SlideShare a Scribd company logo
การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์
Human homeostasis
MENU
ระบบหายใจ

ระบบไหลเวียนเลือด

ระบบน้้าเหลือง

ระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบขับถ่าย
MENU
การหายใจของมนุษย์
ระบบหายใจของมนุษย์
ปอด(Lung)
การหายใจเข้า (inspiration)
การหายใจออก (expiration)
ความจุของปอด
การแลกเปลียนแก๊สในร่างกาย
่
ศูนย์ควบคุมการสูดลมหายใจ
MENU
การหายใจของมนุษย์
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ
1. การหายใจภายนอก (external respiration) เป็นการนา
อากาศเข้าสู่ปอด การแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างปอดกับเลือด
2. การหายใจภายใน (internal respiration) การขนส่งแก๊สจาก
เลือดไปยังเซลล์และเนื้อเยื่อ ซึ่งจะทาให้ได้พลังงานในรูปของความร้อนทา
ให้ร่างกายอบอุ่นและ ATP ที่นาไปใช้ในกิจกรรมต่างๆของเซลล์ซึ่งเป็น
จุดประสงค์สาคัญที่สุดของการหายใจ

MENU
ระบบหายใจของมนุษย์ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้คือ








1. ส่วนนาอากาศเข้าสู่ร่างกาย (conducting division) ส่วนนี้
ประกอบด้ ว ยอวั ย วะที่ ท าหน้ า ที่ เ ป็ น ทางผ่ า นของอากาศเข้ า สู่ ส่ ว นที่ มี ก าร
แลกเปลี่ยนแก๊ส โดยเริ่มตั้งแต่
รูจมูก (nostril)
โพรงจมูก (nasal cavity)
คอหอย (pharynx)
กล่องเสียง (larynx)
หลอดลมคอ (trachea)
หลอดลมหรือขั้วปอด (bronchus)
หลอดลมฝอย (bronchiole) ซึ่งยังแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
- หลอดลมฝอยเทอร์มินอล (terminal bronchiole)
- หลอดลมฝอยแลกเปลี่ยนแก๊ส (respiratory bronchiole)
MENU
2. ส่วนแลกเปลี่ยนแก๊ส (respiratory division) เป็นส่วนของ
หลอดลมฝอยที่ ต่ อ จากหลอดลมฝอยเทอร์ มิ น อล คื อ หลอดลมฝอย
แลกเปลี่ ย นแก๊ ส ซึ่ ง จะมี ก ารโป่ ง พองเป็ น ถุ ง ลมย่ อ ย (pulmonaryalveoli)ท าให้ แ ลกเปลี่ ย นแก๊ ส ได้ ส าหรั บ ส่ ว นที่ ต่ อ จากท่ อ ลมฝอย
แลกเปลี่ยนแก๊สจะเป็น
 ท่อลม (alveolar duct)
 ถุงลม (alveolar sac)
 ถุงลมย่อย (pulmonary alveoli)
MENU
ส่วนประกอบระบบหายใจของมนุษย์

MENU
รูจมูก (nostril) และ โพรงจมูก (nasal cavity)
อากาศเมื่อผ่านเข้าสู่รูจมูกแล้วก็จะเข้าสู่โพรงจมูก ที่โพรงจมูกจะมีขน
เส้นเล็ก ๆ และต่อมน้ามันช่วยในการกรองและจับฝุ่นละอองไม่ให้ผ่านลงสู่
ปอด นอกจากนี้ที่โพรงจมูกยังมีเยื่อบุจมูกหนาช่วยให้อากาศที่เข้ามามีความ
ชุ่มชื้นเพิ่มขึ้นและมีอุณหภูมิสูงขึ้น ในจมูกจะมีบริเวณที่เรียกว่า ออลแฟกเทอรี
แอเรีย (olfactory area) หรือบริเวณที่ทาหน้าที่รับกลิ่น

MENU
คอหอย (pharynx)
เป็นบริเวณที่พบกันของช่องอากาศจากจมูกและช่องอาหารจากปาก
อากาศจะผ่านเข้าสู่กล่องเสียง (larynx) ที่กล่องเสียงจะมีอวัยวะที่ทา
หน้ า ที่ ใ นการปิ ดเปิ ด กล่ อ งเสี ย งเรี ย กว่ า ฝาปิ ดกล่ อ งเสี ย ง (epiglottis)
ป้องกันไม่ให้อาหารตกลงสู่หลอดลม ที่กล่องเสียงจะมีเยื่อเมือกที่มีใยเอ็น
ยืดหยุ่นได้เรียกว่า เส้นเสียง (vocal cord) เมื่อลมผ่านกล่องเสียงจะทาให้
เส้นเสียงสั่นและเกิดเป็นเสียงขึ้น

MENU
กล่องเสียง (larynx)
ลักษณะเป็นแผ่น 2 แผ่น เชื่อมประกบทามุมกันเป็นชั้นเดียวในผู้ชาย
มีลักษณะแหลมยื่นออกมาเรียกว่า ลูกกระเดือก(Adam's apple) ใน
ผู้หญิงมีลักษณะป้านเรียบมองเห็นไม่ชัดเรียกว่า epiglottis เป็นกระดูก
อ่อนรูปร่างคล้ายใบไม้ ด้านหน้าเป็นช่องเปิดเข้าสู่กล่องเสียง ในขณะกลืน
อาหาร กล่ อ งเสี ย งจะเลื่ อ นขึ้ น ข้ า งบนและข้ า งหน้ า ส่ ว นปลาย
ของ epiglottis จะเลื่อนลงมาปิดกล่องเสียงไม่ให้อากาศเข้าสู่กล่องเสียง
ได้ หน้าที่ของกล่องเสียง (larynx) คือ เป็นทางผ่านเข้าออกของอากาศ
และทาให้เกิดเสียง
หลอดลมคอ (trachea)
เป็นท่อกลวงมีผ นังแข็งและหนาเพราะมีกระดูกอ่อนเรียงเป็นรูป
เกือกม้าทาให้หลอดลมคอไม่แฟบและการที่กระดูกอ่อนของหลอดลมคอ
เป็นรูปเกือกม้าทาให้หลอดอาหาร ซึ่งอยู่ด้านหลังสามารถขยายขนาดได้
เมื่อมีการกลืนอาหารผ่านหลอดอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร หลอดลมคอ
จะเริ่มจากกระดูกคอชิ้นที่ 6 จนถึงกระดูกอกชิ้นที่ 5 แล้วจึงแตกแขนงเป็น
หลอดลม (bronchus) เข้าสู่ปอดอีกทีหนึ่ง

MENU
หลอดลมเล็กหรือขั้วปอด( bronchus)
เป็นส่วนที่แตกแขนงแยกจากหลอดลม แบ่งออกเป็น 2 กิ่งคือซ้าย
หรือขวา โดยกิ่งซ้ายจะเข้าสู่ปอดซ้าย และกิ่งขวาแยกเข้าปอดขวาพร้อม ๆ
กับเส้นเลือดและเส้นประสาท

MENU
หลอดลมฝอย (bronchiole)
แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
1. หลอดลมฝอยเทอร์มินอล (terminal bronchiole) เป็นท่อที่
แยกออกจากหลอดลมแขนง พบกล้ามเนื้อเรียบและเยื่ออิลาสติกไฟเบอร์
(elastic fiber)เป็นองค์ประกอบของผนังหลอดลมฝอยเทอร์มินอล แต่ไม่
พบโครงสร้างที่เป็นกระดูกอ่อน
2. หลอดลมฝอยแลกเปลี่ยนแก๊ส(respiratory bronchiole) เป็น
ส่วนแรกที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส เนื่องจากมีถุงลมย่อยมาเปิดเข้าที่ผนัง ซึ่ง
จะพบในส่วนที่อยู่ท้าย ๆ ซึ่งจะมีมากกว่าส่วนที่อยู่ติดกับหลอดลมฝอย
เทอร์มินอล
MENU
ท่อลม (alveolar duct)
เป็นท่อส่วนสุดท้ายของส่วนที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส (respiratory
division)ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ถุงลม (alveolar sac)

MENU
ถุงลมและถุงลมย่อย (alveolus หรือ alveolar sac และ
pulmonary alveoli)
ถุงลมเป็นช่องว่างที่มีถุงลมย่อยหลาย ๆ ถุงมาเปิดเข้าที่ช่องว่างอันนี้
ส่วนถุงลมย่อยมีลักษณะเป็นถุงหกเหลี่ยม เมื่อปอดแฟบเวลาหายใจออก
ผนังของถุงลมย่อยที่อยู่ติดกันจะรวมกันเป็น อินเตอร์อัล วีโอลาร์เซปทัม
(interalveolar septum) ซึ่งมีเส้นเลือดฝอยอยู่ภายใน นอกจากนี้ยังมีรู
ซึ่งเป็นช่องติดต่อระหว่างถุงลมย่อยทาให้อากาศภายในถุงลมย่อยมีแรงดัน
เท่ากันทั้งปอด ทั้งถุงลมและถุงลมย่อยจะรวมเรียกว่า ถุงลมปอด

MENU
ปอดแต่ละข้างจะมีถุงลมปอดประมาณ 300 ล้านถุง คิดเป็นพื้นที่
ทั้งหมดของการแลกเปลี่ยนแก๊สของถุงลมปอดทั้งสองข้างประมาณ 90
ตารางเมตรหรื อ คิ ด เป็ น 40 เท่ า ของพื้ น ที่ ผิ ว ของร่ า งกาย การที่ ป อด
ยืดหยุ่นได้ดีและขยายตัวได้มากและการมีพื้นที่ของถุงลมปอดมากมาย
ขนาดนั้นจะทาให้ร่างกายได้รับแก๊สออกซิเจนอย่างเพียงพอและคายแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ได้เป็นอย่างดีอีกด้วยปอดของคนมีเส้นเลือดฝอยมา
เลี้ยงอย่างมากมายจึงทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สได้มากและรวดเร็วจน
เป็นที่เพียงพอแก่ความต้องการของร่างกาย

MENU
ปอดเป็นอวัยวะที่ทาหน้าที่ในการหายใจ ปอดตั้งอยู่ภายในทรวงอกมี
ปริมาตรประมาณ 2 ใน 3 ของทรวงอก ปอดขวาจะสั้นกว่าปอดซ้าย
เนื่องจากตับซึ่งอยู่ทางด้านล่างดันขึ้นมา ส่วนปอดซ้ายจะแคบกว่าปอด
ขวาเพราะว่ามีหัวใจแทรกอยู่ ปอดมีเยื่อหุ้มปอด (pleura) 2 ชั้น ชั้นนอก
ติดกับผนังช่องอก ส่วนชั้นในติดกับผนังของปอด ระหว่างเยื่อทั้งสองชั้นมี
ของเหลวเคลื อ บอยู่ การหุ บ และการขยายของปอดจะเป็ น ตั ว ก าหนด
ปริม าณของอากาศที่เข้าสู่ ร่างกาย ซึ่ งจะท าให้ร่างกายได้รับออกซิ เจน
ถ่ายเทคาร์บอนไดออกไซด์ออกตามที่ร่างกายต้องการ
MENU
เมื่อกล้ามเนื้อกระบังลมและกล้ามเนื้อ
ยึดซี่โครงด้านนอกหดตัว จะทาให้ทรวงอก
และปอดขยายตัวขึ้นปริมาตรภายในปอด
เพิ่มขึ้น ดังนั้นความดันภายในปอดจึงลดลง
และต่ ากว่ า บรรยากาศภายนอก อากาศ
ภายนอกจึงเคลื่อนตัวเข้าสู่ปอด จนทาให้
ความดันภายนอกและภายในปอดเท่ากัน
แล้ ว อากาศก็ จ ะไม่ เ ข้ า สู่ ป อดอี ก เรี ย กว่ า
การหายใจเข้า (inspiration)
MENU
เ มื่ อ ก ล้ า ม เ นื้ อ ก ร ะ บั ง ล ม แ ล ะ
กล้ ามเนื้อยึดซี่ โครงด้านนอกคลายตัวลง
ท าให้ ป อดและทรวงอกมี ข นาดเล็ ก ลง
ปริม าตรของอากาศในปอดจึงลดไปด้วย
ท า ใ ห้ ค ว า ม ดั น ภ า ย ใ น ป อ ด สู ง ก ว่ า
บรรยากาศภายนอก อากาศจึงเคลื่อนที่
ออกจากปอดจนความดั น ในปอดลดลง
เท่ากับความดันภายนอก อากาศก็จะหยุด
การเคลื่ อ นที่ซึ่ ง เรี ย กว่ า การหายใจออก
(expiration)
MENU
ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าปกติ แต่ละครั้งมีประมาณ 500 ลูกบาศก์
เซนติเมตร ถ้าบังคับให้มีการหายใจเข้าเต็มที่มากที่สุด จะมีอากาศเข้าไป
ยังปอดเพิ่มมากขึ้นจนอาจถึง 6,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งเป็นระดับที่
ปอดจะจุ อ ากาศได้ เ ต็ ม ที่ เ ช่ น เดี ย วกั บ การบั ง คั บ การหายใจออกเต็ ม ที่
อากาศจะออกจากปอดมากที่สุดเท่าที่ความสามารถของกล้ามเนื้อกะบัง
ลมและกล้ามเนื้อซี่โครงจะทาได้ ซึ่งจะเห็นว่าเมื่อหายใจออกเต็มที่แล้ว
ยังคงมีอากาศตกค้างในปอด ประมาณ 1,100 ลูกบาศก์เซนติเมตร

MENU
ในคนที่ออกกาลังกายอยู่เสมอเช่น นักกีฬา ซึ่งสามารถสูดลมหายใจ
เข้าเต็มที่ได้มากกว่าคนทั่ วไปเพราะกล้ ามเนื้อที่ ใ ช้ใ นการสูดลมหายใจ
ทางานได้ดี คนกลุ่มนี้จะทากิจกรรมอยู่ได้นานและเหนื่อยช้ากว่าคนทั่วไป
การศึ ก ษาปริ ม าตรของอากาศในปอดของคนด้ ว ยเครื่ อ ง spirometer
สามารถนามาเขียนกราฟได้ดังนี้

MENU
การแลกเปลี่ยนแก๊สในร่างกายของคนเกิดขึ้น 2
แห่งคือที่ปอดและที่เนื้อเยื่อ
1. ที่ปอด เป็นการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างใน
ถุงลมปอดกับเส้นเลือดฝอย โดยออกซิเจนจากถุงลม
ปอดจะแพร่เข้าสู่เส้นเลือดฝอยรอบ ๆ ถุงลมปอดและ
รวมตัวกับฮีโมโกลบิน (haemoglobin; Hb) ที่ผิวของ
เ ม็ ด เ ลื อ ด แ ด ง ก ล า ย เ ป็ น อ อ ก ซี ฮี โ ม โ ก ล บิ ล
(oxyhemoglobin; HbO2) ซึ่งมีสีแดงสด เลือดที่มี
ออกซีฮีโมโกลบินนี้จะถูกส่งเข้าสู่หัวใจและสูบฉีดไปยัง
เนื้อเยื่อต่าง ๆ ทั่วร่างกาย
MENU
2. ที่เนื้อเยื่อ ออกซีฮีโมโกลบิน
จะสลายให้ออกซิเจนและฮีโมโกลบิน
ออกซิ เ จนจะแพร่ เ ข้ า สู่ เ ซลล์ ท าให้
เซลล์ของเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจน ดัง
สมการ

MENU
ศูนย์ควบคุมการหายใจ (the respiratory
centers) อยู่ที่สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา
(medulla oblongata) โดยเป็นเซลล์ประสาท
กระจายอยู่ทางด้านข้างทั้งสองข้าง ศูนย์นี้จะมี
ความไวต่อปริมาณของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
หรือไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนและไฮโดรเจน
ไอออน ซึ่งสารต่างๆเหล่านี้จะกระตุ้นทาให้เกิด
การหายใจเข้าเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นถ้าหากมีแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดเพิ่มขึ้นก็จะทาให้
เกิดการการกระตุ้นเพิ่มขึ้นด้วย
MENU
MENU
ระบบไหลเวียนเลือด
 หัวใจ (Heart)
 การหมุนเวียนเลือดของมนุษย์
 จังหวะการเต้นของหัวใจ (heart rhythm)
 ความดันเลือด (blood pressure)
 หลอดเลือด (blood vessel)
 เลือด (blood)
 การแข็งตัวของเลือด (blood clotting)
 หมูเ่ ลือด( Blood group ) และการให้เลือด ( Blood transfusion )
 หลักในการถ่ายเลือด

