต่อเพื่อสร้างเส้นทางเสร็จสมบูรณ์ ต้นทางก็จะเริ่มทำการขนส่งข้อมูลผ่านเส้นทางดังกล่าวเมื่อการขนส่งสิ้นสุดลง ก็จะยกเลิกเส้นทางนั้น ดังนั้น  การส่งข้อมูลในครั้งต่อไปจึงเป็นต้องสร้างเส้นทางใหม่ สำหรับแพ็กเกจย่อยที่แบ่งโดย  TPC   จะประกอบด้วยข้อมูลและส่วนหัว  (Header)  โดยส่วนหัวจะมีข้อมูลที่จำเป็นต่าง เช่น ที่อยู่ของ  Port  ต้นทาง  (Source Port Address),  ที่อยู่  Port  ปลายทาง  (Destination Port Address)  และ  Flag  ที่ใช้ในการควบคุมการรับส่งแพ็กเกจข้อมูล เป็นต้น
ชั้นที่  4  ชั้นติดต่อระดับแอปพลิเคชัน  ( Application Layer ) ในชั้นนี้จะมีโปรโตคอลที่คอยดูแลและจัดการเกี่ยวกับการติดต่อไปยัง แอปพลิเคชัน ซึ่งเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ โปรโตคอลที่สำคัญในชั้นนี้ มีดังนี้ 1.  SMTP (Simple Mail Transfer Protocol)  เป็นโปรโตคอลที่คอยสนับสนุนการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า  E-mail  นั้นเอง โดย  SMTP   จะช่วยให้ผู้ใช้ทั้งสองฝ่ายสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทาง  E-mail  ได้ แม้ว่าผู้ใช้ทั้งสองจะอยู่ต่างระบบกันก็ตาม  SMTP   สามารถสนับสนุนการส่งข้อมูลไปยังผู้รับตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไปได้ ซึ่งบรรจุข้อมูลได้หลายรูปแบบ เช่น ข้อความ เสียง ภาพ และวีดีโอ เป็นต้น  SMTP   จะคอยจัดการส่ง  E-mail  ทั้งภายในและภายนอกเครือข่ายโดยผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต
2.  FTP (File Transfer Protocol)  เป็นโปรโตคอลที่มาตรฐานที่คอยสนับสนุนการถ่ายโอนข้อมูลหรือไฟล์ระหว่างคอมพิวเตอร์  2  เครื่อง ซึ่งการถ่ายโอนข้อมูลนั้น จำเป็นต้องมีการระบุตัวตนเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อและสร้างช่องทางในการถ่ายโอนข้อมูล  เช่น  ชื่อที่ใช้ในการเข้าระบบ และรหัสผ่าน เป็นต้น  เมื่อการเชื่อมต่อเกิดขึ้นคอมพิวเตอร์อีกเครื่องก็จะทำการตรวจสอบและระบุตัวตนของเครื่องที่ต้องการเข้าระบบ หากการยืนยันตัวตนถูกต้องก็สามารถดำเนินการถ่ายโอนข้อมูลได้ สำหรับโปรโตคอล  TCP  จะมีหน้าที่ในการสร้างเส้นทางในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งสอง และเส้นทางในกาถ่ายโอนข้อมูล
2.  HTTP (Hypertext Transfer Protocol)  เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการติดต่อข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตที่จะถูกใช้งานโดย  WWW (World Wide Web)  โดย  HTTP  จะเป็นตัวรับส่งข้อมูลหรือไฟล์ภาษา  HTML  ที่ใช้ในการแสดงผลหน้าเว็บเพจนั้นเอง โดย  HTTP   จะทำการร้องขอโดยการส่งข้อมูลทั้งหมด หรือบางส่วนไปยังเครื่อง  Server  หลังจากนั้นเครื่อง  Server  ก็จะทำการประมวลผลแล้วตอบสนองตามข้อมูลที่ได้รับมา ในอดีตข้อมูลที่ใช้แสดงผลหน้าเว็บเพจอาจต้องประมวลจากฝั่งของ   Server  เท่านั้น ทำให้การแสดงผลช้า แต่ในปัจจุบันเครื่องฝั่งผู้ใช้สามารถเก็บข้อมูลที่จำเป็นในการแสดงผลหน้าเว็บเพจไว้เกือบทั้งหมด และสามารถประมวลผลเองได้ ทำให้  Server   แบกภาระน้อยลง ส่งผลให้การแสดงผลมีความรวดเร็วมากขึ้น สำหรับการติดต่อระหว่างผู้ใช้ไปยัง  Server   จะใช้งานผ่านโปรแกรมที่เรียกว่า  “ Web Browser”

