SlideShare a Scribd company logo
การทาสบู่จากสมุนไพร (ก้อนใส)
สบู่ เป็นเครื่องสาอางชนิดหนึ่งที่ใช้ในการทาความสะอาดร่างกาย เดิมใช้เพื่อทาความสะอาดร่างกายเท่านั้น
ปัจจุบันกระบวนการผลิตสบู่ มีการเพิ่มส่วนผสมอื่นๆ เพื่อให้สบู่มีสรรพคุณตรงตามความต้องการของ
ผู้บริโภคมากขึ้น เช่น มีสีสรรที่สวยงามน่าใช้ มีกลิ่นหอม และมีสรรพคุณทางยาในทางการค้า มีการใช้สาร
สังเคราะห์เพิ่มขึ้นทาให้ผลิตภัณฑ์น่าใช้ บรรจุภัณฑ์สวยงามแต่แฝงไป ด้วยสารเคมีที่เป็นอันตราย มีพิษ
ตกค้างและราคาสูง ปัจจุบันนิยมใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่ในธรรมชาติมาเป็นส่วนผสมเพิ่มเติมในสบู่ แทน
การใช้สารเคมีสังเคราะห์ พืชสมุนไพรที่ใช้ มีสาระสาคัญและมีสรรพคุณทางยา เช่น มีน้ามันหอมระเหยที่
มีกลิ่นเฉพาะใช้ในการบาบัดโรค มีสีสรรสวยงาม หาง่าย ราคาถูก ประหยัด ปลอดภัย ไร้สารสังเคราะห์
และไม่มีพิษตกค้าง ทาให้สบู่สมุนไพรที่ผลิตขึ้นจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติมีคุณลักษณะเฉพาะที่หลากหลาย
จึงเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นถึงความมหัศจรรย์ของสบู่สมุนไพรที่มีคุณค่ายิ่งของภูมิปัญญาไทย
ดังนั้นทางเราจึงได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการทาสบู่ แล้วจัดทาสบู่สมุนไพรขึ้นมาจากกลีเซอรีนธรรมชาติ
ที่ใช้ได้ผลอย่างดียิ่ง อีกทั้งยังไม่มีสารเคมีหรือสารพิษปนมาอีกด้วย สบู่นั้นเป็นผลจากปฏิกิริยาเคมีของ
ส่วนผสมพื้นฐาน คือน้าด่าง (Sodium Hydroxide หรือ Potassium
Hydroxide) กับน้ามัน ซึ่งในที่นี้ทามาจากน้ามันมะพร้าว ปฏิกิริยาเคมีนี้เรียกว่า
Saponification ซึ่งจะทาให้ได้เกลือในรูปของแข็งที่ลื่นและมีฟอง ที่เราเรียกกันว่าสบู่
โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มักจะใช้กากน้ามันปิโตรเลียมเป็นเบสในการทาสบู่ ซึ่งโมเลกุลของน้ามัน
ปิโตรเลียมจะมีขนาดใหญ่จนผิวไม่สามารถซึมซับได้ และยังก่อให้เกิดอาการ อุดตันได้อีกด้วย
นอกจากนี้ส่วนประกอบสาคัญทุกชนิดที่ใช้ในกระบวนการผลิต ยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่ ได้จากธรรมชาติ คุณ
จึงมั่นใจได้ว่าไม่มีสารสังเคราะห์ใดๆ เจือปนอยู่ในสบู่ จึงเป็นสบู่ธรรมชาติที่มีความปลอดภัย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมการผลิตและจาหน่ายสบู่ในภูมิปัญญาของไทย
2. เพื่อศึกษาวิธีการทาสบู่สมุนไพร
3. เพื่อที่จะให้สบู่สมุนไพรเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป
4. เพื่อนาสบู่ที่ทามาใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวเอง
5. เพื่อเป็นหนทางหารายได้และนาไปประกอบธุรกิจในขั้นต่อไป
6. เพื่อฝึกการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างเป็นหมู่คณะ
7. เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ในการทารูปแบบต่างๆของสบู่
8. เพื่อศึกษาสรรพคุณของพืชสมุนไพรชนิดต่างๆที่จะนามาเป็นส่วนผสมในการทาสบู่
วิธีการดาเนินการทาสบู่ก้อนใส (สูตรสมุนไพร)
ส่วนผสม
1. SOAPCHIP 1 กิโลกรัม
2. น้าสมุนไพร 1 ช้อนโต๊ะ
3. สมุนไพรที่ต้องการทา
4. น้าหอมกลิ่น DOVE
วิธีทา
1. นา SOAP CHIP ใส่ลงในภาชนะ นาไปตั้งในชามน้าเดือด (เหมือนการตุ๋นไข่) รอจนเกล็ดสบู่ละลาย
เป็นของเหลวใส เต็มน้าสมุนไพรที่เตรียมไว้ 1 ช้อนโต๊ะ คนให้เข้ากันแล้วดับไฟ
2. ตั้งสบู่ทิ้งไว้ รอจนอุณหภูมิลดลง เติมกลิ่น เติมสี ตามต้องการ
3. ทาวาสลินบางๆ หรือน้ามันมะกอก ที่พิมพ์ เพื่อให้สบู่หลุดออกได้ง่ายๆ
4. เทน้าสบู่ที่ได้ลงในแบบพิมพ์ รูปร่างตามต้องการทิ้งไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง ขึ้นกับเวลาและขนาดพิมพ์
5. เคาะสบู่ออกจากพิมพ์ แล้วทาการห่อด้วยฟิล์มยืด สบู่จะคงอยู่นาน
**หมายเหตุ** อย่าเติมน้าหอมในขณะที่สบู่ยังร้อน
ข้อควรระวังในการผลิตสบู่
1. เพื่อความปลอดภัยของผู้ผลิต ควรสวมถุงมือยาง รองเท้า กางเกงขายาว เสื้อแขนยาว ใส่ผ้าปิดปาก
ปิดจมูก และแว่นตา ขณะที่ทาการผลิตสบู่
2. อุปกรณ์ทุกชนิดที่ใช้ ห้ามใช้วัสดุ อะลูมิเนียม ดีบุก สังกะสี หรือโลหะอื่น ๆ นอกจากที่แนะนา เพราะ
โลหะเหล่านี้ จะทาปฏิกิริยากับโซดาไฟ เป็นอันตรายแก่ผู้ผลิตหรือผู้ใช้
5. สถานที่ผลิตควรมีอ่างน้า หรือถังใส่น้าสะอาดประมาณ 10 ลิตร เพื่อใช้กรณีฉุกเฉิน เช่น น้าด่าง
กระเด็นถูกผิวหนัง
6. ห้ามเด็กเล็ก อายุต่ากว่า 12 ปี และสัตว์เลี้ยง เข้าใกล้บริเวณที่ผลิต รวมถึงการให้ความรู้ และทาความ
เข้าใจถึงอันตรายของสารเคมี แก่สมาชิกที่ร่วมผลิต และบุตรหลาน
ข้อเสนอแนะ
1. ใช้แอลกอฮอล์ 95% ฉีดหลังจากเทสบู่ลงแบบพิมพ์เพื่อไล่ฟองอากาศ
2. นาสมุนไพรชนิดอื่นที่ชื่นชอบมาผสมลงในสบู่ เช่น มะเฟือง
3. สบู่ที่แกะออกจากแม่พิมพ์แล้วไม่ควรปล่อยให้โดยลมเพราะจะทาให้สบู่มีฟองน้อยลงจึงควรรีบห่อ
บรรจุภัณฑ์ที
สรุปผลการทาโครงงาน
กลีเซอลีนธรรมชาติสามารถนามาผสมกับสมุนไพรชนิดต่าง ๆ ได้เพื่อให้ได้สบู่สมุนไพรตามความ
ต้องการของ ผู้ใช้ โดยที่ปราศจากสารเคมีต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อร่างกายในระยะยาว ผิวหนังของ
คนเราต่างกันเราจึงเลือกใช้สบู่ที่ต่างชนิดกัน จึงมีสบู่หลากหลายให้คุณได้เลือกใช้ บางคนก็ชอบใช้
มะขาม บางคนก็ชอบใช้ขมิ้น ดังนั้น เราจึงสามารถทาเองได้โดยใช้กลีเซอรีนจากธรรมชาตินี้
สมุนไพรที่ใช้ก็หาได้ง่ายในท้องถิ่นราคาไม่แพงและยังให้ประโยชน์ต่อผิวเราได้ดีอีกด้วย
จัดทาโดย
นางสาว จงกลนี วงศ์คา รหัสนักศึกษา 55115100008
นางสาว สุภัสสรา เกื้อกาญจน์ รหัสนักศึกษา 55115100044
นางสาว เรือนแก้ว สวัสดิ์รักษา รหัสนักศึกษา 55115100052
ตอนเรียน A1
ตามหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

