SlideShare a Scribd company logo
การเขียนโปรแกรมแปลภาษาการเขียนโปรแกรมแปลภาษา
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
มนุษย์ใช้ภาษาในการสื่อสารมาตั้งแต่สมัยโบราณ การใช้
ภาษาเป็นเรื่องที่มนุษย์พยายามถ่ายทอดความคิดและความรู้สึกต่าง ๆ
เพื่อการโต้ตอบและสื่อความหมาย ภาษาที่มนุษย์ใช้ติดต่อสื่อสารใน
ชีวิตประจาวัน เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรือภาษาจีน ต่างเรียกว่า
“ภาษาธรรมชาติ” (Natural Language)
ภาษา คอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง (Machine
Language) ภาษาระดับต่า (Low Level Language) และภาษาระดับสูง
(High Level Language)
1. ภาษาเครื่อง (Machine Language)
การ เขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานในยุคแรก
ๆ จะต้องเขียนด้วยภาษาซึ่งเป็นที่ยอมรับของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
เรียกว่า “ภาษาเครื่อง” ภาษานี้ประกอบด้วยตัวเลขล้วน ทาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ทันที ผู้ที่จะเขียนโปรแกรมภาษาเครื่อง
ได้ต้องสามารถจารหัสแทนคาสั่งต่าง ๆ ได้และในการคานวณต้อง
สามารถจาได้ว่าจานวนต่าง ๆ ที่ใช้ในการคานวณนั้นถูกเก็บไว้ที่
ตาแหน่งใด
2. ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
เนื่อง จากภาษาเครื่องเป็นภาษาที่มีความยุ่งยากในการเขียนดังได้
กล่าวมาแล้ว จึงไม่มีผู้นิยมและมีการใช้น้อย ดังนั้นได้มีการพัฒนา
ภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นอีกระดับหนึ่ง โดยการใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นรหัส
แทนการทางาน การใช้และการตั้งชื่อตัวแปรแทนตาแหน่งที่ใช้เก็บจานวนต่าง
ๆ ซึ่งเป็นค่าของตัวแปรนั้น ๆ การใช้สัญลักษณ์ช่วยให้การเขียนโปรแกรมนี้
เรียกว่า “ภาษาระดับต่า”ภาษาระดับต่าเป็นภาษาที่มีความหมายใกล้เคียงกับ
ภาษาเครื่อง มากบางครั้งจึงเรียกภาษานี้ว่า “ภาษาอิงเครื่อง” (Machine –
Oriented Language) ตัวอย่างของภาษาระดับต่า ได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี
3. ภาษาระดับสูง (High Level Language)
ภาษา ระดับสูงเป็นภาษาที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการเขียน
โปรแกรม กล่าวคือลักษณะของคาสั่งจะประกอบด้วยคาต่าง ๆ ใน
ภาษาอังกฤษ ซึ่งผู้อ่านสามารถเข้าใจความหมายได้ทันที ผู้เขียนโปรแกรมจึง
เขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงได้ง่ายกว่าเขียนด้วยภาษาแอ สเซมบลี
หรือภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีมากมายหลายภาษา อาทิเช่น ภาษาฟอร์
แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษา
เบสิก(BASIC) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา
(Java) เป็นต้น
โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็นภาษาเครื่อง คาสั่งหนึ่งคาสั่งในภาษาระดับ
สูงจะถูกแปลเป็นภาษาเครื่องหลายคาสั่งภาษาระดับสูงที่จะกล่าวถึงในที่นี้
ได้แก่
1) ภาษาฟอร์แทรน (FORmula TRANstation : FORTRAN)
2) ภาษาโคบอล (Common Business Oriented Language : COBOL)
3) ภาษาเบสิก (Beginner’s All – purpose Symbolic Instruction Code :
BASIC)
4) ภาษาปาสคาล (Pascal)
5) ภาษาซีและซีพลัสพลัส (C และ C++)
6) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic)
7) การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ (Visual Programming)
8) ภาษาจาวา (Java)
9) ภาษาเดลฟาย (Delphi)
การทางานของโปรแกรมแปลภาษา
ในการประมวลผลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาระดับสูง จาเป็นต้อง
