SlideShare a Scribd company logo
1.1 การกู้เอกราชของพระเจ้าตากสินมหาราช
- เมื่อพระเจ้าตากสินได้ฝ่ าวงล้อมของพม่า ได้
เข้ายึดหัวเมืองตะวันออก เมื่อรวบรวมผู้คนได้ก็
โจมตีเมืองธนบุรี และค่ายโพธิ์สามต้น สามารถกู้
เอกราชได้สาเร็จภายใน 7 เดือน
1.2 สถาปนากรุงธนบุรี
- เมื่อพระเจ้าตากสินกู้เอกราชได้
สาเร็จ ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้อพยพผู้คนเคลื่อนย้ายลงมาทาง
ใต้ ตั้งราชธานีขึ้นใหม่ที่เมืองธนบุรี
เรียกนามราชธานีว่า กรุงธนบุรี
ศรีมหาสมุทร
1.3 การปราบปรามชุมนุมต่าง ๆ
- เมื่อพระเจ้าตากสินกู้เอกราชได้
สาเร็จ ก็ทรงรวมประเทศเป็นหนึ่ง
เดียวโดยการปราบปรามชุมนุม
พิษณุโลก ชุมนุมเจ้าพิมาย ชุมนุม
นครศรีธรรมราช และชุมนุมเจ้า
พระฝาง เป็นชุมนุมสุดท้าย
ขณะที่พระเจ้าตากสิน ฯ ขึ้นครองราชย์สมบัตินั้น บ้านเมืองเศรษฐกิจตกต่า
ที่สุดขาดแคลนข้าวปลาอาหาร เกิดความอดอยากยากแค้น มีปล้นสะดมแบ่งชิง
อาหารอยู่ทั่วไป และยังเกิดภัยธรรมชาติซ้าเติม พระเจ้าตากสิน ฯ ได้ทรง
แก้ปัญหาเศรษฐกิจด้วยกุศโลบาย ดังต่อไปนี้
2.1 พระราชทานข้าวสารให้บรรดาข้าราชการ ทหาร ลพเรือนทั้งไทย และจีน
2.2 ทรงซื้อข้าวสารจากจีนในราคาที่แพง ทาให้จีนนาข้าวมาขายที่กรุงธนบุรี
มากขึ้น ทาให้ข้าวสารราคาถูกลง
2.3 ให้ประชาชนทานาปีละ 2 ครั้ง
2.4 ทรงปราบปรามโจรผู้ร้ายที่ปล้นสะดม โดยใช้มาตรการขั้นเด็ดขาด
2.5 ปรับปรุงพื้นที่นอกกาแพงเมืองให้เป็นทะเลตมเพื่อปลูกข้าว
3.1 การสร้างสังฆมณฑล จากการเสียกรุงครั้งที่ 2 วัด พระคัมภีร์ ถูกเผาผลาญ
พระสงฆ์กระจัดกระจาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ดังนี้
3.1.1 โปรดเกล้าให้ประชุมสงฆ์ที่วัดบางหว้าใหญ่ แล้วเลือกตั้งสมเด็จ
พระสังฆราช และแต่งตั้งพระเถรานุเถระต่าง ๆ ให้ไปอยู่ตามพระอารามต่าง ๆ
3.1.2 จับสึกพระสงฆ์ในหัวเมืองฝ่ ายเหนือพวกเจ้าพระฝาง กระทาผิด
ละเมิดพระวินัยบัญญัติ
3.2 ทรงรวบรวม และสังคายนาพระไตรปิฎก ดังนี้
3.2.1 เมื่อปราบชุมนุมเจ้านครที่เมืองนครศรีธรรมราชแล้ว ได้ยืมคัมภีร์
พระไตรปิฎกของเมืองนครศรีธรรมราชมาคัดลอกไว้ที่กรุงธนบุรี
3.2.2 ทรงนาพระไตรปิฎกจากเมืองสวางคบุรีลงมาสอบทานกับต้นฉบับที่
ได้มาจากเมืองนครศรีธรรมราช
3.2.3 นิมนต์พระไปยังกัมพูชา และเมืองนครศรีธรรมราช เพื่อรวบรวม
คัมภีร์พระวิสุทธิมรรค เข้ามาคัดลอกสร้างไว้ในกรุงธนบุรี