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโยหน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย3RTFrost_Marc
 
เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11
Mrpopovic Popovic
 
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอลหน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอลJane Nattarika
 
2.โพรโตคอล
2.โพรโตคอล2.โพรโตคอล
2.โพรโตคอลSaksakon Sanor
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
preutthipong phetiam
 
ไอพี และอินเตอร์เน็ต
ไอพี และอินเตอร์เน็ตไอพี และอินเตอร์เน็ต
ไอพี และอินเตอร์เน็ต
Chanan B
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่ายการสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
พัน พัน
 
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocolโปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
Adisak Kammungkun
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
Taksin Dara
 
E book1
E book1E book1
E book1
sisiopp
 
หน่วยที่1 พอร์ทioครบ
หน่วยที่1 พอร์ทioครบหน่วยที่1 พอร์ทioครบ
หน่วยที่1 พอร์ทioครบSaksit Klawkla
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายtaenmai
 

What's hot (15)

Tcp
TcpTcp
Tcp
 
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโยหน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
 
เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11เทอม 1 คาบ 11
เทอม 1 คาบ 11
 
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอลหน่วยที่ 2 โปรโตคอล
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล
 
2.โพรโตคอล
2.โพรโตคอล2.โพรโตคอล
2.โพรโตคอล
 
Home network
Home networkHome network
Home network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Week8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internetWeek8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internet
 
ไอพี และอินเตอร์เน็ต
ไอพี และอินเตอร์เน็ตไอพี และอินเตอร์เน็ต
ไอพี และอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่ายการสื่อสารและระบบเครือข่าย
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
 
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocolโปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
E book1
E book1E book1
E book1
 
หน่วยที่1 พอร์ทioครบ
หน่วยที่1 พอร์ทioครบหน่วยที่1 พอร์ทioครบ
หน่วยที่1 พอร์ทioครบ
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
 

Viewers also liked

Protocolo in ppt[1]
Protocolo in ppt[1]Protocolo in ppt[1]
Protocolo in ppt[1]jobisaias
 
Ch 22 -present
Ch 22 -presentCh 22 -present
Ch 22 -present
montree brs
 
Network
NetworkNetwork
Network
hieunv1984
 
08 module interconnecting cisco router
08 module interconnecting cisco router08 module interconnecting cisco router
08 module interconnecting cisco routerAsif
 
Arp and rarp
Arp and rarpArp and rarp
Arp and rarp1991shalu
 

Viewers also liked (7)

Application layer (2)
Application layer (2)Application layer (2)
Application layer (2)
 
Protocolo in ppt[1]
Protocolo in ppt[1]Protocolo in ppt[1]
Protocolo in ppt[1]
 
Ch 22 -present
Ch 22 -presentCh 22 -present
Ch 22 -present
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
08 module interconnecting cisco router
08 module interconnecting cisco router08 module interconnecting cisco router
08 module interconnecting cisco router
 
Arp and rarp
Arp and rarpArp and rarp
Arp and rarp
 
Arp and rarp
Arp and rarpArp and rarp
Arp and rarp
 

Similar to งานกลุ่มอาจารนพ

การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
apisak smutpha
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
งานคอม0053
งานคอม0053งานคอม0053
งานคอม0053
Nthw Trty
 