อาศัยโปรแกรมที่ทาหน้าที่ช่วยในการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงให้
เป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
ได้แก่
1) คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการแปล
โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงที่เรียกกันว่า “โปรแกรมต้นฉบับ”
2) อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการ
แปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง
เช่นเดียวกับคอมไพเลอร์
ประเภทของประโยคในภาษาคอมพิวเตอร์
ประเภทของประโยคในภาษาคอมพิวเตอร์
ทุกภาษาจะต้องมีโครงสร้างทางภาษาประกอบกันเป็นประโยคต่างๆ
แบ่งได้เป็น 5 ประเภท ดังนี้
1.ประโยคที่ใช้ในการระบุตัวแปร ใช้ในการระบุชื่อและชนิดของตัว
แปร ซึ่งตัวแปรจะใช้เป็นชื่อในการอ้างอิงข้อมูลที่ถูกจัดเก็บใน
หน่วยความจา
2.ประโยคที่ใช้ในการอ่านหรือแสดงผลลัพธ์ ใช้ในการอ่านข้อมูลเข้า
มาเก็บในตัวแปรที่ระบุและใช้แสดงผลลัพธ์
3.ประโยคควบคุม ใช้ในการควบคุมการทางานว่าจะให้ทางานในส่วน
ใดของโปรแกรมซึ่งถ้าไม่มีประโยคควบคุมการทางาน จะทาเรียง
ตามลาดับคาสั่งจากประโยคแรกไปยังประโยคสุดท้าย
4.ประโยคที่ใช้การคานวณ ใช้ในการคานวณค่าทางคณิตศาสตร์
5.ประโยคที่ใช้บอกจบการทางาน ใช้ระบุจุดจบของการทางาน
คุณสมบัติของการเขียนโปรแกรม
1.มีความถูกต้องและเชื่อถือได้การทางานของโปรแกรมต้องให้
ผลลัพธ์ที่ถูกต้องแม่นยา ไม่คลาดเคลื่อน โปรแกรมที่มีความสมบรูณ์
มากที่สุด คือต้องผ่านการทดสอบที่ครอบคลุม โปรแกรมต้องนิ่งไม่
เกิดปัญหา เพราะอาจถูกนาไปใช้ในการตัดสินใจในเรื่องสาคัญของ
ผู้บริหาร
2.มีความเป็นมิตรต่อผู้ใช้ ปัจจุบันมีผู้ใช้งานโปรแกรมต่างๆมากขึ้น ซึ่งอาจจะมี
ทั้งผู้ที่มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดีจนถึงผู้ที่เริ่มต้นใช้งานใหม่ หรือ
อาจจะไม่มีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์เลยการสร้างโปรแกรมให้สามารถใช้
งานได้ง่าย สะดวก และตอบสนองต่อผู้ใช้งานได้ทุกระดับจึงถือว่าเป็นสิ่งสาคัญ
3.ค่าใช้จ่ายต่า ก่อนการพัฒนาต้องวางแผนและประเมินค่าใช้จ่าย เมื่อพัฒนาก็
ต้องควบคุมค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามแผน ในมุมมองของผู้ใช้โปรแกรมจะต้อง
ทางานให้คุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป ในมุมมองของผู้พัฒนา ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา
ต้องต่ากว่าราคาที่เสนอแก่ลูกค้า
4.ต้องอ่านง่ายและสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
โปรแกรมที่มีความสามารถสูง มักมีโครงสร้างที่ใหญ่และวับซ้อน
จึงควรมีการออกแบบที่เป็นมอดูล ย่อยที่มีอิสระต่อกันและเรียบง่ายเพื่อให้
ผู้พัฒนาโปรแกรมคนอื่นสามารถเข้าใจ นาไปพัฒนาต่อให้เหมาะสมกับยุดสมัย
ได้การนาส่วนของโปรแกรมมาใช้ใหม่หรือใช้งานร่วมกับโปรแกรมอื่น ย่อมทา
ให้ประหยัดงบประมาณและสามารถนามาแก้ปัญหาได้ทันเวลา
5.มีความปลอดภัย
ข้อมูลสาคัญมีแนวโน้มในการเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น รวมถึงการเผยแพร่
ในอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดความเสี่ยงในเรื่องความปลอดภัยของข้อมูล โปรแกรม
ที่ดีต้องมีความปลอดภัยสูง ทั้งความปลอดภัยจากปัจจัยภายนอก และความ
ปลอดภัยจากปัจจัยภายใน
6.ใช้เวลาในการพัฒนาไม่นาน เวลาที่ใช้ในการพัฒนาเป็นตัวชี้วัดที่บ่งบอกถึง
คุณภาพของโปรแกรม การใช้เวลาที่พัฒนามากจนเกินไปอาจทาให้ปัญหาที่
ต้องการแก้ไขนั้นได้เปลี่ยนโครงสร้างหรือรูปแบบไป ทาให้การวางแผน
แก้ปัญหาหรือโปรแกรมไม่สามารถใช้งานได้ หรืออาจจะไม่จาเป็นต้องแก้ไข
แล้วก้อเป็นได้
ประเภทของการเขียนโปรแกรม