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
หัวใจมีตาแหน่งอยู่ภายในช่องอกระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง ค่อนไป
ทางซ้ายเล็กน้อย หัวใจอยู่ภายในถุงเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium) ซึ่งจะมี
ของเหลวที่สร้างจากเยื่อหุ้มหัวใจทาหน้าที่หล่อลื่น และป้องกันการเสียดสี
ระหว่างหัวใจกับปอดขณะหัวใจบีบตัว หัวใจมีหลอดเลือดนาเลือดมาเลี้ยง
กล้ามเนื้อหัวใจ เรียกว่า โคโรนารีอาร์เตอรี (coronary artery) ส่วนเลือด
ที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจแล้วจะเข้าสู่หลอดเลือดโคโรนารีเวน (coronary
vein) และไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา (right atrium)

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
ลักษณะภายในของหัวใจมนุษย์

ระบบไหลเวียนเลือด

หัวใจประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3
ชั้น ชั้นนอกและชั้นในมีลักษณะบาง
ประกอบด้ ว ยเนื้ อ เยื่ อ บุ ผิ ว ส่ ว น
เ นื้ อ เ ยื่ อ ชั้ น ก ล า ง ห น า ม า ก
ปร ะก อบด้ ว ยก ล้ าม เนื้ อ หั ว ใ จ
(cardiac muscle) แบ่งเป็น 4 ห้อง
คือ ห้องบน (atrium) 2 ห้อง และ
ห้องล่าง (ventricle) 2 ห้อง แต่ละ
ห้องแยกกันอย่างสมบูรณ์
MENU
โครงสร้างภายนอกของหัวใจ

โครงสร้างภายในของหัวใจ
ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
หัวใจห้องบนขวาหรือเอเตรียมขวาจะรับเลือดจากหลอดเลือดเวน
ใหญ่ 2 เส้น คือ ซุพเรียเวนาคาวาที่นาเลือดมาจากส่วนหัวและแขน และ
ี
อินฟีเรียเวนาคาวา ซึ่งนาเลือดมาจากส่วนลาตัวและขาเข้าสู่หัวใจ เมื่อ
หัวใจห้องบนขวาบีบตัว เลือดจะไหลเข้าสู่ห้องล่างขวา (right ventricle)
โดยผ่านลิ้นไตรคัสปิด (tricuspid valve) ที่กั้นระหว่างห้องบนขวาและ
ห้องล่างขวา เมื่อห้องล่างขวาบีบตัวเลือดจะไหลผ่าน ลิ้น พัลโมนารีเซมิลู
นาร์ (pulmonary semilunar valve) ซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นครึ่งวงกลม
3 แผ่น

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
เลือดเข้าสู่หลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เตอรี (pulmonary artery)
หลอดเลือดนาเลือดไปยังปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส ทาให้เลือดมีปริมาณ
ออกซิเจนสูง เลือดจึงไหลกลับเข้าสู่หัวใจทางพัลโมนารีเวน (pulmonary
vein) เข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย (left atrium) เมื่อห้องบนซ้ายบีบตัว เลือดก็
จะไหลผ่านลิ้นไบคัสปิด (bicuspid valve) ไปยังหัวใจห้องล่างซ้าย (left
ventricle) เมื่อห้องล่างซ้ายบีบตัว เลือดก็จะไหลเข้าสู่เอออร์ตา ซึ่งมีลิ้นเอ
ออร์ติกเซมิลูนาร์ (aortic semilunar valve) ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับ
ลิ้นพัลโมนารีเซมิลูนาร์ ทาหน้าที่กั้นไม่ให้เลือดไหลกลับ จากหลอดเลือดเอ
ออร์ตาก็จะไปหล่อเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
ภาพแสดงการหมุนเวียนเลือดของมนุษย์

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
กล้ามเนื้อหัวใจสามารถบีบตัวได้ เนื่องจากภายในหัวใจมีบริเวณที่ทา
หน้าที่เป็นตัวควบคุมให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว บริเวณดังกล่าว คือ เอสเอ
โนด (SA node) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อพิเศษเนื่องจากสามารถส่งกระแส
ความรู้สึกได้เช่นเดียวกับเซลล์ประสาท และกล้ามเนื้อหัวใจเองก็สามารถ
ส่ ง กระแสความรู้ สึ ก จากเซลล์ ห นึ่ ง ไปยั ง เซลล์ ห นึ่ ง ได้ เ นื่ อ งจากมี
intercalated disk จึงทาให้กระแสความรู้สึกจากเอสเอ โนด กระจายไป
ทั่ ว กล้ า มเนื้ อ หั ว ใจห้ อ งบนอย่ า งรวดเร็ ว ท าให้ บี บ ตั ว ได้ ขณะเดี ย วกั น
กระแสความรู้สึกจะส่งไปยัง เอวี โนด (AV node) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อพิเศษ
เช่ น เดี ย วกั บ เอสเอ โนด เมื่ อ กระแสความรู้ สึ ก มาถึ ง เอวี โนด จะพั ก
ประมาณ 0.1 วินาที

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
เพื่อแน่ใจว่าหัวใจห้องบนบีบตัวและปล่อยเลือดลงสู่ห้องล่างหมดแล้ว
หัวใจห้องล่างจึงบีบตัว แต่กล้ามเนื้อของหัวใจห้องล่างจะบีบตัวพร้อมกัน
เนื่องจากกระแสความรู้สึกจาก เอวี โนด ส่งออกไปเร็วมากทาให้กล้ามเนื้อ
ทั้ ง หมดถู ก กระตุ้ น และหดตั ว พร้ อ มกั น จนเกิ ด แรงดั น มากพอที่ จ ะส่ ง
เลือดออกไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้

รูปแสดงการกระตุ้นของคลื่นไฟฟ้าของ
หัวใจในการเต้นหนึ่งครั้ง

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
กระแสความรู้สึกที่เคลื่อนไปในกล้ามเนื้อหัวใจในระหว่างที่หัวใจบีบตัว ทา
ให้เกิดกระแสไฟฟ้าแพร่ไปตามของเหลวในร่างกายไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
รวมทั้ ง ผิ ว หนั ง ซึ่ ง สามารถวั ด กระแสไฟฟ้ า ที่ เ กิ ด นี้ ไ ด้ ที่ บ ริ เ วณผิ ว หนั ง โดย
แสดงผลเป็ น กราฟ เรี ย กว่ า คลื่ น ไฟฟ้ า ของหั ว ใจ (Electrocardiogram,
ECG) ประกอบด้วย คลื่น 3 ชนิด คือ
- คลื่น พี (P wave) ซึ่งจะแทนการแผ่ของกระแสประสาทจาก SA node
ไปยังหัวใจห้องบนทั้งสองก่อนที่หัวใจห้องบนทั้งสองจะหดตัว
- คลื่น คิว อาร์ เอส (QRS wave) ซึ่งแสดงการแผ่ของกระแสประสาท
จาก SA node, AV bundle และ Purkinje fiber ในหัวใจห้องล่างก่อนที่หัวใจ
ห้องล่างจะหดตัว
- คลื่น ที (T wave) จะแสดงถึงการคลายตัวของหัวใจห้องล่าง

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
คลื่นไฟฟ้าของหัวใจ (Electrocardiogram, ECG)

คลื่นไฟฟ้าของหัวใจ (ECG) จะมีประโยชน์ทางการแพทย์ ที่จะใช้
ตรวจสอบการทางานของหัวใจ โดยที่คลื่นไฟฟ้าเหล่านี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลง
เมื่อเกิดโรคหรือความผิดปกติขึ้น

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
ก. คลื่นไฟฟ้าของหัวใจปกติ ข. และ ค. คลื่นไฟฟ้าของหัวใจผิดปกติ

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
แรงดั น ของเลื อ ดที่ ไ ปดั น ผนั ง หลอดเลื อ ดมาจากหั ว ใจบี บ ตั ว ดั น
เลือดออกไปและความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือดทาให้เกิดแรงดันขึ้น
ความดันเลือดมัก วัดจากหลอดเลือดอาร์ เตอรีที่มีความดันมากที่สุดตอน
หัวใจหดตัว และน้อยที่สุดตอนหัวใจคลายตัว ความดันเลือดจะสูงต่าตาม
จัง หวะการบี บ ของหั ว ใจ ความดั น สู ง สุ ด เกิ ด ขณะหั ว ใจบี บ ตั ว เรี ย กว่ า
ความดันซิสโทลิก (systolic pressure) ความดันต่าสุดเกิดขณะหัวใจ
คลายตัว เรียกว่า ความดันไดแอสโทลิก (diastolic pressure)

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
เครื่องมือที่ใช้วัดความดันโลหิต คือ Sphygmomanometer มีหน่วย
เป็นมิลลิเมตรของปรอท โดยวัดจากหลอดเลือดแดงตรงแขนด้านบนซึ่ ง
ความดันเลือดในหลอดเลือดขนาดต่าง ๆ จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับระยะที่
ห่างจากหัวใจในคนหนุ่มสาวปกติ จะมีความดันเลือด 120/80 มิลลิเมตร
ปรอท
ตั ว เลขแรก หมายถึ ง ค่ า ความดั น เลื อ ดสู ง สุ ด ขณะหั ว ใจบี บ ตั ว
(systolic pressure)
ตั ว เลขหลั ง หมายถึ ง ค่ า ความดั น เลื อ ดต่ าสุ ด ขณะหั ว ใจคลายตั ว
(diastolic pressure) ปัจจัยที่มีผลต่อความดันโลหิตของคน ได้แก่

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
 อายุ อายุยิ่งมากความดันโลหิตจะมากขึ้น
 เพศ ความดันโลหิตในผู้หญิงจะต่ากว่าชายเล็กน้อย (แต่ถ้าอายุ เกิน 40 ปี
ความดันโลหิตของชาย จะต่ากว่าหญิง)
 ขนาดของร่างกาย คนอ้วนจะมีความดันมากกว่าคนผอม
 อารมณ์ โกรธ และ กลัว ความดันโลหิตจะสูง
 การออกกาลังกาย ทาให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
 แรงดึงดูดของโลก อยู่ในที่สูงจะมีความดันโลหิตสูงกว่าในที่ต่า

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
Sphygmomanometer

การวัดความดันโลหิต

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
หลอดเลือดทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นหลอดเลือดแดง หลอดเลือดดาและ
หลอดเลือดฝอย จะมีผนังของหลอดเลือดที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นต่าง ๆ
คล้ายคลึงกัน คือ ชั้นในสุดเป็นเอนโดที เลียม (endothelium)
ที่
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อบุผิวชนิด simple squamous epithelium และ
basement membrane ชั้นกลางเป็นกล้ามเนื้อเรียบ (smooth
muscle) ชั้นนอกสุด ประกอบด้วย เนื้อเยื่อเกี่ยวพันพวก elastic โดยผนัง
ชั้นกลางและชั้นนอกของหลอดเลือดแดงจะหนากว่าหลอดเลือดดา

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
ชนิดของหลอดเลือด แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. หลอดเลือดอาร์เตอรี(artery)
เป็นหลอดเลือดที่มีทิศทางออกจากหัวใจไปยังปอดและส่วนต่าง ๆ
ของร่างกาย หลอดเลือด อาร์เตอรี เมื่อเรียงลาดับจากหัวใจต่อเนื่องกันไป
จากขนาดใหญ่ไปเล็กตามลาดับ จะประกอบด้วย
- เอออร์ตา (aorta) มีขนาดใหญ่ที่สุด เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว
หรือ 2.5 เซนติเมตร มีความหนาของชั้นที่หุ้มหลอดเลือด 2 มิลลิเมตร
- อาร์เทอรี (artery) มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.4 เซนติเมตร มีชั้น
ที่หุ้มหนาราว 1 มิลลิเมตร
- อาร์เทอรีโอล (arteriole) มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 ไมครอนและชั้นที่บุ
หนา 20 ไมครอน

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
2. หลอดเลือดเวน (vein)
ทาหน้าที่นาเลือดจากปอดและส่วนต่างๆของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ ซึ่ง
เมื่อเรียงลาดับจากขนาดเล็กไปขนาดใหญ่สุด จะประกอบด้วยกลุ่มของหลอด
เลือด เวนูล (venule) ซึ่งเป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็กที่สุด หลอดเลือดเวน
(veins)เป็นหลอดเลือดขนาดกลาง และ เวนาคาวา (venacava) ซึ่งเป็น
หลอดเลือดที่มีขนาดใหญ่ โดยหลอดเลือดเวนจะมีลิ้นกั้นอยู่ภายใน ระหว่าง
หลอดเลือดนี้มีมัดกล้ามเนื้ออยู่ เมื่อมัดกล้ามเนื้อนี้หดตัวมีผลให้หลอดเลือดเวน
ถูกบีบแคบลง ความดันในหลอดเลือดเวนจะเพิ่มขึ้นดันลิ้นในหลอดเลือดเวน
ด้ า นบนให้ เ ปิ ด ออกท าให้ เ ลื อ ดไหลสู่ ห ลอดเลื อ ดเวนด้ า นบนต่ อ ไป แต่ ลิ้ น
ส่วนล่างของหลอดเลือดเวนเมื่อได้รับความดันของเลือดจะไม่เปิดเนื่องจากกัน
ไม่ให้เลือดไหลกลับสู่ด้านล่าง

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
3. หลอดเลือดฝอย (capillary)
เป็นระบบที่อยู่ระหว่างระบบอาร์ เทอรีและเวน ซึ่งจะแทรกอยู่ตาม
เนื้ อ เยื่ อ ส่ ว นต่ า งๆของร่ า งกาย หลอดเลื อ ดฝอยมี ข นาดเล็ ก เส้ น ผ่ า น
ศูนย์กลางประมาณ 7 ไมโครเมตร ผนังบางมากซึ่งหนาเพียง 1เชื่อมต่อ
ระหว่างหลอดเลือดอาร์เทอริ โอล และ เวนูล ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส
สารต่ า ง ๆ และของเสี ย ระหว่ า งเลื อ ดกั บ เซลล์ ข องร่ า งกาย โดยแก๊ ส
ออกซิเจนและอาหารจะแพร่ผ่านผนังของหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เซลล์และ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับของเสียต่าง ๆ จากเซลล์จะแพร่ผ่านผนังของ
หลอดเลือดฝอยเพื่อส่งไปกาจัดออกยังปอดและแหล่งขับถ่ายต่าง ๆ ใน
ร่างกาย

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
ลักษณะของหลอดเลือดชนิดต่าง ๆ

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
เลือดทาหน้าที่นาสารอาหาร และออกซิเจนไปให้เซลล์ และยังนา
ของเสียที่เซลล์ไม่ต้องการไปกาจัดออกนอกร่างกาย ในร่างกายของคนจะมี
เลือดอยู่ประมาณ 7-8 %ของน้าหนักตัว ถ้านาเลือดไปปั่นแยก พบว่า
เลือดถูกแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ
1.น้าเลือดหรือพลาสมา (plasma)
2.เซลล์และชินส่วนของเซลล์ (formed elements)
้

MENU
1.น้าเลือดหรือพลาสมา (plasma)
เป็นส่วนที่เป็นของเหลวค่อนข้างใส มีสีเหลืองอ่อน ค่อนข้างใส มี
ปริมาณ 55 % ของปริมาตรเลือด ประกอบด้วยน้าประมาณ 90-93%
และโปรตีน 7-10% ที่สาคัญ คือ อัลบูมิน (albumin) และโกลบูลิน
(globulin)
องค์ประกอบอื่น ๆ เช่น แร่ธาตุ หรืออิออน สารอาหาร
เอนไซม์ ฮอร์โมน เป็นต้น นอกจากน้าเลือดทาหน้าที่ลาเลียงสารอาหาร
แร่ธาตุ ฮอร์โมน แอนติบอดี ยังช่วยรักษาสมดุลความเป็นกรด – เบส
สมดุลน้า และรักษาอุณหภูมิของร่างกาย
MENU
2. เซลล์และชิ้นส่วนของเซลล์ (formed elements)
มีปริมาณ 45 % ของปริมาตรเลือดทั้งหมด ประกอบด้วย
เม็ดเลือดแดง (erythrocyte)
เม็ดเลือดขาว (leukocyte)
เกล็ดเลือด (blood platelet)
หากเติ ม สารป้ อ งกั น ป้ อ งกั น การแข็ ง ตั ว ของ
เลื อดลงในเลือ ด แล้ว น าไปหมุ นเหวี่ ย งให้เ ม็ ด
เลื อ ดทั้ ง สามชนิ ด แยกตั ว ตกลงมานอนก้ น
ส่วนบนที่มีสีเหลืองอ่อนใสจะเรียกว่า พลาสมา
MENU
เม็ดเลือดแดง (erythrocyte)
เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม มีลักษณะกลมแบน เส้น
ผ่ า นศู น ย์ ก ลางประมาณ 7 - 8 ไมครอนตรงกลางเว้ า เข้ า หากั น
(biconcave) เนื่องจากไม่มีนิวเคลียสและไมโตคอนเดรีย เม็ดเลือดแดงแต่
ละเม็ดจะบรรจุฮีโมโกลบิน (haemoglobin) เม็ดเลือดแดงของคนเราจะ
อยู่ในระบบหมุนเวียนสารเป็นเวลา 120 วัน หลังจากนั้นจะถูกทาลายที่ตับ
และม้าม หรือที่ต่อมน้าเหลืองโดยวิธีฟาโกไซโตซิส