งานคอม0053PDF
งานคอม0053PDFงานคอม0053PDF
งานคอม0053PDF
Nthw Trty
 
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในaru
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
Suthee Banprasert
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
Suthee Banprasert
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 

Similar to งานกลุ่มอาจารนพ (20)

22
2222
22
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
6
66
6
 
6
66
6
 
งานคอม0053
งานคอม0053งานคอม0053
งานคอม0053
 
งานคอม0053PDF
งานคอม0053PDFงานคอม0053PDF
งานคอม0053PDF
 
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
 
2
22
2
 
2
22
2
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
 
ความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggต
ความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggตความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggต
ความมาของอินเทอร์เน็fdagfdgsadgasaggต
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 

More from nan1799

บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้nan1799
 
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้nan1799
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้nan1799
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้nan1799
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
นัน
นันนัน
นันnan1799
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยาnan1799
 

More from nan1799 (9)

บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
นัน
นันนัน
นัน
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 

งานกลุ่มอาจารนพ

  • 2. ความหมาย TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นโปรโตคอลสำคัญที่ใช้ในการเชื่อมโยงและติดต่อสื่อสารในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อสื่อสารกันทั้งภายในและภายนอกองค์กร TCP/IP ได้รับความนิยมอย่างสูงเนื่องจากเป็นโปรโตคอลที่เป็นกลาง ทำให้ระบบที่แตกต่างกันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้
  • 3. ประเภทของ TCP/IP TCP/IP มีทั้งหมด 4 ชั้น คือ ชั้นติดต่อระดับแอปพลิเคชั่น ( Application Layer ) , ชั้นติดต่อระหว่างโฮสต์ ( Host-to-Host Layer ) , ชั้นติดต่อระดับเครืออินเตอร์เน็ต ( Internet Layer ) , และชั้นควบคุมการติดต่อระดับเครือข่าย ( Network Access Layer ) , ซึ่งมีรายการละเอียดดังนี้
  • 4. ชั้นที่ 1: ชั้นควบคุมการติดต่อระดับเครือข่าย (Network Access Layer) เป็นชั้นที่คอยดูแลการติดต่อสื่อสารในระดับกายภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็นในการเชื่อต่อ และสัญญาณที่ใช้ในอุปกรณ์นั้นด้วย Network Layer ในชั้นนี้จะกล่าวถึง โปรโตคอล ต่างๆ เช่น IP, Novell's IPX , IBM's APPN ,Appletalk เป็นต้น การทํางานในชั้นนี้จะเป็นการเชื่อมต่อและการเลือกเส้นทาง การนําพาข้อมูลระหว่างเครื่อง