หมายถึง คาสั่งคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ ที่เขียนขึ้นเป็น
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL)
ภาษาเบสิก (BASIC) หรือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ฯ คา "โปรแกรม" นี้
อาจจะเรียกเป็นชื่ออื่นก็ได้ เช่น ซอฟต์แวร์ (software) หรือ แอพพลิเคชัน
(application) โปรแกรมนั้น แบ่งได้เป็นหลายประเภท ประเภทแรกคือประเภทที่
ผู้ใช้เขียนขึ้นเองเพื่อให้ตรงกับความต้องการ กับอีกประเภทหนึ่งมีคนทา
สาเร็จรูปไว้ขาย เช่น โปรแกรมสาหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรม
ประมวลผลคา (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet)
การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง
การโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง หรือ การโปรแกรมโครงสร้าง คือ การ
กาหนดขั้นตอนให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานโดยมีโครงสร้างการควบคุม
พื้นฐาน 3 หลักการ ได้แก่ การทางานแบบตามลาดับ(Sequence) การเลือกกระทา
ตามเงื่อนไข(Decision) และ การทาซ้า(Loop)
1.โครงสร้างแบบลาดับ
คือ การเขียนให้ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทาทีละบรรทัด
จากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทางาน 3
กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์จะเขียนเป็นผังงาน(Flowchart)
ในแบบตามลาดับได้ตามภาพ
2.โครงสร้างแบบมีทางเลือก
คือ โครงสร้างที่มีเงื่อนไขขั้นตอนการทางานบางขั้นตอนต้องมีการ
ตัดสินใจเพื่อเลือกวิธี การประมวลผลขั้นต่อไป และจะมีบางขั้นตอนที่ไม่ได้รับ
การประมวลผล การตัดสินใจอาจมีทางเลือกทางเดียวหรือโครงสร้างที่มี
ทางเลือก 2 ทาง เราเรียกชื่อว่าโครงสร้างแบบ if…then…else และโครงสร้างที่
มีทางเลือกมากกว่า 2 ทาง เราเรียกชื่อว่า โครงสร้างแบบ case ซึ่งสามารถแสดง
การทางานของโครงสร้างนี้โดยใช้ผังงานได้ดังรูป
ภาพโครงสร้างแบบ if…then…else
ภาพโครงสร้างแบบ case
3.โครงสร้างแบบทาซ้า
คือ โครงสร้างที่ขั้นตอนการทางานบางขั้นตอนได้รับการประมวลผล
มากกว่า 1 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขบางประการ โครงสร้างแบบทาซ้านี้ต้องมี
การตัดสินใจในการทางานซ้า และลักษณะการทางานของโครงสร้างแบบนี้มี 2
แบบ ได้แก่ แบบที่มีการตรวจสอบเงื่อนไขในการทาซ้าทุกครั้งก่อนดาเนินการ
กิจกรรมใดๆ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทางานซ้าไปเรื่อยๆ และหยุดเมื่อเงื่อนไขเป็น
เท็จ เรียกการทางานลักษณะนี้ว่า การทาซ้าแบบ do while และแบบที่ทากิจกรรม
ซ้าเรื่อยๆ
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมในตัวแปลภาษาแต่ละตัวจะมีความแตกต่างกันในเรื่องของ
การใช้โปรแกรมตัวแปรภาษา แต่โครงสร้างของโปรแกรมภาษานั้นจะเหมือน
หรือคล้ายกันมากโดยโครงาร้างงของภาษาcแบ่งออกเป็น5ส่วน ดังนี้
1.พรีโพรเซสเซอร์ไดเรกทีฟส์
2.ส่วนการกาหนดค่า
3.ส่วนฟังก์ชั่นหลัก
4.การสร้างฟังก์ชั่นและการใช้งาน
5.ส่วนอธิบายโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คือหนึ่งในรูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ให้ความสาคัญกับ วัตถุ ซึ่ง
สามารถนามาประกอบกันและนามาทางานรวมกันได้ โดยการแลกเปลี่ยน
ข่าวสารเพื่อนามาประมวลผลและส่งข่าวสารที่ได้ไปให้ วัตถุ อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้ทางานต่อไป
แนวคิดการเขียนโปรแกรมแบบดังเดิมมักนิยมใช้ การเขียนโปรแกรมเชิง
กระบวนการ (Procedural Programming) ซึ่งให้ความสาคัญกับขั้นตอน
กระบวนการที่ทา โดยแบ่งโปรแกรมออกเป็นส่วนๆตามลาดับขั้นตอนการ
ทางาน แต่แนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุนั้นให้ความสาคัญกับ ข้อมูล(data)