MENU
ฮีโมโกลบิน
ฮี โ มโกลบิ น 1 โมเลกุ ล ประกอบด้ ว ยโปรตี น
โกลบิน (globin) 1 โมเลกุลซึ่งประกอบด้วยสายโพลี
เพปไทด์ 4 สายจับกับฮีม (heme) 4 โมเลกุล แต่ละ
ฮีมจะมี Fe2+ 1 อะตอม สามารถจับออกซิเจนได้ 1
โมเลกุล ดังนั้นฮีโมโกลบิน 1 โมเลกุล จะมี Fe2+ 4
อะตอม และสามารถจับออกซิเจนได้ 4 โมเลกุล จะเกิด
สภาพออกซีฮีโมโกลบิน (oxyhaemoglobin) ซึ่งมี สี
แดง เมื่อออกซีฮีโมโกลบินปล่อยออกซิเจนให้แก่เซลล์
แล้ว จะอยู่ในรูปฮีโมโกลบินปกติ ซึ่งมีสีน้าเงิน
MENU
เม็ดเลือดขาว (leucocyte หรือ white blood corpuscle)
เม็ ด เลื อ ดขาวสร้ า งจากไขกระดู ก มี นิ ว เคลี ย ส มี ห น้ า ที่ ส าคั ญ คื อ
ต่อต้านและทาลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย โดยเม็ดเลือดขาว
ของสัตว์เลือดลูกด้วยน้านม แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
-กลุ่มที่ไม่มีแกรนูลพิเศษ (agranulocyte)
-กลุ่มที่มีแกรนูลพิเศษ (granulocyte)

MENU
กลุ่มที่ไม่มีแกรนูลพิเศษ (agranulocyte)
มีลักษณะที่สาคัญคือ มีนิวเคลียส 1 พู มีแกรนูลของไลโซโซมในไซ
โทพลาสซึ ม จั ด เป็ น แกรนู ล ปกติ และไม่ มี แ กรนู ล พิ เ ศษขนาดใหญ่
(specific granule) ที่ติดสามารถติดสีย้อมไรต์ สเตน (Wright’s stain)
1) ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) มีประมาณ 20 - 25 % มีอายุ 2 - 3
ชั่วโมง เป็นเซลล์รูปร่างกลมมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7-9 ไมโครเมตร
มีนิวเคลียสกลม ในขณะที่อยู่ในต่อมน้าเหลือง จะมีหน้าที่สร้าง antibody
และทาลายสิ่งแปลกปลอมโดยวิธีฟาโกไซโตซิส ซึ่งแบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ
MENU
1.1) ลิมโฟไซต์ชนิดบี (B - lymphocyte) หรือ B – cell จะเจริญที่ไขกระดูก
มีคุณสมบัติในการสร้างแอนติบอดีจาเพาะ โดยถ้าเซลล์บีถูกกระตุ้นโดยเชื้อโรคหรือสิ่ง
แปลกปลอม เซลล์บีจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์พลาสมา (plasma cell) ทาหน้าที่สร้าง
แอนติบอดี และบางเซลล์เปลี่ยนไปเป็นเซลล์เมมมอรี (memory cell) ทาหน้าที่จา
แอนติ เ จนนั้ น ไว้ ถ้ า แอนติ เ จนนั้ น เข้ า สู่ เ ซลล์ ใ นภายหลั ง เซลล์ เ มมเมอรี จ ะสร้ า ง
แอนติบอดีจาเพาะอย่างรวดเร็วไปทาลายแอนติเจนนั้น ๆ ให้หมดไป

1.2) ลิมโฟไซต์ชนิดที (T - lymphocyte) หรือ T – cell เกิดจากเซลล์
บริเวณไขกระดูก ซึ่งมีการเจริญพัฒนาที่ต่อมไทมัส เซลล์ทีบางชนิดจะกระตุ้นให้เซลล์บี
สร้างสารแอนติบอดี และกระตุ้น ฟาโกไซต์ให้มีการทาลายสิ่งแปลกปลอมให้รวดเร็วขึ้น
เซลล์ทีบางชนิดควบคุมการทางานของเซลล์บี และฟาโกไซต์ให้อยู่ในสภาพสมดุล และ
เซลล์ทีบางชนิดจะทาหน้าที่เป็นเซลล์เมมมอรีด้วย
MENU
2) โมโนไซต์ (monocyte) มีประมาณ 3 - 8 % มีอายุ 2-3 วัน แต่
ถ้าอยู่ในเนื้อเยื่อกระดูกมีอายุยาวนาน 72 วัน เป็นเซลล์รูปกลมขนาดใหญ่
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 12-20 ไมโครเมตร มีนิวเคลียสเป็นรูปไตหรือ
เกือกม้าจานวน 1 พู ทาหน้าที่กาจัดสิ่งแปลกปลอมด้วยวิธีฟาโกไซโตซิส

MENU
กลุ่มที่มีแกรนูลพิเศษ (granulocyte)
มี ลั ก ษณะที่ ส าคั ญ คื อ มี นิ ว เคลี ย สรู ป ร่ า งหลายแบบ มี จ านวนพู
มากกว่า 1พู มีแกรนูลของไลโซโซมและมีแกรนูลพิเศษขนาดใหญ่ในไซ
โทพลาสซึม
1) นิวโทรฟิล (neutrophil) เป็นเซลล์รูปร่างกลมขนาดใหญ่มีเส้น
ผ่านศูนย์กลางประมาณ 12-15 ไมโครเมตร มีอายุ 6-9 วัน พบประมาณ
60-70 % มีนิวเคลียสหลายพู ทาหน้าที่เป็นด่านแรกที่ร่างกายใช้กาจัดสิ่ง
แปลกปลอมโดยวิ ธี ฟ าโกไซโทซิ ส หลั ง จากนั้ น จะตายพร้ อ มกั บ สิ่ ง
แปลกปลอมที่ถูกกาจัด กลายเป็นหนอง

MENU
2) อีโอซิโนฟิล (eosinophil) เป็นเซลล์ขนาดกลางมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 10-15 ไมโครเมตร มีอายุ 8-12 วัน พบประมาณ 2-5
% มี นิ ว เคลี ย ส 2 พู และไม่ เ ห็ น นิ ว คลี โ อลั ส ท าหน้ า ที่ ก าจั ด สิ่ ง
แปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้ามาในร่างกายแต่เลือกกินเฉพาะองค์ประกอบรวม
ของแอนติเจน - แอนติบอดี (antigen - antibody complex) เท่านั้น
และทาลายสารที่เป็นพิษที่ทาให้เกิดการแพ้สารของร่างกาย เช่นโปรตีนใน
อาหาร ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้

MENU
3) เบโซฟิล (basophil) เป็นเซลล์รูปร่างกลมขนาดใหญ่มีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 12-15 ไมโครเมตร มีอายุ 3-7 วัน พบประมาณ 0.51% มีนิวเคลียสรูปร่างเป็นตัวเอส(S) หรือบางครั้งเป็นแถบยาว มีแกรนูล
พิเศษขนาดใหญ่จ านวนมากกระจายบดบังบริเวณนิวเคลียส ท าหน้าที่จับ
สิ่งแปลกปลอมโดยวิธีฟาโกไซโตซิส แต่ความสามารถจะด้อยกว่าชนิดนิว
โทรฟิล และอีโอซิโนฟิลมาก ท าหน้าที่หลั่งสาร เฮพาริน (heparin) เป็น
สารที่ป้องกันการแข็งตัวของเลือด และสารฮีสตามีน (histamine) ซึ่ง
ก่อให้เกิดอาการบวมหรือแพ้

MENU
เม็ดเลือดขาว
MENU
เกล็ดเลือด (platelet)
เกิดจากชิ้นส่วนของไซโทพลาสซึมของ
เซลล์ที่มีขนาดใหญ่ในกระดูกที่แตกออกจาก
กัน และหลุดเข้าสู่หลอดเลือด มีลักษณะเป็น
แผ่นกลมไม่มีนิวเคลียส มีรูปร่างไม่แน่นอน
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ไมโครเมตร (มี
ขนาดเล็กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดงประมาณ 4
เท่า) มีประมาณ 2.5 - 5 แสนชิ้นในเลือด 1
ลูกบาศก์มิลลิเมตร มีอายุสั้นประมาณ 3 - 4
วั น เท่ า นั้ น มี ห น้ า ที่ ช่ ว ยให้ เ ลื อ ดแข็ ง ตั ว
(blood clotting) โดยการสร้างสารทรอม
โบพลาสติน (tromboplastin) ออกมา
MENU
การแข็งตัวของเลือด (blood clotting) มีขั้นตอน ดังนี้
1) เกิดสารทรอมโบพลาสตินจากเพลตเลตและเนื้อเยื่อที่ได้รับอันตราย
2) สารทรอมโบพลาสตินที่เกิดขึ้นจะไปเปลี่ยนโปรทรอมบิน (prothrombin) ให้
กลายเป็นทรอมบิน(thrombin) โดยอาศัยแคลเซียมอิออน และปัจจัยในการ
แข็งตัวของเลือดบางตัวในพลาสมาเข้าช่วย โดย โปรทรอมบินสร้างมาจากตับ
โดยอาศัยวิตามินเค
3) ทรอมบินจะไปเปลี่ยนไฟบริโนเจน (fibrinogen) ในเลือดให้เป็นไฟบริน (fibrin)
4) ไฟบรินเส้นเล็กๆที่เกิดขึ้นจะรวมตัวกันเป็นเส้นใยไฟบริน โดยการช่วยเหลือจาก
Ca2+และปัจจัยที่ทาให้ไฟบรินอยู่ตัว และไปประสานกันเป็นร่างแห ต่อมาจะมี
เพลตเลตและเม็ดเลือดต่างๆมาเกาะบนร่างแห จึงทาให้เลือดหยุดไหล
MENU
การแข็งตัวของเลือด (blood clotting)

MENU
หมู่เลือด( Blood group )
- ระบบหมู่เลือด ABO
จากผลงานการศึ ก ษาของนายแพทย์ ชื่ อ คาร์ ล แลนสไตเนอร์ (Karl
Lansteiner ) นักวิทยาศาสตร์ชาวเวียนนา ซึ่งค้นพบว่าเลือดของคนอาจแตกต่างกัน
ในคุณสมบัติทางเคมีบางอย่างและการจับกลุ่มตก ตะกอนของเม็ดเลือดแดงเกิดขึ้นได้
เมื่อเลือดของผู้ให้และผู้รับไม่สามารถเข้ากันได้ เพราะคนที่มีเลือดต่างกันนั้นมีสาร
พวกโปรตีนภายในพลาสมา ที่เรียกว่า แอนติบอดี ( antibody ) ที่หมุนเวียนไปทั่ว
ร่างกายแตกต่างกันและมีสารเคมีที่เรียกว่า แอนติเจน ( antigen ) อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์
ของเม็ ด เลื อ ดแดงแตกต่ า งกั น ไปด้ ว ย แลนสไตเนอร์ ได้ แ บ่ ง ชนิ ด เลื อ ดของคน
ออกเป็น 4 หมู่ ตามระบบการจ าแนกแบบ ABO ตามสมบัติของแอนติบอดี และ
แอนติเจนในเลือดของแต่ละคน คือ หมู่ A B AB และO

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
ระบบไหลเวียนเลือด ระบบหมู่เลือด ABO

MENU
- ระบบหมู่เลือด Rh
องค์ประกอบ Rh ในเลือด ( Rh factor )นอกเหนือจากหมู่เลือด ABO ที่กล่าว
มาแล้ว จากการศึกษาต่อ ๆ มาพบว่าในเลือดของแต่ละคนยังมีแอนติเจนชนิดอื่นอีก
หลายระบบ ระบบที่รู้จักกันดีคือ ระบบหมู่เลือด Rh ซึ่งคาว่า Rh มาจากคาว่า Rhesus
monkey ซึ่งเป็นชื่อลิงชนิดหนึ่งที่แอนติเจนนี้ถูกค้นพบครั้งแรกระบบหมู่เลือด Rh แบ่ง
ออกเป็น 2 กลุ่ม ตามผลการตรวจสอบคือ
1) Rh+ คือ เลือดที่มีแอนติเจน Rh อยู่บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดงแต่ไม่มีแอนติบอดี
(Antibody ) Rh ในน้าเลือด ซึ่งคนไทยประมาณร้อยละ 90 จะเป็น Rh +
2) Rh - คือ เลือดที่ไม่มีแอนติเจน Rh อยู่บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง และน้าเลือดก็
ไม่มีแอนติบอดี Rh แต่สามารถสร้างแอนติบอดี Rh ได้ เมื่อได้รับแอนติเจน Rh (Rh+ )
ดังนั้นในการให้เลือดแก่ดันนั้น จะต้องคานึงถึงปัจจัย Rh ด้วยเพราะถ้าผู้รับเลือดเป็น
Rh - ได้รับเลือด Rh+เข้าไปในร่างกายของผู้รับก็จะถูกกระตุ้นให้ผู้รับสร้างแอนติบอดี Rh
ขึ้นได้ ดังนั้นในการให้เลือด Rh+ ครั้งต่อไปแอนติบอดี Rh ในร่างกายของผู้รับจะต่อต้าน
กับแอนติเจนจากเลือดของผู้ให้ทาให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
- ระบบหมู่เลือด ABO
ให้เลือดหมู่เดียวกันกับเลือดของผู้รับ เลือดของผู้ให้ต้องไม่มีแอนติเจนที่ในผู้รับมี
แอนติบอดีสาหรับแอนติเจนนั้นอยู่ ( แอนติเจนของผู้ให้ต้องไม่ตรงกับแอนติบอดีของ
ผู้รับ ) เช่น คนที่หมู่เลือด A จะมีแอนติเจน A และมีแอนติบอดี B ดังนั้นคนหมู่เลือด A
ไม่สามารถให้เลือดแก่คนที่หมู่เลือด B ได้เพราะหมู่เลือด B มีแอนติเจน B และ
แอนติบอดี A ( แอนติเจนตรงกับแอนติบอดีของผู้รับ ) เลือดจะตกตะกอน ส่วนหมู่เลือด
O ไม่มีแอนติเจน ดังนั้นจึงสามารถถ่ายเลือดให้ผู้รับได้ทุกหมู่ จึงเรียกหมู่เลือด O ว่า
ผู้ให้สากล ( Universal donor ) แต่จะรับเลือดจากหมู่เลือดอื่นไม่ได้เลย เพราะมี
แอนติบอดีทั้ง A และ B ส่วนหมู่เลือด AB มีแอนติเจน A และ B ดังนั้นจึงไม่สามารถ
ถ่ายเลือดให้หมู่เลือดอื่นได้เลย เป็นผู้รับอย่างเดียวเท่านั้น เรียกหมู่เลือด AB ว่าเป็น
ผู้รับสากล ( Universal recipient )

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
- ระบบหมู่เลือด Rh
1) คนที่มีเลือด Rh+ สามารถรับได้ทั้ง Rh+ และ Rh - เพราะคนที่มีเลือด Rh+ ไม่
สามารถสร้าง แอนติบอดีได้
2) คนที่มีเลือด Rh - รับเลือด Rh+ ครั้งแรกไม่เกิดอันตรายเพราะว่าแอนติบอดียัง
น้อย แต่จะเกิดอันตรายรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ในครั้งต่อไป
3) ถ้าแม่มีเลือด Rh+ รับเลือด Rh - เมื่อมีลูก ลูกจะปลอดภัยไม่ว่าลูกจะมีเลือด
เป็น Rh+ หรือ Rh 4) ถ้าแม่มีเลือด Rh - พ่อ Rh+ ถ้าลูกมีเลือด Rh - ลูกจะปลอดภัยแต่ถ้าลูกมีเลือด
Rh+ ลูกจะไม่ปลอดภัย โดยเฉพาะลูกคนต่อ ๆ ไป เพราะแอนติบอดี Rh ที่อยู่ใน
เลือดจากการตั้งครรภ์ครั้งแรกจะเข้าสู่เลือดของเด็กและเกิดปฏิกิริยาขึ้นได้ ถ้า
หากให้ ก ารรั ก ษาไม่ ทั น เด็ ก จะตายได้ อาการที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ เรี ย กว่ า Rh(Rh
disease ) หรือ Erythroblastosis fetalis ซึ่งเป็นโรคโลหิตจางทาให้เด็กแรก
เกิดตาย