3.3 การสร้าง และปฎิสังขรณ์วัดที่สาคัญ ได้แก่
3.3.1 วัดบางยี่เรือใต้ หรือวัดบางยี่เรือนอก
ทรงบูรณปฏิสังขรณ์มากที่สุด เพราะเป็นวัดที่ถวาย
พระเพลิงศพของพระราชมารดาในพระองค์ และเป็น
วัดที่พระองค์ประทับแรมเพื่อเจริญพระกรรมฐาน
3.3.2 วัดหงส์อาวาสวิหาร
เป็นวัดที่อยู่ใกล้พระราชฐานจึงเป็น
พระอารามที่สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ
และบุคคลสาคัญในสมัยนั้นได้เสด็จ
มาผนวช และบวชกัน
3.3.3 วัดแจ้ง เป็นวัดที่อยู่ใน
เขตพระราชฐาน จึงไม่มีพระสงฆ์
อยู่อาศัย พระเจ้าตากสินได้อัญเชิญ
พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรณ์
หรือพระแก้วมรกต กับพระบาง
จากเมืองเวียงจันทน์ มาไว้ที่วัดนี้
4.1 กวี และวรรณกรรม
4.1.1 สมเด็จพระเจ้าตากสิน ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์
4.1.2 หลวงสรชิต (หน) แต่งเรื่อง ลิลิตเพชรมงกุฎ อิเหนาคาฉันท์
4.1.3 นายสวน มหาดเล็ก แต่งโคลงยอพระเกียรติสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
4.1.4 พระยามหานุภาพ แต่งนิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน เรียก
อีกอย่างว่า นิราศเมืองกวางตุ้ง
4.2 จิตรกรรม โปรดเกล้าให้ช่าง
เขียน สมุดภาพไตรภูมิ ให้ถูกต้อง
ตามพระบาลี เพื่อให้คนทั้งหลาย
ได้มีความเข้าใจในเรื่องนรก
สวรรค์ถูกต้อง
4.3 สถาปัตยกรรม ส่วนใหญ่จะเป็น
ช่างฝึกหัดใหม่ ตัวอย่างช่างฝีมือ
สมัยธนบุรี ได้แก่
4.3.1 พระแท่นบรรทมของ
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ปัจจุบัน
ประดิษฐานอยู่ในวิหารเล็ก วัดอินทา
ราม ฝั่งธนบุรี
4.3.2 พระแท่นสาหรับประทับ
เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ทาด้วย
ไม้แผ่นเดียว ปัจจุบันประดิษฐาน
อยู่ในวิหารเล็ก หน้าพระปรางค์วัด
อรุณราชวราราม ฝั่งธนบุรี
4.3.3 ตู้ลายรดนา ปัจจุบันอยู่
ในหอสมุดวชิรญาณ พิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติ
4.3.4 พระราชวังเดิม เป็นที่
ประทับว่าราชการในสมัยนั้น ปัจจุบัน
อยู่ในบริเวณที่ทาการกองทัพเรือ ใกล้
วัดอรุณราชวราราม
4.4 นาฏกรรม หรือนาฏศิลป์ ทรงโปรดเกล้าให้นา
ละครหญิงของเจ้านคร เข้ามาเป็นครูฝึกสมทบกับ
พวกละครต่าง ๆ ที่ทรงรวบรวมได้มาจากที่อื่น
ฝึกหัดเป็นละครหลวงขึ้นใหม่ในกรุงธนบุรี
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย

More Related Content

What's hot

6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
พัน พัน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
Jaru O-not
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
Apirak Potpipit
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-4page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-4pageกิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-4page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
krupeem
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
peter dontoom
 

What's hot (20)

พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-4page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-4pageกิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-4page
กิจกรรมเสริมทักษะ อาณาจักรอยุธยา ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f16-4page
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 

Viewers also liked

การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
tumetr1
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารpptapple_clubx
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ARM ARM
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
Sukanda Panpetch
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 

Viewers also liked (7)

การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 

More from คุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง

กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
Pp1
Pp1Pp1
Patitin57
Patitin57Patitin57
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 

More from คุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง (10)

กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
S2
S2S2
S2
 
S1
S1S1
S1
 
56 vs57
56 vs5756 vs57
56 vs57
 
Social
SocialSocial
Social
 
Pp1
Pp1Pp1
Pp1
 
Patitin57
Patitin57Patitin57
Patitin57
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
 
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
 

กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย

Editor's Notes

  1. การกู้อิสรภาพ สาเหตุของการหลบหนีออกจากรุงศรีอยุธยาของพระยาตาก เพราะเกิดความท้อใจในความอ่อนแอของพระเจ้าเอกทัศน์ และมองไม่เห็นหนทางที่จะเอาชนะข้าศึกได้ จึงตัดสินใจฝ่าวงล้อมของพม่าออกไปทางทิศตะวันออกไปตั้งมั่นครั้งแรกที่เมืองระยอง และเข้ายึดเมืองจันทบุรี เมืองตราดตามลำดับ ทำให้พระยาตากมีอำนาจสิทธิ์ขาดในหัวเมืองชายทะเลตะวันออกทั้งหมด การที่พระยาตากได้เมืองจันทบุรี และเมืองตราดไว้ในอำนาจ ทำให้บรรดาพ่อค้าสำเภาจีนยอมอ่อนน้อม ส่งผลให้เศรษฐกิจดีขึ้น ประกอบกับได้มีมิตรสหาย ข้าราชการเก่าร่นเดียวกันได้เล็ดลอดหนีข้าศึกจากกรุงศรีอยุธยามาเข้าร่วมเป็นพรรคพวก ทำให้พระยาตากได้แม่ทัพนายกองที่มีความสามารถมาร่วมงานมากขึ้น เมื่อพระยาตากสะสมกำลังได้เพียงพอแล้ว ก็นกกองทัพเรือประมาณ 100 ลำเศษ กำลังทหาร 5,000 คนออกจากเมืองจันทบุรีมุ่งหน้าสู่อ่าวไทย และยาตรามาทางปากแม่น้ำสมุทรปราการ แม่น้ำเจ้าพระยา เจ้าโจมตีเมืองธนบุรี สามารถจับนายทองอินคนไทยที่ไปเข้าด้วยกับพม่าประหารชีวิต จากนั้นก็นำทัพรุดขึ้นไปยังกรุงศรีอยุธยา เข้าโจมตีค่ายโพธิ์สามต้นได้สำเร็จ ตัวสุกี้พระนายกอง แม่ทัพใหญ่ของพม่าตายในสนามรบ สรุปได้ว่า กรุงศรีอยุธยาได้กลับคืนมาเป็นของคนไทยอีกครั้ง ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 จุลศักราช 1129 ตรงกับวันศุกร์ที่ 6 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2310 รวมเวลาที่ใช้กู้เอกราชได้ 7 เดือน