และ พฤติกรรม(behavior) ของวัตถุ และความสัมพันธ์กันระหว่างวัตถุกัน
มากกว่า
แนวคิดเชิงวัตถุ (Object Oriented Concept)
ถ้าดูพจนานุกรม Object หรือวัตถุ หมายถึง “สิ่งที่จับต้องได้ สิ่งที่สัมผัสได้หรือ
สิ่งที่รู้สึกได้” ในชีวิตประจาวันของเรา วัตถุมีมากมาย เช่น หนังสือ สมุด ปากกา
ฯลฯ
ส่วนวิธีการแบบ Object Oriented นั้นเป็นการแปลงความต้องการของระบบให้
เป็นรายการของวัตถุหรือออปเจค
บูช (Grady Booch) ได้ให้นิยามของออปเจคไว้ดังนี้ “ออปเจคจะประกอบไป
ด้วยคุณสมบัติ 3 ประการคือ สถานะ (state), พฤติกรรมการทางาน (Behavior)
และรูปพรรณ (Identify) โครงสร้างและการกระทาของออปเจคที่คล้ายกันจะถูก
กาหนดขึ้นจากคลาสเดียวกัน”
ความหมายของ Object ตามนิยามที่กาหนดไว้จาก Java คือ
"ซอฟต์แวร์ที่ประกอบไปด้วย ตัวแปรและ method" และ object จะมีสถานะ
อยู่สองสถานะ คือ 1). สถานะภาพ หรือ คุณลักษณะ (State) และ 2).
กระบวนการ หรือ การกระทา (Behavior) ตัวอย่างเช่น รถยนต์ มี คุณลักษณะ
คือ ยี่ห้อ รุ่น สี และมี กระบวนการ คือ เดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยวได้เป็นต้น
Object ที่เกิดมาจาก class นั้นเราเรียกกันว่า instance ของ class และ
object นี้จะมีส่วนประกอบที่class มีให้คือ ตัวแปรต่าง ๆ ที่อยู่ใน class ตัวแปร
เหล่านี้จะมีข้อแตกต่างกัน คือ อาจเป็นตัวแปรที่เป็น class variable และอาจเป็น
ตัวแปรที่เป็น instance variable
คลาส (Class) เป็นกลุ่มของออปเจคที่ใช้สถานะและพฤติกรรมการทางาน
ร่วมกัน คลาสนาเสนอสิ่งที่เป็นนามธรรม ในขณะที่ออปเจคใช้สาหรับการ
นาเสนอสิ่งที่เป็นรูปธรรม ในมุมมองของการโปรแกรมคลาสจะมีลักษณะ
เช่นเดียวกับชนิดของข้อมูล (Data Types) ที่ถูกกาหนดไว้ในโปรแกรม ส่วน
ออปเจคจะเป็นเสมือนตัวแปร (Variables) ที่ใช้นั่นเอง
วิธีการพัฒนาเชิงวัตถุ (Object Oriented Approach)
การใช้โปรแกรมเชิงวัตถุเป็นการอาศัยแนวคิดของคลาสมาใช้เป็นส่วนประกอบ
หลักในการพัฒนาระบบ และเป็นจุดเริ่มต้นของวิธีการพัฒนาระบบแนวใหม่ ที่
เรียกว่า การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ (Object Oriented Analysis and
Design) ซึ่งมีแนวโน้มที่จะได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ
การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ
การเขียนโปรแกรมแบบจินภาพหรือบางครั้งเรียกว่า วิชวล ซึ่งสอดคล้องกับชื่อ
คือ เสมือนจริง โดยที่โปรแกรมแบบจินภาพนี้มีหลักการเขียนโปรแกรมแบบเชิง
วัตถุ
การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ คือ การพัฒนาโปรแกรมที่ผู้เขียนโปรแกรม
สามารถมองเห็นผลลัพธ์ของงาน เมื่อมีการกระทาการโปรแกรมได้ตั้งแต่ขณะ
พัฒนาโปรแกรม โดยไม่จาเป็นต้องรอให้การพัฒนาเสร็จสมบูรณ์ โดยตัว
แปลภาษาได้เตรียมสิ่งแวดล้อมในการทางาน (development environment) และ
เครื่องมือ หรือชิ้นส่วนที่ผู้พัฒนาต้องใช้ในการสร้างงานไว้ให้สามารถเรียกใช้
งานได้โดยที่ไม่ต้องลงมือสร้างเอง เครื่องมือหรือชิ้นส่วนที่ระบบเตรียมไว้ให้นี้
เรียกว่า คอมโพเนนต์ (component)
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
1. กาหนดปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา (Problem Definition and Problem
Analysis) ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
1.1 กาหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อพิจารณาว่าโปรแกรมต้องทาการ
ประมวลผลอะไรบ้าง
1.2 พิจารณาข้อมูลนาเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะต้องนาข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์