More Related Content

What's hot

บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
Gawewat Dechaapinun
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
Ta Lattapol
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามPornpimon Gormsang
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
ส.อ.ราชนาวี มณีรัตน์
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
sukanya petin
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
Thanyalak Chanmai
 
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวันไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวันYai Wanichakorn
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
Ta Lattapol
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
Z-class Puttichon
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

What's hot (20)

บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงาม
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
7.1 (1)
7.1 (1)7.1 (1)
7.1 (1)
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวันไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 

Similar to สบู่

สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรNattawoot Boonmee
 
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบกอย
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบกอยการผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบกอย
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบกอย
pngjh
 
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย(Full)
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย(Full)การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย(Full)
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย(Full)
pngjh
 
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอยการผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย
pngjh
 
Thai herbs
Thai herbsThai herbs
Thai herbs
Sarocha Somboon
 
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงโครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงPornthip Nabnain
 

Similar to สบู่ (7)

สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบกอย
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบกอยการผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบกอย
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบกอย
 
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย(Full)
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย(Full)การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย(Full)
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย(Full)
 
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอยการผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย
การผลิตสบู่เหลวจากว่านกาบหอย
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
 
Thai herbs
Thai herbsThai herbs
Thai herbs
 
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงโครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 