  • 5. ชั้นที่ 2 ชั้นติดต่อระดับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ( Internet Layer ) ในชั้นนี้มีโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง คือ IP,RARP,ARP,ICMP, และ IGMP ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. IP (Internet Protocol) เป็นโปรโตคอลสำคัญที่คอยรับข้อมูลหรือคำสั่งจากโปรโตคอลที่อยู่ระดับชั้นสูงกว่า และทำงานร่วมกับโปรโตคอล TCP และ IP จะมีหน้าที่รับผิดชอบในการหาเส้นทางให้กับแพ็กเกจข้อมูลที่ส่งมาจากชั้นที่สูงกว่า การขนส่งข้อมูลของ IP นั้นจะเป็นแบบ Connectioniess ซึ่งไม่จำเป็นต้องมีการติดต่อเพื่อสร้างเส้นทางการส่ง ทำให้มีการน่าเชื่อถือน้อยและไม่มีการรับประกันว่าข้อมูลจะถึงปลายทาง สำหรับข้อมูลที่ IP มีหน้าที่รับผิดชอบนั้นเป็นแพ็กเกจข้อมูลที่เรียกว่า Datagram ซึ่งภายในประกอบด้วยส่วนของข้อมูลและส่วนหัว โดยส่วนหัวมีขนาดตั้งแต่ 20-60 bytes ซึ่งมีข้อมูลที่จำเป็นบรรจุไว้ภายใน เช่น เวอร์ชัน ( Version ) ที่บงบอกถึงเวอร์ชันของโปรโตคอล , ข้อมูลบอกความยาวของส่วนหัว ( Header Length ) , ข้อมูลบอกความยาวของแพ็กเกจ ( Total Length ) , IP Address ต้นทาง ( Source IP Address ) และ IP Address ปลายทาง ( Destination IP Address )
  • 6. 2. ARP (Address Resolution Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ทำหน้าที่รับผิดชอบการติดต่อสื่อสารภายในเครือข่ายเดียวกัน หรือภายใน LAN โดยใช้หมายเลข Network Card หรือ NIC (Network Interface Card) ซึ่งเป็นที่อยู่ของแต่ละเครื่องในระดับกายภาพ โดย ARP จะทำการค้นหาหมายเลขเครื่องด้วยการกระจายข้อมูล ( Broadcast ) ไปยังทุกเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกัน เมื่อพบเครื่องที่มีหมายเลขตรงกับข้อมูลที่ส่งมาก็จะตอบกลับไปยังเครื่องที่ขอร้อง หลังจากนั้นทั้งสองเครื่อง ก็จะสามารถสื่อสารกันได้โดยตรง ARP จะต้องมี IP Address ของเครื่องที่ต้องการจึงจะสามารถค้นหาเครื่องดังกล่าวได้ โดยจะได้รับหมายเลข MAC Address ตอบกลับมาเพื่อใช้ในการติดต่อกัน
  • 7. 3. RARP (Reverse Address Resolution Protocol) เป็นโปรโตคอลที่มีหน้าที่เหมือนกับ ARP แต่ RARP จะใช้วิธีติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทางด้วย MAC Address สำหรับกระบวนการทำงานก็จะคล้ายกับ ARP แตกต่างเพียงข้อมูลที่ใช้ในการติดต่อเท่านั้น 4. ICMP (Internet Control Message Protocol) เป็นโปรโตคอลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมข้อความที่เกิดขึ้นในระหว่างการติดต่อสื่อสารในเครือข่าย ซึ่งจะคอยรายงานปัญหาที่เกิดขึ้นกลับมายังผู้ส่ง แต่การส่งข้อมูลของ ICMP เป็นแบบ Conectionless ซึ่งข้อความที่ส่งมานั้นไม่มีการรับประกันว่าจะมาถึงปลายทางที่แน่นอน ข้อความดังกล่าวอาจสูญหายระหว่างทางเป็นได้ โดย ICMP จะรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างการส่งข้อมูล เช่น รายงานความหนาแน่นของการขนส่งข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้ทราบถึงความหนาแน่นของข้อมูลว่ามีมากเกินไปหรือไม่ รายงานระยะเวลาการใช้งานแพ็กเกจ หากแพ็กเกจใช้เวลาในการเดินทางไปยังปลายทางเกินกว่าเวลาที่กำหนดไว้แล้ว แพ็กเกจนั้นจะต้องถูกปล่อยทิ้งไป ซึ่งจำเป็นต้องแจ้งให้ผู้ใช้ทราบด้วย เป็นต้น