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
ระบบหมู่เลือด Rh

ระบบไหลเวียนเลือด

MENU
MENU
ระบบน้าเหลืองเป็นระบบลาเลียงสารต่าง ๆ ให้กลับเข้าสู่หลอด
เลือด โดยเฉพาะสารอาหารพวกกรดไขมันที่ดูดซึมจากลาไส้เล็ก ระบบ
น้าเหลืองจะไม่มีอวัยวะสาหรับสูบฉีดไปยังส่วนต่าง ๆ ประกอบไปด้วย
• น้าเหลือง( Lymph )
• ท่อน้าเหลือง ( Lymph vessel )
• อวัยวะน้าเหลือง ( Lymphatic organ )

ระบบน้้าเหลือง

MENU
น้าเหลือง ( Lymph )
ส่วนประกอบของน้าเหลืองคล้ายกับในเลือดแต่ไม่มีเม็ดเลือดแดง เป็น
ของเหลวที่ซึมผ่านผนังหลอดเลือดฝอยออกมาอยู่ระหว่างเซลล์หรือรอบ ๆ
เซลล์ เพื่อหล่อเลี้ยงเซลล์ ในน้าเหลืองจะมีโปรตีนโมเลกุลเล็ก เช่น อัลบูมิน
และสารที่มีโมเลกุลเล็ก ๆ เช่น แก๊ส น้า น้าตาลกลูโคส น้าเหลืองไหลไปตามท่อ
น้าเหลือง โดยอาศัยปัจจัย 3 ประการ คือ
- การหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อที่จะไปกดหรือคลายท่อน้าเหลือง
- ความแตกต่ า งระหว่ า งความดั น ไฮโดรสเตติ ก ซึ่ ง ท่ อ น้ าเหลือ งขนาดเล็ก มี
มากกว่าท่อน้าเหลือง ขนาดใหญ่
- การหายใจเข้า ซึ่งไปมีผลขยายทรวงอกและลดความดันทาให้ท่อน้าเหลือง
ขยายตัว

ระบบน้้าเหลือง

MENU
ท่อน้าเหลือง ( Lymph vessel )
เป็นท่อตันมีอยู่ทั่วร่างกายมีขนาดต่าง ๆ กัน มีลักษณะคล้ายหลอดเลือดเวน คือมี
ลิ้นกั้นป้องกัน
การไหลกลับของน้ อง ท่อ้าเหลืองขนาดใหญ่มี 2 ท่อที่ส้าคัญคือ
้าเหลื
น้
- ท่อน้าเหลืองทอราซิก (Thoracic duct ) เป็นท่อน้าเหลืองขนาดใหญ่ที่สุด ท้า
หน้าที่รับน้าเหลืองจากส่วนต่างๆของร่างกาย ยกเว้นทรวงอกขวาแขนขวาและส่วนขวา
ของหัวกับคอ เข้าหลอดเลือดเวนแล้วเข้าสู่เวนาคาวาก่อนเข้าสู่หัวใจ อยู่ทางซ้ายของ
ลาตัว
- ท่อน้าเหลืองทางด้านขวางของลาตัว ( Right lymphatic duct ) รับน้าเหลือง
จากทรวงอกขวาแขนขวา และส่วนขวาของหัวกับคอเข้าหลอดเลือดเวน แล้วเข้าสู่เว
นาคาวา เข้าสู่หัวใจ จากนั้นน้าเหลืองที่อยู่ในท่อน้าเหลือง จะเข้าหัวใจปนกับเลือดเพื่อ
ลาเลียงสารต่าง ๆ ต่อไป

ระบบน้้าเหลือง

MENU
อวัยวะน้าเหลือง ( Lymph organ )
อวัยวะน้าเหลืองเป็นศูนย์กลางในการผลิตเซลล์ที่ใช้ในการต่อต้านเชื้อโรค
หรือสิ่งแปลกปลอมประกอบด้วย
• ต่อมน้าเหลือง
• ต่อมทอนซิล
• ม้าม
• ต่อมไทมัส
• เนื้อเยื่อน้าเหลืองที่อยู่ที่ลาไส้

ระบบน้้าเหลือง

MENU
ต่อมน้าเหลือง ( Lymph node )
พบอยู่ ร ะหว่ า งทางเดิ น ของ
ท่ อ น้ าเหลื อ งทั่ ว ไปในร่ า งกาย
ลักษณะเป็นรูปไข่ กลม หรือรี เส้น
ผ่ า นศู น ย์ ก ลางประมาณ 1. 5
มิ ล ลิ เ มตร จะมี ท่ อ น้ าเหลื อ งเข้ า
และท่อน้าเหลืองออกภายในเต็มไป
ด้ ว ยเม็ ด เลื อ ดขาวชนิ ด ลิ ม โฟไซต์
ต่ อ มน้ าเหลื อ งจะท้ า หน้ า ที่ ก รอง
น้ า เ ห ลื อ ง ใ ห้ ส ะ อ า ด ท า ล า ย
แบคที เรี ย และท้ า ลาย เม็ ด เลื อ ด
ขาวที่อยู่ในวัยชรา

ระบบน้้าเหลือง

ต่อมทอนซิล ( Tonsil gland )
เป็นกลุ่มของต่อมน้าเหลือง
มี อ ยู่ 3 คู่ คู่ ที่ ส าคั ญ อยู่ ร อบ ๆ
ห ล อ ด อ า ห า ร ภ า ย ใ น ต่ อ ม
ทอนซิ ล จะมี ลิ ม โฟไซต์ ท้ า ลาย
จุลินทรีย์ที่ผ่านมาในอากาศไม่ให้
เข้าสู่หลอดอาหารและกล่องเสียง
ถ้ า ต่ อ มทอนซิ ล ติ ด เชื้ อ จ ะมี
อาการบวมขึ้ น เรี ย กว่ า ต่ อ ม
ทอนซิลอักเสบ

MENU
ม้าม ( spleen )
เป็นอวัยวะน้าเหลืองที่ใหญ่ที่สุด มีหลอดเลือดมาเลี้ยงมากมายไม่มี
ท่อน้าเหลืองเลย สามารถยืดหดได้ นุ่มมีสีม่วง อยู่ใกล้ ๆ กับกระเพาะ
อาหารใต้กระบังลมด้านซ้าย รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วภายในจะมี ลิมโฟไซต์
อยู่มากมาย ม้ามมีหน้าที่สร้างเม็ดเลือดในระยะเอ็มบริโอในคนที่คลอดแล้ว
ม้ามทาหน้าที่ ทาลายเม็ ดเลือดแดงที่หมดอายุแ ล้ว สร้างเม็ดเลือดขาว
พวกลิมโฟไซต์ และโมโนไซต์ซึ่งทาหน้าที่ป้องกันสิ่งแปลกปลอมและเชื้อ
โรคที่ เ ข้ า ไปในกระแสเลื อ ด สร้ า งแอนติ บ อดี และ ในสภาพผิ ด ปกติ
สามารถสร้างเม็ดเลือดแดงได้ เช่น มะเร็งเม็ดเลือด

ระบบน้้าเหลือง

MENU
อวัยวะน้าเหลือง
ต่อมไทมัส ( Thymus gland )
เป็ น ต่ อ มที่ มี ข นาดใหญ่ ต อน
อายุน้อย และถ้าอายุมากจะเล็กลง
และฝ่อในที่สุด เป็นต่อมไร้ท่ออยู่ตรง
ทรวงอกรอบหลอดเลื อ ดใหญ่ ข อง
หัวใจ ทาหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือด
ขาวชนิดลิมโฟไซต์ T
มีหน้าที่
ต่อต้านเชื้อโรคและสารแปลกปลอม
เข้าสู่ร่างกาย รวมทั้งการต้านอวัยวะ
ที่ปลูกถ่ายจากผู้อื่นด้วย

ระบบน้้าเหลือง

MENU
MENU
ในร่างกายของเราได้รับสิ่งแปลกปลอมมากมาย มีทั้งเชื้อโรคได้แก่
แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส พยาธิต่างๆสารเคมีที่เจือปนอยู่ในอากาศที่จะเข้าสู่
ร่างกายทาง ผิวหนัง ทางระบบหายใจ ทางระบบย่อยอาหาร หรือทาง
ระบบหมุ น เวี ย นเลื อ ดโดยปกติ ร่ า งกายจะมี ก ารป้ อ งกั น และก าจั ด สิ่ ง
แปลกปลอมที่เป็นอันตรายต่อร่างกายโดยระบบภูมิคุ้มกัน ( immunity )
สิ่ ง แปลกปลอมหรื อ เชื้ อ โรคไม่ ส ามารถเข้ า สู่ ร่ า งกายได้ โ ดยง่ า ยเพราะ
ร่างกายมีกลไกต่อต้านหรือท้าลายสิ่งแปลกปลอมเหล่านั้น ซึ่งแบ่งได้เป็น
• แบบไม่จาเพาะ (nonspecific defense)
• แบบจาเพาะ (specific defense)

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
กลไกการต่อ ต้า นหรื อท าลายสิ่ ง แปลกปลอมแบบไม่จ าเพาะ มี

หลายด้านด้วยกัน
ผิวหนังมีเคราตินซึ่งเป็นโปรตีนที่ไม่ละลายน้าเป็นองค์ประกอบอัดแน่น
ภายในเซลล์และเรียงตัวกันหลายชั้น ช่วยป้องกันการเข้าออกของสิ่งต่าง ๆ ได้
ผิวหนังบางบริเวณยังมีต่อมเหงื่อและต่อมไขมันหลั่งสารบางชนิด เช่น กรด
ไขมัน กรดแลกติก ท้าให้ผิวหนังมีสภาพเป็นกรด ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่เอื้อต่อการ
เจริญเติบโตของจุลินทรีย์บางชนิด
นอกจากนี้ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ท่อปัสสาวะ ช่องคลอด ซึ่ง
ติดต่อกับภายนอกยังมีเยื่อบุที่ทาหน้าที่ควบคุมการเข้าออกของสาร มีการสร้าง
เมือกและมีซีเลียคอยดักจับ สิ่งแปลกปลอมและพัดออกนอกร่างกาย และพบว่า
ในน้าตาและน้าลายมีไลโซไซม์ที่ช่วยทาลายเชื้อโรค บางชนิดได้
ในกระเพาะอาหารมีสภาพเป็นกรดและมีเอนไซม์ช่วยย่อยและทาลาย
จุลินทรีย์บางชนิดได้

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
แต่ถ้าสิ่งแปลกปลอมผ่านด่านป้องกันดังกล่าวข้างต้นเข้าสู่ร่างกายได้
ร่างกายจะมีวิธีการต่อต้านและท้าลายสิ่งแปลกปลอมโดยกระบวนการฟา
โกไซโทซิสของเม็ดเลือดขาวพวกโมโนไซด์ ซึ่งออกจากกระแสเลือดไปยัง
เนื้อเยื่อและมีขนาดใหญ่ขึ้นเรียกว่าแมโครฟาจ และยังมีเซลล์เม็ดเลือดขาว
ชนิดนิวโทรฟิลล์กับอีโอซิโนฟิลล์ช่วยทาลายจุลินทรีย์ต่าง ๆ ด้วย
การอักเสบเป็นกระบวนการต่อต้านเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมของ
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย โดยผ่านกลไกต่าง ๆ เพื่อยับยั้งและดึงดูด
องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบภูมิคุ้มกันมายังบริเวณนั้น เช่น การอักเสบ
ของบาดแผลที่ติดเชื้อ จะมีอาการบวมแดง ร้อนปรากฏให้เห็น

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
กลไกการต่อต้านหรือทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบจาเพาะ จะเกี่ยวข้อง
กับการท้างานของ
เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ ได้แก่ เซลล์บีและเซลล์ที
การทางานของเซลล์บี
เมื่อมีแอนติเจนถูกท้าลายด้วยวิธีฟาโกไซโทซิสชิ้นส่วนที่ถูกทาลายจะไป
กระตุ้นให้เซลล์บีเพิ่มจานวน เซลล์บีบางเซลล์จะขยายขนาดและเปลี่ยนแปลง
ไปท าหน้ า ที่ ส ร้ า งแอนติ บ อดี จ าเพาะต่ อ แอนติ เ จน เรี ย กว่ า เซลล์ พ ลาสมา
(plasma cell) เซลล์ที่ได้จากการที่เซลล์บีแบ่งตัวบางเซลล์จาทาหน้าที่เป็น
เซลล์ เมมเมอรี (memory cell) คือจดจาแอนติเจนนั้น ๆ ไว้ ถ้ามีแอนติเจนนี้
เข้าสู่ร่างกายอีก เซลล์ เมมเมอรีก็จะมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว และเจริญเป็น
เซลล์พลาสมา สร้างแอนติบอดีออกมาท้าลายแอนติเจน

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
การทางานของเซลล์ที
เซลล์ทีรับรู้แอนติเจนแต่ละชนิด เช่นเซลล์ทีบางตัวจะรับรู้แอนติเจน
ที่เป็นไวรัสตับอักเสบ เซลล์ทีบางตัวจะรับรู้แอนติเจนที่เป็นเชื้อไข้หวัดใหญ่
เป็นต้น เซลล์ทีตัวแรกที่ตรวจจับแอนติเจน เรียกว่า เซลล์ทีผู้ช่วย (helper
T cell) จะทาหน้าที่กระตุ้นเซลล์บีให้สร้างแอนติบอดีมาต่อต้านแอนติเจน
หรือกระตุ้นการทางานของเซลล์ทีอื่น เช่น เซลล์ทีที่ทาลายสิ่งแปลกปลอม
(cytotoxic T cell) หรือเซลล์ที่มีสิ่งแปลกปลอม เช่น เซลล์มะเร็ง เซลล์ที่
ติดเชื้อไวรัส เซลล์จากอวัยวะ ที่ร่างกายได้รับการปลูกถ่าย เซลล์ทีบาง
เซลล์ ทาหน้าที่ควบคุม การตอบสนองทางภูมิ คุ้ม กันเรียกว่า เซลล์ทีก ด
ภูมิคุ้มกัน (suspressor T cell) โดยสร้างสารไปกดการทางานของเซลล์บี
หรือเซลล์ทีอื่น ๆ

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
การสร้างภูมิคุ้มกันโรคของร่างกาย สร้างขึ้นได้ 2 วิธีดังนี้
• ภู มิ คุ้ ม กั น ก่ อ เ อ ง ห รื อ ก า ร ก่ อ ภู มิ คุ้ ม กั น ด้ ว ย ต น เ อ ง ( Active
Immunization)
• ภูมิคุ้มกันที่รับมา (Passive Immunuization)

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
ภูมิคุ้มกันก่อเองหรือการก่อภูมิคุ้มกันด้วยตนเอง
เมื่อร่างกายถูกกระตุ้นด้วยแอนติเจนหรือสิ่งแปลกปลอมภายนอก
ร่างกายอาจเป็นเชื้อโรคที่อ่อนกาลังแล้ว ไม่ทาอันตราย นามาฉีด กิน หรือ
ทาที่ผิวหนัง เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน หรือ สร้างแอนติบอดี ที่
ทาปฏิกิริยาเฉพาะกับแอนติเจนนั้น เชื้อโรคที่อ่อนกาลังแล้วนามากระตุ้น
ให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีต่อต้านเชื้อนั้นๆ เรียกว่า วัคซีน ( vaccine )
ชนิดของวัคซีนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
1. Killed vaccine หมายถึง วัคซีนที่ทาจากเชื้อโรคที่ถูกฆ่าตายแล้ว
หรือทาจากองค์ประกอบของไขมัน เช่น สารพิษ สารพิษก็ต้องทาลายให้หมด
พิ ษ เสี ย ก่ อ นโดยความร้ อ น หรื อ โดยสารเคมี ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ ท าให้ เ กิ ด โรคกั บ
ร่างกาย แต่สามารถกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันให้สร้างแอนติบอดีได้ วัคซีนนี้ใช้กัน
มากเพราะเตรียมง่าย ราคาไม่แพงมีหลายชนิด มีประสิทธิภาพสูง
2. Lived vaccine หมายถึง วัคซีนที่ทาจากเชื้อโรคที่ท้าให้อ่อนฤทธิ์ลง
ซึ่งเชื้อเหล่านี้จะสามารถเจริญเติบโตและแบ่งตัวอยู่ในขอบเขตจากัดเมื่อเข้าสู่
ร่างกาย ไม่ทาให้เกิดโรครุนแรง แต่มีความสามารถในการกระตุ้นให้ร่างกาย
สร้างภูมิคุ้มกันได้