สบู่

  • 1.
  • 3. สบู่ เป็นเครื่องสาอางชนิดหนึ่งที่ใช้ในการทาความสะอาดร่างกาย เดิมใช้เพื่อทาความสะอาดร่างกายเท่านั้น ปัจจุบันกระบวนการผลิตสบู่ มีการเพิ่มส่วนผสมอื่นๆ เพื่อให้สบู่มีสรรพคุณตรงตามความต้องการของ ผู้บริโภคมากขึ้น เช่น มีสีสรรที่สวยงามน่าใช้ มีกลิ่นหอม และมีสรรพคุณทางยาในทางการค้า มีการใช้สาร สังเคราะห์เพิ่มขึ้นทาให้ผลิตภัณฑ์น่าใช้ บรรจุภัณฑ์สวยงามแต่แฝงไป ด้วยสารเคมีที่เป็นอันตราย มีพิษ ตกค้างและราคาสูง ปัจจุบันนิยมใช้พืชสมุนไพรที่มีอยู่ในธรรมชาติมาเป็นส่วนผสมเพิ่มเติมในสบู่ แทน การใช้สารเคมีสังเคราะห์ พืชสมุนไพรที่ใช้ มีสาระสาคัญและมีสรรพคุณทางยา เช่น มีน้ามันหอมระเหยที่ มีกลิ่นเฉพาะใช้ในการบาบัดโรค มีสีสรรสวยงาม หาง่าย ราคาถูก ประหยัด ปลอดภัย ไร้สารสังเคราะห์ และไม่มีพิษตกค้าง ทาให้สบู่สมุนไพรที่ผลิตขึ้นจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติมีคุณลักษณะเฉพาะที่หลากหลาย จึงเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นถึงความมหัศจรรย์ของสบู่สมุนไพรที่มีคุณค่ายิ่งของภูมิปัญญาไทย
  • 4. ดังนั้นทางเราจึงได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการทาสบู่ แล้วจัดทาสบู่สมุนไพรขึ้นมาจากกลีเซอรีนธรรมชาติ ที่ใช้ได้ผลอย่างดียิ่ง อีกทั้งยังไม่มีสารเคมีหรือสารพิษปนมาอีกด้วย สบู่นั้นเป็นผลจากปฏิกิริยาเคมีของ ส่วนผสมพื้นฐาน คือน้าด่าง (Sodium Hydroxide หรือ Potassium Hydroxide) กับน้ามัน ซึ่งในที่นี้ทามาจากน้ามันมะพร้าว ปฏิกิริยาเคมีนี้เรียกว่า Saponification ซึ่งจะทาให้ได้เกลือในรูปของแข็งที่ลื่นและมีฟอง ที่เราเรียกกันว่าสบู่ โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มักจะใช้กากน้ามันปิโตรเลียมเป็นเบสในการทาสบู่ ซึ่งโมเลกุลของน้ามัน ปิโตรเลียมจะมีขนาดใหญ่จนผิวไม่สามารถซึมซับได้ และยังก่อให้เกิดอาการ อุดตันได้อีกด้วย นอกจากนี้ส่วนประกอบสาคัญทุกชนิดที่ใช้ในกระบวนการผลิต ยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่ ได้จากธรรมชาติ คุณ จึงมั่นใจได้ว่าไม่มีสารสังเคราะห์ใดๆ เจือปนอยู่ในสบู่ จึงเป็นสบู่ธรรมชาติที่มีความปลอดภัย
  • 5. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการผลิตและจาหน่ายสบู่ในภูมิปัญญาของไทย 2. เพื่อศึกษาวิธีการทาสบู่สมุนไพร 3. เพื่อที่จะให้สบู่สมุนไพรเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป 4. เพื่อนาสบู่ที่ทามาใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวเอง 5. เพื่อเป็นหนทางหารายได้และนาไปประกอบธุรกิจในขั้นต่อไป 6. เพื่อฝึกการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างเป็นหมู่คณะ 7. เพื่อฝึกการคิดวิเคราะห์ในการทารูปแบบต่างๆของสบู่ 8. เพื่อศึกษาสรรพคุณของพืชสมุนไพรชนิดต่างๆที่จะนามาเป็นส่วนผสมในการทาสบู่