  • 8. 5. IGMP (Internet Group Management Protocol ) เป็นโปรโตคอลที่ทำหน้าที่ในการแจ้งและรายงานข้อมูล ให้กับกลุ่มของ IP Address ที่เป็นสมาชิกในกลุ่ม Multicast ซึ่งเป็นการส่งข้อมูลแบบหนึ่งต่อหลายเครื่อง (One-to-Many) โดยจะแจ้งข้อมูลดังกล่าวแก่ Router ที่อยู่ภายในเครือข่าย เพื่อให้เครือข่ายสามารถรองรับการติดต่อในรูปแบบดังกล่าวได้ IGMP ถูกออกแบบมาให้สนับสนุนการทำงานของ Router เพื่อระบุเครื่องต่างๆที่อยู่ภายในกลุ่มของการติดต่อแบบ Multicast นั่นเอง
  • 9. ชั้นที่ 3: ชั้นติดต่อระหว่างโฮสต์ (Host-to-Host Layer ) ในชั้นนี้จะคอยดูแลเกี่ยวกับการขนส่งข้อมูล ซึ่งมีโปรโตคอลที่สำคัญ ดังนี้ 1. UDP (User Datagram Protocol) เป็นโปรโตคอลที่คอยดูแลและให้บริการในการส่งข้อมูล โดยเรียกข้อมูลดังกล่าวว่า “ ดาต้าแกรม ” (Datagram) การส่งข้อมูลของ UDP นั้นจะเป็นลักษณะการส่งแบบ Connectionless คือ จะไม่สร้างเส้นทางขนส่งก่อนทำให้ไม่สามารถทราบสถานะการเดินทางของข้อมูลได้ การส่งแบบนี้จะขาดความน่าเชื่อถือ เพราะไม่มีการรับข้อมูลดังกล่าวถึงปลายทาง แต่ก็มีข้อดี คือ จะมีประมีประสิทธิภาพสูงหากข้อมูลมีขนาดเล็ก เนื่องจากสามารถส่งข้อมูลได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาเพื่อสร้างการเชื่อมต่อ ดังนั้น UDP จึงนิยมใช้กับการแพร่กระจายข้อมูล (Broadcast) โดยข้อมูล UDP สร้างขึ้น เป็นแพ็กเกจ ข้อมูลที่เรียกว่า “ User Datagram” ซึ่ง Address) และที่อยู่ของ port ปลายทาง (Destination Port Address) เป็นต้น
  • 10. 2 . TCP (Transmission Control-Protocol ) เป็นโปรโตคอลที่ดูแล และให้บริการในการส่งข้อมูลเหมือนกับ UDP แต่ TCP จะใช้การส่งข้อมูลแบบ Connection - Oriented ซึ่งต้องสร้างเส้นทางในการขนส่งข้อมูลก่อน ทำให้มีความน่าเชื่อเถือมากกว่า UDP โดย TCP สามารถรับรองได้ว่าข้อมูลที่ส่งไปนั้นถึงปลายทางอย่างแน่นอน TCP จะแบ่งข้อมูลที่ทำการส่งทั้งหมดออกเป็นแพ็กเกจย่อยๆ สำหรับการเชื่อมต่อเพื่อทำการส่งข้อมูลจะมีการส่งแพ็กเกจข้อมูลเพื่อแจ้งให้ปลายทางทราบว่าต้องการส่งข้อมูล จากนั้นปลายทางก็จะตอบกลับพร้อมส่งข้อมูลหรือรหัสที่จำเป็นในการส่งข้อมูล เมื่อต้นทางได้รับการตอบกลับดังกล่าวก็จะส่งข้อมูลกลับมายังปลายทางเพื่อเพื่อยืนยันการเชื่อมต่อหลังจากติดต่อเพื่อสร้างเส้นทางเสร็จสมบูรณ์ ต้นทางก็จะเริ่มทำการขนส่งข้อมูลผ่านเส้นทางดังกล่าวเมื่อการขนส่งสิ้นสุดลง ก็จะยกเลิกเส้นทางนั้น ดังนั้น การส่งข้อมูลในครั้งต่อไปจึงเป็นต้องสร้างเส้นทางใหม่ สำหรับแพ็กเกจย่อยที่แบ่งโดย TPC จะประกอบด้วยข้อมูลและส่วนหัว (Header) โดยส่วนหัวจะมีข้อมูลที่จำเป็นต่าง เช่น ที่อยู่ของ Port ต้นทาง (Source Port Address), ที่อยู่ Port ปลายทาง (Destination Port Address) และ Flag ที่ใช้ในการควบคุมการรับส่งแพ็กเกจข้อมูล เป็นต้น