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
ข้อควรคานึงถึงในการให้และรับวัคซีน
1. วั ค ซี น จะให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ ดี ถ้ า การให้ โ ดยวิ ธี ธ รรมชาติ ที่ สุ ด เช่ น วั ค ซี น ที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบ
ทางเดินอาหาร ควรเป็นวัคซีนเดียวกัน
2. ต้องรับวัคซีนให้ครบตามจ้านวนที่กาหนดไว้ล่วงหน้า เพราะวัคซีนส่วนใหญ่จะให้ผลเต็มที่เมื่อ
ได้รับการกระตุ้นหลายครั้ง
3. เด็กแรกเกิด จะสร้างภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนไม่เต็มที่เพราะความต้านทานที่รับจากมารดาจะเป็นตัว
ทาให้วัคซีนทาหน้าที่กระตุ้นได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นต้องรอให้ความต้านทานจากมารดาลดลงเสียก่อน
ซึ่งอยู่ในช่วง 4 - 6 เดือน
4. ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคติดต่อเชื้อควรได้รับการแนะนาให้ฉีดวัคซีน เช่น หัดเยอรมันใน
สตรีที่อยู่ในระยะมีบุตร บุคคลที่อยู่ในบริเวณโรคนั้นๆระบาด
5. สตรีที่กาลังตั้งครรภ์ ไม่ควรได้รับวัคซีนประเภท Live vaccine เพราะเป็นอันตรายแก่เด็กได้
6. ผู้ที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันหรือใช้ยาบางประเภทไม่ควรใช้ Live vaccine ดังนั้นควร
ปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
ภูมิคุ้มกันที่รับมา
เป็นการให้แอนติบอดีแก่ร่างกายโดยตรง โดยแอนติบอดีนี้ได้จากสัตว์
อื่นๆ ใช้สาหรับรักษาโรคบางชนิด ที่แสดงอาการรุนแรงเฉียบพลัน โดยการฉีด
เชื้อโรคที่อ่อนกาลังแล้วเข้าไปในสัตว์พวกม้า หรือกระต่ายเพื่อให้ร่างกายของ
สัตว์ดังกล่าวสร้างแอนติบอดีขึ้นมาต่อต้านเชื้อโรคนั้นๆ แล้วนาเลือดของม้าหรือ
กระต่ายเฉพาะส่วนที่เป็นน้าใส ๆ เรียกว่า เซรุ่ม (serum) ซึ่งในเซรุ่มมี
แอนติบอดีอยู่มาฉีดให้กับผู้ป่วยเป็นการท้าให้ร่างกายได้รับภูมิคุ้มกันโดยตรง
สามารถป้องกันโรคได้ทันท่วงที เช่น เซรุ่มสาหรับคอตีบ เซรุ่มแก้ งูพิษ เซรุ่ม
โรคกลัวน้า ภูมิคุ้มกันที่แม่ให้ลูกโดยผ่านทางรก หรืออาจได้รับโดยการกินนม

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
ข้อเสียของภูมิคุ้มกันรับมา
แอนติบอดีอยู่ได้ไม่นาน ผู้ป่วยอาจแพ้เซรุ่มจากสัตว์ได้ หรืออาจติด
เชื้ออื่นๆ ที่มีในน้าเหลืองของผู้ให้ เช่น ไวรัสตับอักเสบและโรคเอดส์
ข้อดีของภูมิคุ้มกันรับมา
สามารถให้ ภู มิ คุ้ ม กั น อย่ า งรวดเร็ ว สามารถป้ อ งกั น ได้ แ ม้ ไ ด้ รั บ
หลังจากที่ได้สัมผัสกับเชื้อโรคนั้นแล้ว

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
ระบบภูมิคุ้มกันเป็นระบบที่มีกระบวนการต่างๆของร่างกาย เพื่อ
ตอบสนองต่ อ การมี สิ่ ง แปลกปลอมต่ า งๆเข้ า สู่ ร่ า งกายหรื อ เกิ ด ขึ้ น ใน
ร่างกายเอง ถ้ามีภูมิคุ้มกันเอง ถ้ามีภูมิคุ้มกันที่น้อยเกินไปก็จะทาให้เกิด
โรคได้ง่าย แต่ถ้ามีมากเกินไปก็อาจท้าให้เกิดโรคได้เช่นกัน

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
โรคภูมิแพ้ (Allergy)
เป็นอาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากร่างกายมีปฏิกิริยาต่อแอนติเจนบาง
ชนิดรุนแรง และก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย เช่น การแพ้สารเคมีในบ้าน
ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ อาหารทะเล และอากาศ เป็นต้น แม้บางโรคไม่
รุนแรงมากแต่ก็มีอาการต่อเนื่องต้องรับการรักษาตลอดเวลาท้าให้เสีย
ค่าใช้จ่ายในการรักษา จากการศึกษาทางการแพทย์พบว่าโรคภูมิแพ้ต่อ
สารบางชนิดเกี่ยวข้องทางพันธุกรรมด้วย

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
โร ค ที่ ร่ า ง ก า ย ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั นต้ า น ท าน เ นื้ อ เยื่ อ ข อ ง ต น เ อ ง
(Autoimmune diseases)
เช่น โรคเอส-แอลอี (SLE-Systemic Lupus Erythematosus) เป็นต้น
เป็นความผิดปกติที่ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาต่อต้านเซลล์ของตนเอง ซึ่งโดย
ปกติแล้วภูมิคุ้มกันในร่างกายสามารถแยกความแตกต่างได้ ว่าแอนติเจนใดเป็น
แอนติเจนของตนเอง และแอนติเจนใดเป็นสิ่งแปลกปลอม จึงสร้างแอนติบอดี
จาเพาะมาทาลายแอนติเจนเท่านั้นจะไม่ท้าลายเซลล์ของตนเอง แต่ในบางกรณี
เกิดภาวะผิดปกติขึ้น กลไกการควบคุมเสียไปทาให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีมา
ต่อต้านแอนติเจนของตนเอง

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
โรคเอดส์ (AIDS- Acquired Immune Deficiency Syndrome)
ซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม อาการของภู มิ คุ้ ม กั น บกพร่ อ งอั น เกิ ด จากเชื้ อ HIV
(Human Immunodeficiency Virus) เข้าไปเจริญและเพิ่มจ้านวนใน
เซลล์ทีและท้าลายเซลล์ทีซึ่งท้าให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายบกพร่อง

ระบบภูมิคมกัน
ุ้

MENU
MENU
ระบบขับถ่าย
การขับถ่ายของมนุษย์
การก้าจัดของเสียทางไต
การก้าจัดของเสียทางผิวหนัง
การก้าจัดของเสียทางล้าไส้ใหญ่
การก้าจัดของเสียทางปอด

MENU
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจNichapa Banchakiat
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
kasidid20309
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
Ta Lattapol
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Jiradet Dongroong
 
ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตJanejira Meezong
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Ccs (2)
Ccs (2)Ccs (2)
Ccs (2)
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
 
ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิต
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
CUPress
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
พัน พัน
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
Amporn Ponlana
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์Amporn Ponlana
 
ระบบหายใจ.pptx
ระบบหายใจ.pptxระบบหายใจ.pptx
ระบบหายใจ.pptx
KanokvanKS
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
ssuser48f3f3
 
บทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจบทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจ202333
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
9789740332572
97897403325729789740332572
9789740332572
CUPress
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
NookPiyathida
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
 
G2
G2G2
G2
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
ระบบหายใจ.pptx
ระบบหายใจ.pptxระบบหายใจ.pptx
ระบบหายใจ.pptx
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Pneumothorax
PneumothoraxPneumothorax
Pneumothorax
 
บทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจบทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจ
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
9789740332572
97897403325729789740332572
9789740332572
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
หู
หูหู
หู
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 

More from Thanyalux Kanthong (20)

เฉลยไทยปี 53
เฉลยไทยปี 53เฉลยไทยปี 53
เฉลยไทยปี 53
 
O net-m6-ไทย53
O net-m6-ไทย53O net-m6-ไทย53
O net-m6-ไทย53
 
เฉลยปี 53
เฉลยปี 53เฉลยปี 53
เฉลยปี 53
 
O net-m6-53
O net-m6-53O net-m6-53
O net-m6-53
 
เฉลยปี 52
เฉลยปี 52เฉลยปี 52
เฉลยปี 52
 
O net-m6-52
O net-m6-52O net-m6-52
O net-m6-52
 
เฉลยปี 51
เฉลยปี 51เฉลยปี 51
เฉลยปี 51
 
O net-m6-51
O net-m6-51O net-m6-51
O net-m6-51
 
เฉลยปี 50
เฉลยปี 50เฉลยปี 50
เฉลยปี 50
 
O net-m6-50
O net-m6-50O net-m6-50
O net-m6-50
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15
 