ข้อมูลมีคุณสมบัติเป็นอย่างไร ตลอดจนถึงลักษณะและรูปแบบของข้อมูลที่จะ
นาเข้า
1.3 พิจารณาการประมวลผล เพื่อให้ทราบว่าโปรแกรมมีขั้นตอนการ
ประมวลผลอย่างไรและมีเงื่อนไปการประมวลผลอะไรบ้าง
1.4 พิจารณาข้อสนเทศนาออก เพื่อให้ทราบว่ามีข้อสนเทศอะไรที่จะแสดง
ตลอดจนรูปแบบและสื่อที่จะใช้ในการแสดงผล
2. เขียนผังงานและซูโดโค้ด (Pseudocoding)
หลังจากที่ได้วิเคราะห์ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะต้องใช้เครื่องมือช่วยในการ
ออกแบบโปรแกรม ซึ่งยังไม่ได้เขียนเป็นโปรแกรมจริงๆ แต่จะช่วยให้เขียนโปรแกรมได้
ง่ายขึ้น และทาให้ผู้อื่นนาโปรแกรมของเราไปพัฒนาต่อได้ง่ายขึ้น และทาให้ผู้อื่นนา
โปรแกรมของเราไปพัฒนาได้ง่ายขึ้น โดยเขียนเป็นลาดับขั้นตอนการทางานของ
โปรแกรมที่เรียกว่า อัลกอริทึม (Algorithm) ซึ่งจะแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา โดยใช้
ประโยคที่ชัดเจน และมีรายละเอียดการทางานพอสมควรเพียงพอที่จะนาไปเขียนเป็น
โปรแกรมให้ทางานจริง โดยอัลกอริทึมนั้นอาจเขียนให้อยู่ในรูปของรหัสจาลองหรือ ซูโด
โค้ด (Pseudo-code) หรือเขียนเป็น ผังงาน (Flowchart) ก็ได้โดย ซูโดโค้ด จะเป็น
คาอธิบายขั้นตอนการทางานของโปรแกรม เป็นคาย่อไม่มีรูปแบบเฉพาะตัว โดยแต่ละ
ส่วนจะเป็นแนวทางในการเขียนโปรแกรมซึ่งทาให้เขียนโปรแกรมเป็นภาษาต่างๆ ได้ง่าย
ขึ้น ส่วน ผังงาน จะใช้สัญลักษณ์ต่างๆ แทนการทางานและทิศทางของโปรแกรม
3. เขียนโปรแกรม (Programming)
การเขียนโปรแกรมจะต้องเขียนตามภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจโดยอาจใช้ภาษา
ระดับสูงหรือระดับต่าซึ่งสามารถเลือกได้หลายภาษาการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา
จะต้องทาตามหลักไวยากรณ์ (Syntax) ที่กาหนดไว้ในภาษานั้น นอกจากนี้ การ
เลือกใช้ภาษาจะต้องพิจารณาถึงความถนัดของผู้เขียนโปรแกรมด้วย
4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing and Debugging)
หลังจากเขียนโปรแกรมแล้วจาเป็นต้องทดสอบโปรแกรมเพื่อหาจุดผิดพลาด
ของโปรแกรมว่ามีหรือไม่ และตรวจสอบจนไม่พบที่ผิดอีก จุดผิดพลาดของ
โปรแกรมนี้เรียกว่า บัก (Bug) ส่วนการแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้อง เรียกว่า ดีบัก
(Debug) โดยทั่วไปแล้วข้อผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรมมี 2 ประเภท คือ
4.1 การเขียนคาสั่งไม่ถูกต้องตามหลักการเขียนโปรแกรมภาษานั้นๆ ซึ่งเรียกว่า
Syntax Error หรือ Coding Error ข้อผิดพลาดประเภทนี้เรามักพบตอนแปลภาษา
โปรแกรมเป็นรหัสภาษาเครื่อง
4.2 ข้อผิดพลาดทางตรรก หรือ Logic Error เป็นข้อผิดพลาดที่โปรแกรม
ทางานได้ แต่ผลลัพธ์ออกมาไม่ถูกต้อง
5. ทาเอกสารและบารุงรักษาโปรแกรม (Program Documentation and
Maintenance)
ขั้นตอนนี้ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
สะดวกในการตรวจสอบข้อผิดพลาดโดยเขียนเป็นเอกสารประกอบโปรแกรม
ขึ้นมา โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
5.1 คู่มือการใช้หรือ User Document หรือ User Guide ซึ่งจะอธิบายการใช้
โปรแกรม
5.2 คู่มือโปรแกรมเมอร์ หรือ Program Document หรือ Technical Reference
ซึ่งจะอานวยความสะดวกในการแก้ไขโปรแกรม และพัฒนาโปรแกรมในอนาคต
โดยจะมีรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับโปรแกรม เช่น ชื่อโปรแกรม การรับข้อมูล การ
พิมพ์ผลลัพธ์ขั้นตอนต่างๆ ในโปรแกรมเป็นต้น
ส่วนการบารุงรักษาโปรแกรม (Maintenance) เป็นการที่ผู้เขียน
โปรแกรมจะต้องคอยตรวจสอบการใช้โปรแกรมจริงเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดซึ่ง
อาจเกิดขึ้นในภายหลัง รวมทั้งพัฒนาโปรแกรมให้ทันสมัยอยู่เสมอ