  • 11. ชั้นที่ 4 ชั้นติดต่อระดับแอปพลิเคชัน ( Application Layer ) ในชั้นนี้จะมีโปรโตคอลที่คอยดูแลและจัดการเกี่ยวกับการติดต่อไปยัง แอปพลิเคชัน ซึ่งเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ โปรโตคอลที่สำคัญในชั้นนี้ มีดังนี้ 1. SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) เป็นโปรโตคอลที่คอยสนับสนุนการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า E-mail นั้นเอง โดย SMTP จะช่วยให้ผู้ใช้ทั้งสองฝ่ายสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทาง E-mail ได้ แม้ว่าผู้ใช้ทั้งสองจะอยู่ต่างระบบกันก็ตาม SMTP สามารถสนับสนุนการส่งข้อมูลไปยังผู้รับตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไปได้ ซึ่งบรรจุข้อมูลได้หลายรูปแบบ เช่น ข้อความ เสียง ภาพ และวีดีโอ เป็นต้น SMTP จะคอยจัดการส่ง E-mail ทั้งภายในและภายนอกเครือข่ายโดยผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต
  • 12. 2. FTP (File Transfer Protocol) เป็นโปรโตคอลที่มาตรฐานที่คอยสนับสนุนการถ่ายโอนข้อมูลหรือไฟล์ระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง ซึ่งการถ่ายโอนข้อมูลนั้น จำเป็นต้องมีการระบุตัวตนเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อและสร้างช่องทางในการถ่ายโอนข้อมูล เช่น ชื่อที่ใช้ในการเข้าระบบ และรหัสผ่าน เป็นต้น เมื่อการเชื่อมต่อเกิดขึ้นคอมพิวเตอร์อีกเครื่องก็จะทำการตรวจสอบและระบุตัวตนของเครื่องที่ต้องการเข้าระบบ หากการยืนยันตัวตนถูกต้องก็สามารถดำเนินการถ่ายโอนข้อมูลได้ สำหรับโปรโตคอล TCP จะมีหน้าที่ในการสร้างเส้นทางในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ทั้งสอง และเส้นทางในกาถ่ายโอนข้อมูล
  • 13. 2. HTTP (Hypertext Transfer Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการติดต่อข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตที่จะถูกใช้งานโดย WWW (World Wide Web) โดย HTTP จะเป็นตัวรับส่งข้อมูลหรือไฟล์ภาษา HTML ที่ใช้ในการแสดงผลหน้าเว็บเพจนั้นเอง โดย HTTP จะทำการร้องขอโดยการส่งข้อมูลทั้งหมด หรือบางส่วนไปยังเครื่อง Server หลังจากนั้นเครื่อง Server ก็จะทำการประมวลผลแล้วตอบสนองตามข้อมูลที่ได้รับมา ในอดีตข้อมูลที่ใช้แสดงผลหน้าเว็บเพจอาจต้องประมวลจากฝั่งของ Server เท่านั้น ทำให้การแสดงผลช้า แต่ในปัจจุบันเครื่องฝั่งผู้ใช้สามารถเก็บข้อมูลที่จำเป็นในการแสดงผลหน้าเว็บเพจไว้เกือบทั้งหมด และสามารถประมวลผลเองได้ ทำให้ Server แบกภาระน้อยลง ส่งผลให้การแสดงผลมีความรวดเร็วมากขึ้น สำหรับการติดต่อระหว่างผู้ใช้ไปยัง Server จะใช้งานผ่านโปรแกรมที่เรียกว่า “ Web Browser”