ใบงานที่ 14
ใบงานที่  14ใบงานที่  14
ใบงานที่ 14
 
ใบงานที่ 13
ใบงานที่  13ใบงานที่  13
ใบงานที่ 13
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 5. การหายใจของมนุษย์ ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ 1. การหายใจภายนอก (external respiration) เป็นการนา อากาศเข้าสู่ปอด การแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างปอดกับเลือด 2. การหายใจภายใน (internal respiration) การขนส่งแก๊สจาก เลือดไปยังเซลล์และเนื้อเยื่อ ซึ่งจะทาให้ได้พลังงานในรูปของความร้อนทา ให้ร่างกายอบอุ่นและ ATP ที่นาไปใช้ในกิจกรรมต่างๆของเซลล์ซึ่งเป็น จุดประสงค์สาคัญที่สุดของการหายใจ MENU
  • 6. ระบบหายใจของมนุษย์ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้คือ        1. ส่วนนาอากาศเข้าสู่ร่างกาย (conducting division) ส่วนนี้ ประกอบด้ ว ยอวั ย วะที่ ท าหน้ า ที่ เ ป็ น ทางผ่ า นของอากาศเข้ า สู่ ส่ ว นที่ มี ก าร แลกเปลี่ยนแก๊ส โดยเริ่มตั้งแต่ รูจมูก (nostril) โพรงจมูก (nasal cavity) คอหอย (pharynx) กล่องเสียง (larynx) หลอดลมคอ (trachea) หลอดลมหรือขั้วปอด (bronchus) หลอดลมฝอย (bronchiole) ซึ่งยังแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ - หลอดลมฝอยเทอร์มินอล (terminal bronchiole) - หลอดลมฝอยแลกเปลี่ยนแก๊ส (respiratory bronchiole) MENU
  • 7. 2. ส่วนแลกเปลี่ยนแก๊ส (respiratory division) เป็นส่วนของ หลอดลมฝอยที่ ต่ อ จากหลอดลมฝอยเทอร์ มิ น อล คื อ หลอดลมฝอย แลกเปลี่ ย นแก๊ ส ซึ่ ง จะมี ก ารโป่ ง พองเป็ น ถุ ง ลมย่ อ ย (pulmonaryalveoli)ท าให้ แ ลกเปลี่ ย นแก๊ ส ได้ ส าหรั บ ส่ ว นที่ ต่ อ จากท่ อ ลมฝอย แลกเปลี่ยนแก๊สจะเป็น  ท่อลม (alveolar duct)  ถุงลม (alveolar sac)  ถุงลมย่อย (pulmonary alveoli) MENU
  • 9. รูจมูก (nostril) และ โพรงจมูก (nasal cavity) อากาศเมื่อผ่านเข้าสู่รูจมูกแล้วก็จะเข้าสู่โพรงจมูก ที่โพรงจมูกจะมีขน เส้นเล็ก ๆ และต่อมน้ามันช่วยในการกรองและจับฝุ่นละอองไม่ให้ผ่านลงสู่ ปอด นอกจากนี้ที่โพรงจมูกยังมีเยื่อบุจมูกหนาช่วยให้อากาศที่เข้ามามีความ ชุ่มชื้นเพิ่มขึ้นและมีอุณหภูมิสูงขึ้น ในจมูกจะมีบริเวณที่เรียกว่า ออลแฟกเทอรี แอเรีย (olfactory area) หรือบริเวณที่ทาหน้าที่รับกลิ่น MENU
  • 10. คอหอย (pharynx) เป็นบริเวณที่พบกันของช่องอากาศจากจมูกและช่องอาหารจากปาก อากาศจะผ่านเข้าสู่กล่องเสียง (larynx) ที่กล่องเสียงจะมีอวัยวะที่ทา หน้ า ที่ ใ นการปิ ดเปิ ด กล่ อ งเสี ย งเรี ย กว่ า ฝาปิ ดกล่ อ งเสี ย ง (epiglottis) ป้องกันไม่ให้อาหารตกลงสู่หลอดลม ที่กล่องเสียงจะมีเยื่อเมือกที่มีใยเอ็น ยืดหยุ่นได้เรียกว่า เส้นเสียง (vocal cord) เมื่อลมผ่านกล่องเสียงจะทาให้ เส้นเสียงสั่นและเกิดเป็นเสียงขึ้น MENU
  • 11. กล่องเสียง (larynx) ลักษณะเป็นแผ่น 2 แผ่น เชื่อมประกบทามุมกันเป็นชั้นเดียวในผู้ชาย มีลักษณะแหลมยื่นออกมาเรียกว่า ลูกกระเดือก(Adam's apple) ใน ผู้หญิงมีลักษณะป้านเรียบมองเห็นไม่ชัดเรียกว่า epiglottis เป็นกระดูก อ่อนรูปร่างคล้ายใบไม้ ด้านหน้าเป็นช่องเปิดเข้าสู่กล่องเสียง ในขณะกลืน อาหาร กล่ อ งเสี ย งจะเลื่ อ นขึ้ น ข้ า งบนและข้ า งหน้ า ส่ ว นปลาย ของ epiglottis จะเลื่อนลงมาปิดกล่องเสียงไม่ให้อากาศเข้าสู่กล่องเสียง ได้ หน้าที่ของกล่องเสียง (larynx) คือ เป็นทางผ่านเข้าออกของอากาศ และทาให้เกิดเสียง
  • 12. หลอดลมคอ (trachea) เป็นท่อกลวงมีผ นังแข็งและหนาเพราะมีกระดูกอ่อนเรียงเป็นรูป เกือกม้าทาให้หลอดลมคอไม่แฟบและการที่กระดูกอ่อนของหลอดลมคอ เป็นรูปเกือกม้าทาให้หลอดอาหาร ซึ่งอยู่ด้านหลังสามารถขยายขนาดได้ เมื่อมีการกลืนอาหารผ่านหลอดอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร หลอดลมคอ จะเริ่มจากกระดูกคอชิ้นที่ 6 จนถึงกระดูกอกชิ้นที่ 5 แล้วจึงแตกแขนงเป็น หลอดลม (bronchus) เข้าสู่ปอดอีกทีหนึ่ง MENU
  • 13. หลอดลมเล็กหรือขั้วปอด( bronchus) เป็นส่วนที่แตกแขนงแยกจากหลอดลม แบ่งออกเป็น 2 กิ่งคือซ้าย หรือขวา โดยกิ่งซ้ายจะเข้าสู่ปอดซ้าย และกิ่งขวาแยกเข้าปอดขวาพร้อม ๆ กับเส้นเลือดและเส้นประสาท MENU
  • 14. หลอดลมฝอย (bronchiole) แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. หลอดลมฝอยเทอร์มินอล (terminal bronchiole) เป็นท่อที่ แยกออกจากหลอดลมแขนง พบกล้ามเนื้อเรียบและเยื่ออิลาสติกไฟเบอร์ (elastic fiber)เป็นองค์ประกอบของผนังหลอดลมฝอยเทอร์มินอล แต่ไม่ พบโครงสร้างที่เป็นกระดูกอ่อน 2. หลอดลมฝอยแลกเปลี่ยนแก๊ส(respiratory bronchiole) เป็น ส่วนแรกที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส เนื่องจากมีถุงลมย่อยมาเปิดเข้าที่ผนัง ซึ่ง จะพบในส่วนที่อยู่ท้าย ๆ ซึ่งจะมีมากกว่าส่วนที่อยู่ติดกับหลอดลมฝอย เทอร์มินอล MENU
  • 15. ท่อลม (alveolar duct) เป็นท่อส่วนสุดท้ายของส่วนที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส (respiratory division)ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ถุงลม (alveolar sac) MENU
  • 16. ถุงลมและถุงลมย่อย (alveolus หรือ alveolar sac และ pulmonary alveoli) ถุงลมเป็นช่องว่างที่มีถุงลมย่อยหลาย ๆ ถุงมาเปิดเข้าที่ช่องว่างอันนี้ ส่วนถุงลมย่อยมีลักษณะเป็นถุงหกเหลี่ยม เมื่อปอดแฟบเวลาหายใจออก ผนังของถุงลมย่อยที่อยู่ติดกันจะรวมกันเป็น อินเตอร์อัล วีโอลาร์เซปทัม (interalveolar septum) ซึ่งมีเส้นเลือดฝอยอยู่ภายใน นอกจากนี้ยังมีรู ซึ่งเป็นช่องติดต่อระหว่างถุงลมย่อยทาให้อากาศภายในถุงลมย่อยมีแรงดัน เท่ากันทั้งปอด ทั้งถุงลมและถุงลมย่อยจะรวมเรียกว่า ถุงลมปอด MENU
  • 17. ปอดแต่ละข้างจะมีถุงลมปอดประมาณ 300 ล้านถุง คิดเป็นพื้นที่ ทั้งหมดของการแลกเปลี่ยนแก๊สของถุงลมปอดทั้งสองข้างประมาณ 90 ตารางเมตรหรื อ คิ ด เป็ น 40 เท่ า ของพื้ น ที่ ผิ ว ของร่ า งกาย การที่ ป อด ยืดหยุ่นได้ดีและขยายตัวได้มากและการมีพื้นที่ของถุงลมปอดมากมาย ขนาดนั้นจะทาให้ร่างกายได้รับแก๊สออกซิเจนอย่างเพียงพอและคายแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ได้เป็นอย่างดีอีกด้วยปอดของคนมีเส้นเลือดฝอยมา เลี้ยงอย่างมากมายจึงทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สได้มากและรวดเร็วจน เป็นที่เพียงพอแก่ความต้องการของร่างกาย MENU
  • 18. ปอดเป็นอวัยวะที่ทาหน้าที่ในการหายใจ ปอดตั้งอยู่ภายในทรวงอกมี ปริมาตรประมาณ 2 ใน 3 ของทรวงอก ปอดขวาจะสั้นกว่าปอดซ้าย เนื่องจากตับซึ่งอยู่ทางด้านล่างดันขึ้นมา ส่วนปอดซ้ายจะแคบกว่าปอด ขวาเพราะว่ามีหัวใจแทรกอยู่ ปอดมีเยื่อหุ้มปอด (pleura) 2 ชั้น ชั้นนอก ติดกับผนังช่องอก ส่วนชั้นในติดกับผนังของปอด ระหว่างเยื่อทั้งสองชั้นมี ของเหลวเคลื อ บอยู่ การหุ บ และการขยายของปอดจะเป็ น ตั ว ก าหนด ปริม าณของอากาศที่เข้าสู่ ร่างกาย ซึ่ งจะท าให้ร่างกายได้รับออกซิ เจน ถ่ายเทคาร์บอนไดออกไซด์ออกตามที่ร่างกายต้องการ MENU
  • 19. เมื่อกล้ามเนื้อกระบังลมและกล้ามเนื้อ ยึดซี่โครงด้านนอกหดตัว จะทาให้ทรวงอก และปอดขยายตัวขึ้นปริมาตรภายในปอด เพิ่มขึ้น ดังนั้นความดันภายในปอดจึงลดลง และต่ ากว่ า บรรยากาศภายนอก อากาศ ภายนอกจึงเคลื่อนตัวเข้าสู่ปอด จนทาให้ ความดันภายนอกและภายในปอดเท่ากัน แล้ ว อากาศก็ จ ะไม่ เ ข้ า สู่ ป อดอี ก เรี ย กว่ า การหายใจเข้า (inspiration) MENU
  • 20. เ มื่ อ ก ล้ า ม เ นื้ อ ก ร ะ บั ง ล ม แ ล ะ กล้ ามเนื้อยึดซี่ โครงด้านนอกคลายตัวลง ท าให้ ป อดและทรวงอกมี ข นาดเล็ ก ลง ปริม าตรของอากาศในปอดจึงลดไปด้วย ท า ใ ห้ ค ว า ม ดั น ภ า ย ใ น ป อ ด สู ง ก ว่ า บรรยากาศภายนอก อากาศจึงเคลื่อนที่ ออกจากปอดจนความดั น ในปอดลดลง เท่ากับความดันภายนอก อากาศก็จะหยุด การเคลื่ อ นที่ซึ่ ง เรี ย กว่ า การหายใจออก (expiration) MENU
  • 21. ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าปกติ แต่ละครั้งมีประมาณ 500 ลูกบาศก์ เซนติเมตร ถ้าบังคับให้มีการหายใจเข้าเต็มที่มากที่สุด จะมีอากาศเข้าไป ยังปอดเพิ่มมากขึ้นจนอาจถึง 6,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งเป็นระดับที่ ปอดจะจุ อ ากาศได้ เ ต็ ม ที่ เ ช่ น เดี ย วกั บ การบั ง คั บ การหายใจออกเต็ ม ที่ อากาศจะออกจากปอดมากที่สุดเท่าที่ความสามารถของกล้ามเนื้อกะบัง ลมและกล้ามเนื้อซี่โครงจะทาได้ ซึ่งจะเห็นว่าเมื่อหายใจออกเต็มที่แล้ว ยังคงมีอากาศตกค้างในปอด ประมาณ 1,100 ลูกบาศก์เซนติเมตร MENU
  • 22. ในคนที่ออกกาลังกายอยู่เสมอเช่น นักกีฬา ซึ่งสามารถสูดลมหายใจ เข้าเต็มที่ได้มากกว่าคนทั่ วไปเพราะกล้ ามเนื้อที่ ใ ช้ใ นการสูดลมหายใจ ทางานได้ดี คนกลุ่มนี้จะทากิจกรรมอยู่ได้นานและเหนื่อยช้ากว่าคนทั่วไป การศึ ก ษาปริ ม าตรของอากาศในปอดของคนด้ ว ยเครื่ อ ง spirometer สามารถนามาเขียนกราฟได้ดังนี้ MENU
  • 23. การแลกเปลี่ยนแก๊สในร่างกายของคนเกิดขึ้น 2 แห่งคือที่ปอดและที่เนื้อเยื่อ 1. ที่ปอด เป็นการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างใน ถุงลมปอดกับเส้นเลือดฝอย โดยออกซิเจนจากถุงลม ปอดจะแพร่เข้าสู่เส้นเลือดฝอยรอบ ๆ ถุงลมปอดและ รวมตัวกับฮีโมโกลบิน (haemoglobin; Hb) ที่ผิวของ เ ม็ ด เ ลื อ ด แ ด ง ก ล า ย เ ป็ น อ อ ก ซี ฮี โ ม โ ก ล บิ ล (oxyhemoglobin; HbO2) ซึ่งมีสีแดงสด เลือดที่มี ออกซีฮีโมโกลบินนี้จะถูกส่งเข้าสู่หัวใจและสูบฉีดไปยัง เนื้อเยื่อต่าง ๆ ทั่วร่างกาย MENU
  • 24. 2. ที่เนื้อเยื่อ ออกซีฮีโมโกลบิน จะสลายให้ออกซิเจนและฮีโมโกลบิน ออกซิ เ จนจะแพร่ เ ข้ า สู่ เ ซลล์ ท าให้ เซลล์ของเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจน ดัง สมการ MENU
  • 25. ศูนย์ควบคุมการหายใจ (the respiratory centers) อยู่ที่สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) โดยเป็นเซลล์ประสาท กระจายอยู่ทางด้านข้างทั้งสองข้าง ศูนย์นี้จะมี ความไวต่อปริมาณของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนและไฮโดรเจน ไอออน ซึ่งสารต่างๆเหล่านี้จะกระตุ้นทาให้เกิด การหายใจเข้าเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นถ้าหากมีแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดเพิ่มขึ้นก็จะทาให้ เกิดการการกระตุ้นเพิ่มขึ้นด้วย MENU
  • 26. MENU
  • 27. ระบบไหลเวียนเลือด  หัวใจ (Heart)  การหมุนเวียนเลือดของมนุษย์  จังหวะการเต้นของหัวใจ (heart rhythm)  ความดันเลือด (blood pressure)  หลอดเลือด (blood vessel)  เลือด (blood)  การแข็งตัวของเลือด (blood clotting)  หมูเ่ ลือด( Blood group ) และการให้เลือด ( Blood transfusion )  หลักในการถ่ายเลือด ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 28. หัวใจมีตาแหน่งอยู่ภายในช่องอกระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง ค่อนไป ทางซ้ายเล็กน้อย หัวใจอยู่ภายในถุงเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium) ซึ่งจะมี ของเหลวที่สร้างจากเยื่อหุ้มหัวใจทาหน้าที่หล่อลื่น และป้องกันการเสียดสี ระหว่างหัวใจกับปอดขณะหัวใจบีบตัว หัวใจมีหลอดเลือดนาเลือดมาเลี้ยง กล้ามเนื้อหัวใจ เรียกว่า โคโรนารีอาร์เตอรี (coronary artery) ส่วนเลือด ที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจแล้วจะเข้าสู่หลอดเลือดโคโรนารีเวน (coronary vein) และไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา (right atrium) ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 29. ลักษณะภายในของหัวใจมนุษย์ ระบบไหลเวียนเลือด หัวใจประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ชั้นนอกและชั้นในมีลักษณะบาง ประกอบด้ ว ยเนื้ อ เยื่ อ บุ ผิ ว ส่ ว น เ นื้ อ เ ยื่ อ ชั้ น ก ล า ง ห น า ม า ก ปร ะก อบด้ ว ยก ล้ าม เนื้ อ หั ว ใ จ (cardiac muscle) แบ่งเป็น 4 ห้อง คือ ห้องบน (atrium) 2 ห้อง และ ห้องล่าง (ventricle) 2 ห้อง แต่ละ ห้องแยกกันอย่างสมบูรณ์ MENU