More Related Content

What's hot

ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
สอบ
สอบสอบ
สอบ
RewTD89
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
นายธนกฤต สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
นายธนกฤต  สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2นายธนกฤต  สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
นายธนกฤต สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
Thanakrit Singhsa
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
monchai chaiprakarn
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
Chanikan Kongkaew
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Wityaporn Pleeboot
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Last'z Regrets
 

What's hot (20)

ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-730 วีรภัทร-ปวช.3-7
30 วีรภัทร-ปวช.3-7
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
สอบ
สอบสอบ
สอบ
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
นายธนกฤต สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
นายธนกฤต  สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2นายธนกฤต  สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
นายธนกฤต สิงห์สา เลขที่ 33 ม.5/2
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-719 อมรเทพ-ปวช.3-7
19 อมรเทพ-ปวช.3-7
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 

Similar to การเขียนโปรแกรมภาษา

16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
benz18
 
lesson1
lesson1lesson1
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
Thanisorn Deenarn
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
naraporn buanuch
 
15 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-715 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-7
naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
markno339
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
mee_suwita
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer languageIrinApat
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 
Software
SoftwareSoftware
Software
Tay Chaloeykrai
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
Group1st
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
naraporn buanuch
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
tyt13
 

Similar to การเขียนโปรแกรมภาษา (20)

16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
15 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-715 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer language
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 

การเขียนโปรแกรมภาษา