  2. การสถาปนากรุงธนบุรี เมื่อพระยาตากทรงขับไล่พม่าออกไปจากกรุงศรีอยุธยาแล้ว ก็ทรงรวบรวมผู้คน และทรัพย์สมบัติ ตลอดจนขุดพระบรมศพของสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ขึ้นมาถวายพระเพลิงตามโบราณราชประเพณี จากนั้นก็ทรงคิดปฏิสังขรณ์พระนครศรีอยุธยาให้กลับคืนเป็นราชธานีดังเดิม แต่หลังจากสำรวจดูความพินาศเสียหายของปราสาทราชมณเทียร และวัดวาอารามทั้งปวงแล้ว ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้อพยพผู้คนเคลื่อนย้ายลงมาทางใต้ ตั้งราชธานีขึ้นใหม่ที่เมืองธนบุรี เรียกนามราชธานีว่า กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร
  3. การปราบปรามชุมนุมต่าง ๆ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเมื่อเสร็จศึกจากพม่า ก็ดำเนินการปราบปรามชุมนุมต่าง ๆ เพื่อความเป็นเอกภาพทางการเมือง โดยดำเนินการปราบปรามตามลำดับ ดังนี้ 3.4.1 การปราบปรามชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก สมเด็จพระเจ้าตากสินได้ยกทัพไปปราบปราม มีการรบพุ่งกันที่ตำบลเกยชัย เขตเมืองกำแพงเพชร สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงถูกปืนยิงที่พระชงฆ์ได้รับบาดเจ็บจึงต้องยกทัพกลับ เจ้าพระยาพิษณุโลกจึงแต่งตั้งตนเป็นกษัตริย์ ราชาภิเษกได้ 7 วัน ก็ประชวรและถึงแก่พิราลัย พระอินทรอากร น้องชายได้ขึ้นครองเมืองแทน และในที่สุดก็ถูก เจ้าพระฝางยกทัพโจมตีจนได้รับชัยชนะ และผนวกเอาชุมนุมพิษณุโลกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของชุมนุมเจ้าพระฝาง 3.4.2 การปราบชุมนุมเจ้าพิมาย เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินหายจากอาการบาดเจ็บ จึงโปรดให้ พระราชวรินทร์ และพระมหามนตรี ยกทัพไปปราบ เจ้าพิมายได้ยกทัพออกมาต่อสู้แต่ก็แตกพ่าย กรมหมื่นเทพพิพิธรู้ข่าวว่าเจ้าพิมายพ่ายแพ้จึงหนีไปหลบภัยที่เมืองเวียงจันทน์ แต่ขุนชนะ กรมเมืองนครราชสีมาได้ติดตามจับตัวมาถวายสมเด็จพระเจ้าตากสิน กรมหมื่นเทพพิพิธได้แสดงกิริยากระด้างกระเดื่องไม่ยอมอ่อนน้อม สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงทรงรับสั่งให้ประหารชีวิตเสีย 3.4.3 การปราบปรามชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงโปรดเกล้าให้ เจ้าพระยาจักรี (หมุด) เป็นแม่ทัพใหญ่ยกไปปราบ แต่แม่ทัพกรุงธนบุรีที่ยกไปไม่ปรองดองสามัคคีกัน ทำให้ไม่สามารถปราบชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราชได้ สมเด็จพระเจ้าตากสินต้องยกกองทัพเรือลงไปบัญชาการด้วยพระองค์เองจึงสามารถตีเมืองนครศรีธรรมราชได้ เจ้านครฯได้หนีไปเมืองปัตตานี พระยาปัตตานีได้จับตัวส่งคืนให้ไทย เจ้านครฯจึงยอมอ่อนน้อมแต่โดยดี สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงโปรดให้คุมตัวเจ้านครฯมาที่กรุงธนบุรี และให้รับราชการ ส่วนเมืองนครศรีธรรมราชโปรดให้ เจ้าหลานยาเธอเจ้านราสุริยวงศ์ ปกครอง 3.4.4 การปราบปรามชุมนุมเจ้าพระฝาง สมเด็จพระเจ้าตากสินโปรดให้ยกทัพใหญ่ทั้งทัพบก และทัพเรือไปปราบปราม โดยมีพระยายมราช (บุญมา) เป็นแม่ทัพหน้า ยกไปโจมตีเมืองพิษณุโลก ส่วนพระองค์เป็นทัพหลวงยกไปโจมตีเมืองสวางคบุรี เจ้าพระฝางพยายามสู้รบอยู่ได้ 3 วัน สู้ไม่ได้จึงหลบหนีไป เมื่อเสร็จศึกจึงโปรดเกล้าให้ เจ้าพระยาสุรสีห์พิษณุวาธิราช ครองเมืองพิษณุโลก ดูแลราชการในหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งปวง และแต่งตั้งแม่ทัพนายกองที่มีความชอบเป็นเจ้าเมืองเหนือปกครองเมืองต่าง ๆ เพื่อเป็นเมืองหน้าด่านป้องกันข้าศึกยกมารุกรานหัวเมืองฝ่ายเหนือ การที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงปราบปรามชุมนุมต่าง ๆ ได้สำเร็จ ทำให้คนไทยที่แตกแยกได้กลับมารวมเป็นกลุ่มก้อน อาณาจักรธนบุรีเริ่มมีขอบเขตแน่ชัด มีความมั่นคงเข้มแข็งมากขึ้น พระองค์ใช้เวลาปราบปรามรวบรวมประเทศเป็นปึกแผ่นประมาณ 3 ปีเศษ ( พ.ศ. 2311 - พ.ศ. 2313)
  4. บทละคนเรื่องรามเกียรติ์ มี 4 ตอน แบ่งออกเป็น 4 เล่มสมุดไทย เนื้อเรื่อง และโวหารหนักไปในทางธรรม และทางอิทธิปาฏิหาริย์ ๑.ตอนพระมงกุฎประลองศร ๒.ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานริน ๓.ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ ๔.ตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกรด นิราศเมืองกวางตุ้ง เป็นกลอนสุภาพ พรรณนาถึงเรื่องราวการเดินทางของคณะทูตที่ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีกับพระเจ้ากรุงจีนในมัยธนบุรี จัดเป็นเอกสารที่มีความสำคัญทั้งด้านวรรณคดี และประวัติศาสตร์