  • 31. หัวใจห้องบนขวาหรือเอเตรียมขวาจะรับเลือดจากหลอดเลือดเวน ใหญ่ 2 เส้น คือ ซุพเรียเวนาคาวาที่นาเลือดมาจากส่วนหัวและแขน และ ี อินฟีเรียเวนาคาวา ซึ่งนาเลือดมาจากส่วนลาตัวและขาเข้าสู่หัวใจ เมื่อ หัวใจห้องบนขวาบีบตัว เลือดจะไหลเข้าสู่ห้องล่างขวา (right ventricle) โดยผ่านลิ้นไตรคัสปิด (tricuspid valve) ที่กั้นระหว่างห้องบนขวาและ ห้องล่างขวา เมื่อห้องล่างขวาบีบตัวเลือดจะไหลผ่าน ลิ้น พัลโมนารีเซมิลู นาร์ (pulmonary semilunar valve) ซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นครึ่งวงกลม 3 แผ่น ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 32. เลือดเข้าสู่หลอดเลือดพัลโมนารีอาร์เตอรี (pulmonary artery) หลอดเลือดนาเลือดไปยังปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส ทาให้เลือดมีปริมาณ ออกซิเจนสูง เลือดจึงไหลกลับเข้าสู่หัวใจทางพัลโมนารีเวน (pulmonary vein) เข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย (left atrium) เมื่อห้องบนซ้ายบีบตัว เลือดก็ จะไหลผ่านลิ้นไบคัสปิด (bicuspid valve) ไปยังหัวใจห้องล่างซ้าย (left ventricle) เมื่อห้องล่างซ้ายบีบตัว เลือดก็จะไหลเข้าสู่เอออร์ตา ซึ่งมีลิ้นเอ ออร์ติกเซมิลูนาร์ (aortic semilunar valve) ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับ ลิ้นพัลโมนารีเซมิลูนาร์ ทาหน้าที่กั้นไม่ให้เลือดไหลกลับ จากหลอดเลือดเอ ออร์ตาก็จะไปหล่อเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 34. กล้ามเนื้อหัวใจสามารถบีบตัวได้ เนื่องจากภายในหัวใจมีบริเวณที่ทา หน้าที่เป็นตัวควบคุมให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว บริเวณดังกล่าว คือ เอสเอ โนด (SA node) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อพิเศษเนื่องจากสามารถส่งกระแส ความรู้สึกได้เช่นเดียวกับเซลล์ประสาท และกล้ามเนื้อหัวใจเองก็สามารถ ส่ ง กระแสความรู้ สึ ก จากเซลล์ ห นึ่ ง ไปยั ง เซลล์ ห นึ่ ง ได้ เ นื่ อ งจากมี intercalated disk จึงทาให้กระแสความรู้สึกจากเอสเอ โนด กระจายไป ทั่ ว กล้ า มเนื้ อ หั ว ใจห้ อ งบนอย่ า งรวดเร็ ว ท าให้ บี บ ตั ว ได้ ขณะเดี ย วกั น กระแสความรู้สึกจะส่งไปยัง เอวี โนด (AV node) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อพิเศษ เช่ น เดี ย วกั บ เอสเอ โนด เมื่ อ กระแสความรู้ สึ ก มาถึ ง เอวี โนด จะพั ก ประมาณ 0.1 วินาที ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 35. เพื่อแน่ใจว่าหัวใจห้องบนบีบตัวและปล่อยเลือดลงสู่ห้องล่างหมดแล้ว หัวใจห้องล่างจึงบีบตัว แต่กล้ามเนื้อของหัวใจห้องล่างจะบีบตัวพร้อมกัน เนื่องจากกระแสความรู้สึกจาก เอวี โนด ส่งออกไปเร็วมากทาให้กล้ามเนื้อ ทั้ ง หมดถู ก กระตุ้ น และหดตั ว พร้ อ มกั น จนเกิ ด แรงดั น มากพอที่ จ ะส่ ง เลือดออกไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ รูปแสดงการกระตุ้นของคลื่นไฟฟ้าของ หัวใจในการเต้นหนึ่งครั้ง ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 36. กระแสความรู้สึกที่เคลื่อนไปในกล้ามเนื้อหัวใจในระหว่างที่หัวใจบีบตัว ทา ให้เกิดกระแสไฟฟ้าแพร่ไปตามของเหลวในร่างกายไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย รวมทั้ ง ผิ ว หนั ง ซึ่ ง สามารถวั ด กระแสไฟฟ้ า ที่ เ กิ ด นี้ ไ ด้ ที่ บ ริ เ วณผิ ว หนั ง โดย แสดงผลเป็ น กราฟ เรี ย กว่ า คลื่ น ไฟฟ้ า ของหั ว ใจ (Electrocardiogram, ECG) ประกอบด้วย คลื่น 3 ชนิด คือ - คลื่น พี (P wave) ซึ่งจะแทนการแผ่ของกระแสประสาทจาก SA node ไปยังหัวใจห้องบนทั้งสองก่อนที่หัวใจห้องบนทั้งสองจะหดตัว - คลื่น คิว อาร์ เอส (QRS wave) ซึ่งแสดงการแผ่ของกระแสประสาท จาก SA node, AV bundle และ Purkinje fiber ในหัวใจห้องล่างก่อนที่หัวใจ ห้องล่างจะหดตัว - คลื่น ที (T wave) จะแสดงถึงการคลายตัวของหัวใจห้องล่าง ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 37. คลื่นไฟฟ้าของหัวใจ (Electrocardiogram, ECG) คลื่นไฟฟ้าของหัวใจ (ECG) จะมีประโยชน์ทางการแพทย์ ที่จะใช้ ตรวจสอบการทางานของหัวใจ โดยที่คลื่นไฟฟ้าเหล่านี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลง เมื่อเกิดโรคหรือความผิดปกติขึ้น ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 38. ก. คลื่นไฟฟ้าของหัวใจปกติ ข. และ ค. คลื่นไฟฟ้าของหัวใจผิดปกติ ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 39. แรงดั น ของเลื อ ดที่ ไ ปดั น ผนั ง หลอดเลื อ ดมาจากหั ว ใจบี บ ตั ว ดั น เลือดออกไปและความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือดทาให้เกิดแรงดันขึ้น ความดันเลือดมัก วัดจากหลอดเลือดอาร์ เตอรีที่มีความดันมากที่สุดตอน หัวใจหดตัว และน้อยที่สุดตอนหัวใจคลายตัว ความดันเลือดจะสูงต่าตาม จัง หวะการบี บ ของหั ว ใจ ความดั น สู ง สุ ด เกิ ด ขณะหั ว ใจบี บ ตั ว เรี ย กว่ า ความดันซิสโทลิก (systolic pressure) ความดันต่าสุดเกิดขณะหัวใจ คลายตัว เรียกว่า ความดันไดแอสโทลิก (diastolic pressure) ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 40. เครื่องมือที่ใช้วัดความดันโลหิต คือ Sphygmomanometer มีหน่วย เป็นมิลลิเมตรของปรอท โดยวัดจากหลอดเลือดแดงตรงแขนด้านบนซึ่ ง ความดันเลือดในหลอดเลือดขนาดต่าง ๆ จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับระยะที่ ห่างจากหัวใจในคนหนุ่มสาวปกติ จะมีความดันเลือด 120/80 มิลลิเมตร ปรอท ตั ว เลขแรก หมายถึ ง ค่ า ความดั น เลื อ ดสู ง สุ ด ขณะหั ว ใจบี บ ตั ว (systolic pressure) ตั ว เลขหลั ง หมายถึ ง ค่ า ความดั น เลื อ ดต่ าสุ ด ขณะหั ว ใจคลายตั ว (diastolic pressure) ปัจจัยที่มีผลต่อความดันโลหิตของคน ได้แก่ ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 41.  อายุ อายุยิ่งมากความดันโลหิตจะมากขึ้น  เพศ ความดันโลหิตในผู้หญิงจะต่ากว่าชายเล็กน้อย (แต่ถ้าอายุ เกิน 40 ปี ความดันโลหิตของชาย จะต่ากว่าหญิง)  ขนาดของร่างกาย คนอ้วนจะมีความดันมากกว่าคนผอม  อารมณ์ โกรธ และ กลัว ความดันโลหิตจะสูง  การออกกาลังกาย ทาให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น  แรงดึงดูดของโลก อยู่ในที่สูงจะมีความดันโลหิตสูงกว่าในที่ต่า ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 43. หลอดเลือดทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นหลอดเลือดแดง หลอดเลือดดาและ หลอดเลือดฝอย จะมีผนังของหลอดเลือดที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อชั้นต่าง ๆ คล้ายคลึงกัน คือ ชั้นในสุดเป็นเอนโดที เลียม (endothelium) ที่ ประกอบด้วยเนื้อเยื่อบุผิวชนิด simple squamous epithelium และ basement membrane ชั้นกลางเป็นกล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) ชั้นนอกสุด ประกอบด้วย เนื้อเยื่อเกี่ยวพันพวก elastic โดยผนัง ชั้นกลางและชั้นนอกของหลอดเลือดแดงจะหนากว่าหลอดเลือดดา ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 45. ชนิดของหลอดเลือด แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. หลอดเลือดอาร์เตอรี(artery) เป็นหลอดเลือดที่มีทิศทางออกจากหัวใจไปยังปอดและส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หลอดเลือด อาร์เตอรี เมื่อเรียงลาดับจากหัวใจต่อเนื่องกันไป จากขนาดใหญ่ไปเล็กตามลาดับ จะประกอบด้วย - เอออร์ตา (aorta) มีขนาดใหญ่ที่สุด เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว หรือ 2.5 เซนติเมตร มีความหนาของชั้นที่หุ้มหลอดเลือด 2 มิลลิเมตร - อาร์เทอรี (artery) มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.4 เซนติเมตร มีชั้น ที่หุ้มหนาราว 1 มิลลิเมตร - อาร์เทอรีโอล (arteriole) มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 ไมครอนและชั้นที่บุ หนา 20 ไมครอน ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 46. 2. หลอดเลือดเวน (vein) ทาหน้าที่นาเลือดจากปอดและส่วนต่างๆของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ ซึ่ง เมื่อเรียงลาดับจากขนาดเล็กไปขนาดใหญ่สุด จะประกอบด้วยกลุ่มของหลอด เลือด เวนูล (venule) ซึ่งเป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็กที่สุด หลอดเลือดเวน (veins)เป็นหลอดเลือดขนาดกลาง และ เวนาคาวา (venacava) ซึ่งเป็น หลอดเลือดที่มีขนาดใหญ่ โดยหลอดเลือดเวนจะมีลิ้นกั้นอยู่ภายใน ระหว่าง หลอดเลือดนี้มีมัดกล้ามเนื้ออยู่ เมื่อมัดกล้ามเนื้อนี้หดตัวมีผลให้หลอดเลือดเวน ถูกบีบแคบลง ความดันในหลอดเลือดเวนจะเพิ่มขึ้นดันลิ้นในหลอดเลือดเวน ด้ า นบนให้ เ ปิ ด ออกท าให้ เ ลื อ ดไหลสู่ ห ลอดเลื อ ดเวนด้ า นบนต่ อ ไป แต่ ลิ้ น ส่วนล่างของหลอดเลือดเวนเมื่อได้รับความดันของเลือดจะไม่เปิดเนื่องจากกัน ไม่ให้เลือดไหลกลับสู่ด้านล่าง ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 47. 3. หลอดเลือดฝอย (capillary) เป็นระบบที่อยู่ระหว่างระบบอาร์ เทอรีและเวน ซึ่งจะแทรกอยู่ตาม เนื้ อ เยื่ อ ส่ ว นต่ า งๆของร่ า งกาย หลอดเลื อ ดฝอยมี ข นาดเล็ ก เส้ น ผ่ า น ศูนย์กลางประมาณ 7 ไมโครเมตร ผนังบางมากซึ่งหนาเพียง 1เชื่อมต่อ ระหว่างหลอดเลือดอาร์เทอริ โอล และ เวนูล ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส สารต่ า ง ๆ และของเสี ย ระหว่ า งเลื อ ดกั บ เซลล์ ข องร่ า งกาย โดยแก๊ ส ออกซิเจนและอาหารจะแพร่ผ่านผนังของหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เซลล์และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับของเสียต่าง ๆ จากเซลล์จะแพร่ผ่านผนังของ หลอดเลือดฝอยเพื่อส่งไปกาจัดออกยังปอดและแหล่งขับถ่ายต่าง ๆ ใน ร่างกาย ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 49. เลือดทาหน้าที่นาสารอาหาร และออกซิเจนไปให้เซลล์ และยังนา ของเสียที่เซลล์ไม่ต้องการไปกาจัดออกนอกร่างกาย ในร่างกายของคนจะมี เลือดอยู่ประมาณ 7-8 %ของน้าหนักตัว ถ้านาเลือดไปปั่นแยก พบว่า เลือดถูกแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ 1.น้าเลือดหรือพลาสมา (plasma) 2.เซลล์และชินส่วนของเซลล์ (formed elements) ้ MENU
  • 50. 1.น้าเลือดหรือพลาสมา (plasma) เป็นส่วนที่เป็นของเหลวค่อนข้างใส มีสีเหลืองอ่อน ค่อนข้างใส มี ปริมาณ 55 % ของปริมาตรเลือด ประกอบด้วยน้าประมาณ 90-93% และโปรตีน 7-10% ที่สาคัญ คือ อัลบูมิน (albumin) และโกลบูลิน (globulin) องค์ประกอบอื่น ๆ เช่น แร่ธาตุ หรืออิออน สารอาหาร เอนไซม์ ฮอร์โมน เป็นต้น นอกจากน้าเลือดทาหน้าที่ลาเลียงสารอาหาร แร่ธาตุ ฮอร์โมน แอนติบอดี ยังช่วยรักษาสมดุลความเป็นกรด – เบส สมดุลน้า และรักษาอุณหภูมิของร่างกาย MENU
  • 51. 2. เซลล์และชิ้นส่วนของเซลล์ (formed elements) มีปริมาณ 45 % ของปริมาตรเลือดทั้งหมด ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง (erythrocyte) เม็ดเลือดขาว (leukocyte) เกล็ดเลือด (blood platelet) หากเติ ม สารป้ อ งกั น ป้ อ งกั น การแข็ ง ตั ว ของ เลื อดลงในเลือ ด แล้ว น าไปหมุ นเหวี่ ย งให้เ ม็ ด เลื อ ดทั้ ง สามชนิ ด แยกตั ว ตกลงมานอนก้ น ส่วนบนที่มีสีเหลืองอ่อนใสจะเรียกว่า พลาสมา MENU
  • 52. เม็ดเลือดแดง (erythrocyte) เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม มีลักษณะกลมแบน เส้น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางประมาณ 7 - 8 ไมครอนตรงกลางเว้ า เข้ า หากั น (biconcave) เนื่องจากไม่มีนิวเคลียสและไมโตคอนเดรีย เม็ดเลือดแดงแต่ ละเม็ดจะบรรจุฮีโมโกลบิน (haemoglobin) เม็ดเลือดแดงของคนเราจะ อยู่ในระบบหมุนเวียนสารเป็นเวลา 120 วัน หลังจากนั้นจะถูกทาลายที่ตับ และม้าม หรือที่ต่อมน้าเหลืองโดยวิธีฟาโกไซโตซิส MENU
  • 53. ฮีโมโกลบิน ฮี โ มโกลบิ น 1 โมเลกุ ล ประกอบด้ ว ยโปรตี น โกลบิน (globin) 1 โมเลกุลซึ่งประกอบด้วยสายโพลี เพปไทด์ 4 สายจับกับฮีม (heme) 4 โมเลกุล แต่ละ ฮีมจะมี Fe2+ 1 อะตอม สามารถจับออกซิเจนได้ 1 โมเลกุล ดังนั้นฮีโมโกลบิน 1 โมเลกุล จะมี Fe2+ 4 อะตอม และสามารถจับออกซิเจนได้ 4 โมเลกุล จะเกิด สภาพออกซีฮีโมโกลบิน (oxyhaemoglobin) ซึ่งมี สี แดง เมื่อออกซีฮีโมโกลบินปล่อยออกซิเจนให้แก่เซลล์ แล้ว จะอยู่ในรูปฮีโมโกลบินปกติ ซึ่งมีสีน้าเงิน MENU
  • 54. เม็ดเลือดขาว (leucocyte หรือ white blood corpuscle) เม็ ด เลื อ ดขาวสร้ า งจากไขกระดู ก มี นิ ว เคลี ย ส มี ห น้ า ที่ ส าคั ญ คื อ ต่อต้านและทาลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย โดยเม็ดเลือดขาว ของสัตว์เลือดลูกด้วยน้านม แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ -กลุ่มที่ไม่มีแกรนูลพิเศษ (agranulocyte) -กลุ่มที่มีแกรนูลพิเศษ (granulocyte) MENU
  • 55. กลุ่มที่ไม่มีแกรนูลพิเศษ (agranulocyte) มีลักษณะที่สาคัญคือ มีนิวเคลียส 1 พู มีแกรนูลของไลโซโซมในไซ โทพลาสซึ ม จั ด เป็ น แกรนู ล ปกติ และไม่ มี แ กรนู ล พิ เ ศษขนาดใหญ่ (specific granule) ที่ติดสามารถติดสีย้อมไรต์ สเตน (Wright’s stain) 1) ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) มีประมาณ 20 - 25 % มีอายุ 2 - 3 ชั่วโมง เป็นเซลล์รูปร่างกลมมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7-9 ไมโครเมตร มีนิวเคลียสกลม ในขณะที่อยู่ในต่อมน้าเหลือง จะมีหน้าที่สร้าง antibody และทาลายสิ่งแปลกปลอมโดยวิธีฟาโกไซโตซิส ซึ่งแบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ MENU
  • 56. 1.1) ลิมโฟไซต์ชนิดบี (B - lymphocyte) หรือ B – cell จะเจริญที่ไขกระดูก มีคุณสมบัติในการสร้างแอนติบอดีจาเพาะ โดยถ้าเซลล์บีถูกกระตุ้นโดยเชื้อโรคหรือสิ่ง แปลกปลอม เซลล์บีจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์พลาสมา (plasma cell) ทาหน้าที่สร้าง แอนติบอดี และบางเซลล์เปลี่ยนไปเป็นเซลล์เมมมอรี (memory cell) ทาหน้าที่จา แอนติ เ จนนั้ น ไว้ ถ้ า แอนติ เ จนนั้ น เข้ า สู่ เ ซลล์ ใ นภายหลั ง เซลล์ เ มมเมอรี จ ะสร้ า ง แอนติบอดีจาเพาะอย่างรวดเร็วไปทาลายแอนติเจนนั้น ๆ ให้หมดไป 1.2) ลิมโฟไซต์ชนิดที (T - lymphocyte) หรือ T – cell เกิดจากเซลล์ บริเวณไขกระดูก ซึ่งมีการเจริญพัฒนาที่ต่อมไทมัส เซลล์ทีบางชนิดจะกระตุ้นให้เซลล์บี สร้างสารแอนติบอดี และกระตุ้น ฟาโกไซต์ให้มีการทาลายสิ่งแปลกปลอมให้รวดเร็วขึ้น เซลล์ทีบางชนิดควบคุมการทางานของเซลล์บี และฟาโกไซต์ให้อยู่ในสภาพสมดุล และ เซลล์ทีบางชนิดจะทาหน้าที่เป็นเซลล์เมมมอรีด้วย MENU