  • 6. วิธีการดาเนินการทาสบู่ก้อนใส (สูตรสมุนไพร) ส่วนผสม 1. SOAPCHIP 1 กิโลกรัม 2. น้าสมุนไพร 1 ช้อนโต๊ะ 3. สมุนไพรที่ต้องการทา 4. น้าหอมกลิ่น DOVE
  • 7. วิธีทา 1. นา SOAP CHIP ใส่ลงในภาชนะ นาไปตั้งในชามน้าเดือด (เหมือนการตุ๋นไข่) รอจนเกล็ดสบู่ละลาย เป็นของเหลวใส เต็มน้าสมุนไพรที่เตรียมไว้ 1 ช้อนโต๊ะ คนให้เข้ากันแล้วดับไฟ
  • 8. 2. ตั้งสบู่ทิ้งไว้ รอจนอุณหภูมิลดลง เติมกลิ่น เติมสี ตามต้องการ
  • 9. 3. ทาวาสลินบางๆ หรือน้ามันมะกอก ที่พิมพ์ เพื่อให้สบู่หลุดออกได้ง่ายๆ 4. เทน้าสบู่ที่ได้ลงในแบบพิมพ์ รูปร่างตามต้องการทิ้งไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง ขึ้นกับเวลาและขนาดพิมพ์
  • 10. 5. เคาะสบู่ออกจากพิมพ์ แล้วทาการห่อด้วยฟิล์มยืด สบู่จะคงอยู่นาน **หมายเหตุ** อย่าเติมน้าหอมในขณะที่สบู่ยังร้อน
  • 11. ข้อควรระวังในการผลิตสบู่ 1. เพื่อความปลอดภัยของผู้ผลิต ควรสวมถุงมือยาง รองเท้า กางเกงขายาว เสื้อแขนยาว ใส่ผ้าปิดปาก ปิดจมูก และแว่นตา ขณะที่ทาการผลิตสบู่ 2. อุปกรณ์ทุกชนิดที่ใช้ ห้ามใช้วัสดุ อะลูมิเนียม ดีบุก สังกะสี หรือโลหะอื่น ๆ นอกจากที่แนะนา เพราะ โลหะเหล่านี้ จะทาปฏิกิริยากับโซดาไฟ เป็นอันตรายแก่ผู้ผลิตหรือผู้ใช้ 5. สถานที่ผลิตควรมีอ่างน้า หรือถังใส่น้าสะอาดประมาณ 10 ลิตร เพื่อใช้กรณีฉุกเฉิน เช่น น้าด่าง กระเด็นถูกผิวหนัง 6. ห้ามเด็กเล็ก อายุต่ากว่า 12 ปี และสัตว์เลี้ยง เข้าใกล้บริเวณที่ผลิต รวมถึงการให้ความรู้ และทาความ เข้าใจถึงอันตรายของสารเคมี แก่สมาชิกที่ร่วมผลิต และบุตรหลาน
  • 12. ข้อเสนอแนะ 1. ใช้แอลกอฮอล์ 95% ฉีดหลังจากเทสบู่ลงแบบพิมพ์เพื่อไล่ฟองอากาศ 2. นาสมุนไพรชนิดอื่นที่ชื่นชอบมาผสมลงในสบู่ เช่น มะเฟือง 3. สบู่ที่แกะออกจากแม่พิมพ์แล้วไม่ควรปล่อยให้โดยลมเพราะจะทาให้สบู่มีฟองน้อยลงจึงควรรีบห่อ บรรจุภัณฑ์ที
  • 13. สรุปผลการทาโครงงาน กลีเซอลีนธรรมชาติสามารถนามาผสมกับสมุนไพรชนิดต่าง ๆ ได้เพื่อให้ได้สบู่สมุนไพรตามความ ต้องการของ ผู้ใช้ โดยที่ปราศจากสารเคมีต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อร่างกายในระยะยาว ผิวหนังของ คนเราต่างกันเราจึงเลือกใช้สบู่ที่ต่างชนิดกัน จึงมีสบู่หลากหลายให้คุณได้เลือกใช้ บางคนก็ชอบใช้ มะขาม บางคนก็ชอบใช้ขมิ้น ดังนั้น เราจึงสามารถทาเองได้โดยใช้กลีเซอรีนจากธรรมชาตินี้ สมุนไพรที่ใช้ก็หาได้ง่ายในท้องถิ่นราคาไม่แพงและยังให้ประโยชน์ต่อผิวเราได้ดีอีกด้วย
  • 14.
  • 15. จัดทาโดย นางสาว จงกลนี วงศ์คา รหัสนักศึกษา 55115100008 นางสาว สุภัสสรา เกื้อกาญจน์ รหัสนักศึกษา 55115100044 นางสาว เรือนแก้ว สวัสดิ์รักษา รหัสนักศึกษา 55115100052 ตอนเรียน A1 ตามหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557