  • 57. 2) โมโนไซต์ (monocyte) มีประมาณ 3 - 8 % มีอายุ 2-3 วัน แต่ ถ้าอยู่ในเนื้อเยื่อกระดูกมีอายุยาวนาน 72 วัน เป็นเซลล์รูปกลมขนาดใหญ่ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 12-20 ไมโครเมตร มีนิวเคลียสเป็นรูปไตหรือ เกือกม้าจานวน 1 พู ทาหน้าที่กาจัดสิ่งแปลกปลอมด้วยวิธีฟาโกไซโตซิส MENU
  • 58. กลุ่มที่มีแกรนูลพิเศษ (granulocyte) มี ลั ก ษณะที่ ส าคั ญ คื อ มี นิ ว เคลี ย สรู ป ร่ า งหลายแบบ มี จ านวนพู มากกว่า 1พู มีแกรนูลของไลโซโซมและมีแกรนูลพิเศษขนาดใหญ่ในไซ โทพลาสซึม 1) นิวโทรฟิล (neutrophil) เป็นเซลล์รูปร่างกลมขนาดใหญ่มีเส้น ผ่านศูนย์กลางประมาณ 12-15 ไมโครเมตร มีอายุ 6-9 วัน พบประมาณ 60-70 % มีนิวเคลียสหลายพู ทาหน้าที่เป็นด่านแรกที่ร่างกายใช้กาจัดสิ่ง แปลกปลอมโดยวิ ธี ฟ าโกไซโทซิ ส หลั ง จากนั้ น จะตายพร้ อ มกั บ สิ่ ง แปลกปลอมที่ถูกกาจัด กลายเป็นหนอง MENU
  • 59. 2) อีโอซิโนฟิล (eosinophil) เป็นเซลล์ขนาดกลางมีเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 10-15 ไมโครเมตร มีอายุ 8-12 วัน พบประมาณ 2-5 % มี นิ ว เคลี ย ส 2 พู และไม่ เ ห็ น นิ ว คลี โ อลั ส ท าหน้ า ที่ ก าจั ด สิ่ ง แปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้ามาในร่างกายแต่เลือกกินเฉพาะองค์ประกอบรวม ของแอนติเจน - แอนติบอดี (antigen - antibody complex) เท่านั้น และทาลายสารที่เป็นพิษที่ทาให้เกิดการแพ้สารของร่างกาย เช่นโปรตีนใน อาหาร ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ MENU
  • 60. 3) เบโซฟิล (basophil) เป็นเซลล์รูปร่างกลมขนาดใหญ่มีเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 12-15 ไมโครเมตร มีอายุ 3-7 วัน พบประมาณ 0.51% มีนิวเคลียสรูปร่างเป็นตัวเอส(S) หรือบางครั้งเป็นแถบยาว มีแกรนูล พิเศษขนาดใหญ่จ านวนมากกระจายบดบังบริเวณนิวเคลียส ท าหน้าที่จับ สิ่งแปลกปลอมโดยวิธีฟาโกไซโตซิส แต่ความสามารถจะด้อยกว่าชนิดนิว โทรฟิล และอีโอซิโนฟิลมาก ท าหน้าที่หลั่งสาร เฮพาริน (heparin) เป็น สารที่ป้องกันการแข็งตัวของเลือด และสารฮีสตามีน (histamine) ซึ่ง ก่อให้เกิดอาการบวมหรือแพ้ MENU
  • 62. เกล็ดเลือด (platelet) เกิดจากชิ้นส่วนของไซโทพลาสซึมของ เซลล์ที่มีขนาดใหญ่ในกระดูกที่แตกออกจาก กัน และหลุดเข้าสู่หลอดเลือด มีลักษณะเป็น แผ่นกลมไม่มีนิวเคลียส มีรูปร่างไม่แน่นอน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ไมโครเมตร (มี ขนาดเล็กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดงประมาณ 4 เท่า) มีประมาณ 2.5 - 5 แสนชิ้นในเลือด 1 ลูกบาศก์มิลลิเมตร มีอายุสั้นประมาณ 3 - 4 วั น เท่ า นั้ น มี ห น้ า ที่ ช่ ว ยให้ เ ลื อ ดแข็ ง ตั ว (blood clotting) โดยการสร้างสารทรอม โบพลาสติน (tromboplastin) ออกมา MENU
  • 63. การแข็งตัวของเลือด (blood clotting) มีขั้นตอน ดังนี้ 1) เกิดสารทรอมโบพลาสตินจากเพลตเลตและเนื้อเยื่อที่ได้รับอันตราย 2) สารทรอมโบพลาสตินที่เกิดขึ้นจะไปเปลี่ยนโปรทรอมบิน (prothrombin) ให้ กลายเป็นทรอมบิน(thrombin) โดยอาศัยแคลเซียมอิออน และปัจจัยในการ แข็งตัวของเลือดบางตัวในพลาสมาเข้าช่วย โดย โปรทรอมบินสร้างมาจากตับ โดยอาศัยวิตามินเค 3) ทรอมบินจะไปเปลี่ยนไฟบริโนเจน (fibrinogen) ในเลือดให้เป็นไฟบริน (fibrin) 4) ไฟบรินเส้นเล็กๆที่เกิดขึ้นจะรวมตัวกันเป็นเส้นใยไฟบริน โดยการช่วยเหลือจาก Ca2+และปัจจัยที่ทาให้ไฟบรินอยู่ตัว และไปประสานกันเป็นร่างแห ต่อมาจะมี เพลตเลตและเม็ดเลือดต่างๆมาเกาะบนร่างแห จึงทาให้เลือดหยุดไหล MENU
  • 65. หมู่เลือด( Blood group ) - ระบบหมู่เลือด ABO จากผลงานการศึ ก ษาของนายแพทย์ ชื่ อ คาร์ ล แลนสไตเนอร์ (Karl Lansteiner ) นักวิทยาศาสตร์ชาวเวียนนา ซึ่งค้นพบว่าเลือดของคนอาจแตกต่างกัน ในคุณสมบัติทางเคมีบางอย่างและการจับกลุ่มตก ตะกอนของเม็ดเลือดแดงเกิดขึ้นได้ เมื่อเลือดของผู้ให้และผู้รับไม่สามารถเข้ากันได้ เพราะคนที่มีเลือดต่างกันนั้นมีสาร พวกโปรตีนภายในพลาสมา ที่เรียกว่า แอนติบอดี ( antibody ) ที่หมุนเวียนไปทั่ว ร่างกายแตกต่างกันและมีสารเคมีที่เรียกว่า แอนติเจน ( antigen ) อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ของเม็ ด เลื อ ดแดงแตกต่ า งกั น ไปด้ ว ย แลนสไตเนอร์ ได้ แ บ่ ง ชนิ ด เลื อ ดของคน ออกเป็น 4 หมู่ ตามระบบการจ าแนกแบบ ABO ตามสมบัติของแอนติบอดี และ แอนติเจนในเลือดของแต่ละคน คือ หมู่ A B AB และO ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 67. - ระบบหมู่เลือด Rh องค์ประกอบ Rh ในเลือด ( Rh factor )นอกเหนือจากหมู่เลือด ABO ที่กล่าว มาแล้ว จากการศึกษาต่อ ๆ มาพบว่าในเลือดของแต่ละคนยังมีแอนติเจนชนิดอื่นอีก หลายระบบ ระบบที่รู้จักกันดีคือ ระบบหมู่เลือด Rh ซึ่งคาว่า Rh มาจากคาว่า Rhesus monkey ซึ่งเป็นชื่อลิงชนิดหนึ่งที่แอนติเจนนี้ถูกค้นพบครั้งแรกระบบหมู่เลือด Rh แบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่ม ตามผลการตรวจสอบคือ 1) Rh+ คือ เลือดที่มีแอนติเจน Rh อยู่บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดงแต่ไม่มีแอนติบอดี (Antibody ) Rh ในน้าเลือด ซึ่งคนไทยประมาณร้อยละ 90 จะเป็น Rh + 2) Rh - คือ เลือดที่ไม่มีแอนติเจน Rh อยู่บนผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง และน้าเลือดก็ ไม่มีแอนติบอดี Rh แต่สามารถสร้างแอนติบอดี Rh ได้ เมื่อได้รับแอนติเจน Rh (Rh+ ) ดังนั้นในการให้เลือดแก่ดันนั้น จะต้องคานึงถึงปัจจัย Rh ด้วยเพราะถ้าผู้รับเลือดเป็น Rh - ได้รับเลือด Rh+เข้าไปในร่างกายของผู้รับก็จะถูกกระตุ้นให้ผู้รับสร้างแอนติบอดี Rh ขึ้นได้ ดังนั้นในการให้เลือด Rh+ ครั้งต่อไปแอนติบอดี Rh ในร่างกายของผู้รับจะต่อต้าน กับแอนติเจนจากเลือดของผู้ให้ทาให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 68. - ระบบหมู่เลือด ABO ให้เลือดหมู่เดียวกันกับเลือดของผู้รับ เลือดของผู้ให้ต้องไม่มีแอนติเจนที่ในผู้รับมี แอนติบอดีสาหรับแอนติเจนนั้นอยู่ ( แอนติเจนของผู้ให้ต้องไม่ตรงกับแอนติบอดีของ ผู้รับ ) เช่น คนที่หมู่เลือด A จะมีแอนติเจน A และมีแอนติบอดี B ดังนั้นคนหมู่เลือด A ไม่สามารถให้เลือดแก่คนที่หมู่เลือด B ได้เพราะหมู่เลือด B มีแอนติเจน B และ แอนติบอดี A ( แอนติเจนตรงกับแอนติบอดีของผู้รับ ) เลือดจะตกตะกอน ส่วนหมู่เลือด O ไม่มีแอนติเจน ดังนั้นจึงสามารถถ่ายเลือดให้ผู้รับได้ทุกหมู่ จึงเรียกหมู่เลือด O ว่า ผู้ให้สากล ( Universal donor ) แต่จะรับเลือดจากหมู่เลือดอื่นไม่ได้เลย เพราะมี แอนติบอดีทั้ง A และ B ส่วนหมู่เลือด AB มีแอนติเจน A และ B ดังนั้นจึงไม่สามารถ ถ่ายเลือดให้หมู่เลือดอื่นได้เลย เป็นผู้รับอย่างเดียวเท่านั้น เรียกหมู่เลือด AB ว่าเป็น ผู้รับสากล ( Universal recipient ) ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 70. - ระบบหมู่เลือด Rh 1) คนที่มีเลือด Rh+ สามารถรับได้ทั้ง Rh+ และ Rh - เพราะคนที่มีเลือด Rh+ ไม่ สามารถสร้าง แอนติบอดีได้ 2) คนที่มีเลือด Rh - รับเลือด Rh+ ครั้งแรกไม่เกิดอันตรายเพราะว่าแอนติบอดียัง น้อย แต่จะเกิดอันตรายรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ในครั้งต่อไป 3) ถ้าแม่มีเลือด Rh+ รับเลือด Rh - เมื่อมีลูก ลูกจะปลอดภัยไม่ว่าลูกจะมีเลือด เป็น Rh+ หรือ Rh 4) ถ้าแม่มีเลือด Rh - พ่อ Rh+ ถ้าลูกมีเลือด Rh - ลูกจะปลอดภัยแต่ถ้าลูกมีเลือด Rh+ ลูกจะไม่ปลอดภัย โดยเฉพาะลูกคนต่อ ๆ ไป เพราะแอนติบอดี Rh ที่อยู่ใน เลือดจากการตั้งครรภ์ครั้งแรกจะเข้าสู่เลือดของเด็กและเกิดปฏิกิริยาขึ้นได้ ถ้า หากให้ ก ารรั ก ษาไม่ ทั น เด็ ก จะตายได้ อาการที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ เรี ย กว่ า Rh(Rh disease ) หรือ Erythroblastosis fetalis ซึ่งเป็นโรคโลหิตจางทาให้เด็กแรก เกิดตาย ระบบไหลเวียนเลือด MENU
  • 72. MENU
  • 73. ระบบน้าเหลืองเป็นระบบลาเลียงสารต่าง ๆ ให้กลับเข้าสู่หลอด เลือด โดยเฉพาะสารอาหารพวกกรดไขมันที่ดูดซึมจากลาไส้เล็ก ระบบ น้าเหลืองจะไม่มีอวัยวะสาหรับสูบฉีดไปยังส่วนต่าง ๆ ประกอบไปด้วย • น้าเหลือง( Lymph ) • ท่อน้าเหลือง ( Lymph vessel ) • อวัยวะน้าเหลือง ( Lymphatic organ ) ระบบน้้าเหลือง MENU
  • 74. น้าเหลือง ( Lymph ) ส่วนประกอบของน้าเหลืองคล้ายกับในเลือดแต่ไม่มีเม็ดเลือดแดง เป็น ของเหลวที่ซึมผ่านผนังหลอดเลือดฝอยออกมาอยู่ระหว่างเซลล์หรือรอบ ๆ เซลล์ เพื่อหล่อเลี้ยงเซลล์ ในน้าเหลืองจะมีโปรตีนโมเลกุลเล็ก เช่น อัลบูมิน และสารที่มีโมเลกุลเล็ก ๆ เช่น แก๊ส น้า น้าตาลกลูโคส น้าเหลืองไหลไปตามท่อ น้าเหลือง โดยอาศัยปัจจัย 3 ประการ คือ - การหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อที่จะไปกดหรือคลายท่อน้าเหลือง - ความแตกต่ า งระหว่ า งความดั น ไฮโดรสเตติ ก ซึ่ ง ท่ อ น้ าเหลือ งขนาดเล็ก มี มากกว่าท่อน้าเหลือง ขนาดใหญ่ - การหายใจเข้า ซึ่งไปมีผลขยายทรวงอกและลดความดันทาให้ท่อน้าเหลือง ขยายตัว ระบบน้้าเหลือง MENU
  • 75. ท่อน้าเหลือง ( Lymph vessel ) เป็นท่อตันมีอยู่ทั่วร่างกายมีขนาดต่าง ๆ กัน มีลักษณะคล้ายหลอดเลือดเวน คือมี ลิ้นกั้นป้องกัน การไหลกลับของน้ อง ท่อ้าเหลืองขนาดใหญ่มี 2 ท่อที่ส้าคัญคือ ้าเหลื น้ - ท่อน้าเหลืองทอราซิก (Thoracic duct ) เป็นท่อน้าเหลืองขนาดใหญ่ที่สุด ท้า หน้าที่รับน้าเหลืองจากส่วนต่างๆของร่างกาย ยกเว้นทรวงอกขวาแขนขวาและส่วนขวา ของหัวกับคอ เข้าหลอดเลือดเวนแล้วเข้าสู่เวนาคาวาก่อนเข้าสู่หัวใจ อยู่ทางซ้ายของ ลาตัว - ท่อน้าเหลืองทางด้านขวางของลาตัว ( Right lymphatic duct ) รับน้าเหลือง จากทรวงอกขวาแขนขวา และส่วนขวาของหัวกับคอเข้าหลอดเลือดเวน แล้วเข้าสู่เว นาคาวา เข้าสู่หัวใจ จากนั้นน้าเหลืองที่อยู่ในท่อน้าเหลือง จะเข้าหัวใจปนกับเลือดเพื่อ ลาเลียงสารต่าง ๆ ต่อไป ระบบน้้าเหลือง MENU
  • 76. อวัยวะน้าเหลือง ( Lymph organ ) อวัยวะน้าเหลืองเป็นศูนย์กลางในการผลิตเซลล์ที่ใช้ในการต่อต้านเชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมประกอบด้วย • ต่อมน้าเหลือง • ต่อมทอนซิล • ม้าม • ต่อมไทมัส • เนื้อเยื่อน้าเหลืองที่อยู่ที่ลาไส้ ระบบน้้าเหลือง MENU
  • 77. ต่อมน้าเหลือง ( Lymph node ) พบอยู่ ร ะหว่ า งทางเดิ น ของ ท่ อ น้ าเหลื อ งทั่ ว ไปในร่ า งกาย ลักษณะเป็นรูปไข่ กลม หรือรี เส้น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางประมาณ 1. 5 มิ ล ลิ เ มตร จะมี ท่ อ น้ าเหลื อ งเข้ า และท่อน้าเหลืองออกภายในเต็มไป ด้ ว ยเม็ ด เลื อ ดขาวชนิ ด ลิ ม โฟไซต์ ต่ อ มน้ าเหลื อ งจะท้ า หน้ า ที่ ก รอง น้ า เ ห ลื อ ง ใ ห้ ส ะ อ า ด ท า ล า ย แบคที เรี ย และท้ า ลาย เม็ ด เลื อ ด ขาวที่อยู่ในวัยชรา ระบบน้้าเหลือง ต่อมทอนซิล ( Tonsil gland ) เป็นกลุ่มของต่อมน้าเหลือง มี อ ยู่ 3 คู่ คู่ ที่ ส าคั ญ อยู่ ร อบ ๆ ห ล อ ด อ า ห า ร ภ า ย ใ น ต่ อ ม ทอนซิ ล จะมี ลิ ม โฟไซต์ ท้ า ลาย จุลินทรีย์ที่ผ่านมาในอากาศไม่ให้ เข้าสู่หลอดอาหารและกล่องเสียง ถ้ า ต่ อ มทอนซิ ล ติ ด เชื้ อ จ ะมี อาการบวมขึ้ น เรี ย กว่ า ต่ อ ม ทอนซิลอักเสบ MENU
  • 78. ม้าม ( spleen ) เป็นอวัยวะน้าเหลืองที่ใหญ่ที่สุด มีหลอดเลือดมาเลี้ยงมากมายไม่มี ท่อน้าเหลืองเลย สามารถยืดหดได้ นุ่มมีสีม่วง อยู่ใกล้ ๆ กับกระเพาะ อาหารใต้กระบังลมด้านซ้าย รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วภายในจะมี ลิมโฟไซต์ อยู่มากมาย ม้ามมีหน้าที่สร้างเม็ดเลือดในระยะเอ็มบริโอในคนที่คลอดแล้ว ม้ามทาหน้าที่ ทาลายเม็ ดเลือดแดงที่หมดอายุแ ล้ว สร้างเม็ดเลือดขาว พวกลิมโฟไซต์ และโมโนไซต์ซึ่งทาหน้าที่ป้องกันสิ่งแปลกปลอมและเชื้อ โรคที่ เ ข้ า ไปในกระแสเลื อ ด สร้ า งแอนติ บ อดี และ ในสภาพผิ ด ปกติ สามารถสร้างเม็ดเลือดแดงได้ เช่น มะเร็งเม็ดเลือด ระบบน้้าเหลือง MENU
  • 79. อวัยวะน้าเหลือง ต่อมไทมัส ( Thymus gland ) เป็ น ต่ อ มที่ มี ข นาดใหญ่ ต อน อายุน้อย และถ้าอายุมากจะเล็กลง และฝ่อในที่สุด เป็นต่อมไร้ท่ออยู่ตรง ทรวงอกรอบหลอดเลื อ ดใหญ่ ข อง หัวใจ ทาหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือด ขาวชนิดลิมโฟไซต์ T มีหน้าที่ ต่อต้านเชื้อโรคและสารแปลกปลอม เข้าสู่ร่างกาย รวมทั้งการต้านอวัยวะ ที่ปลูกถ่ายจากผู้อื่นด้วย ระบบน้้าเหลือง MENU
  • 80. MENU
  • 81. ในร่างกายของเราได้รับสิ่งแปลกปลอมมากมาย มีทั้งเชื้อโรคได้แก่ แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส พยาธิต่างๆสารเคมีที่เจือปนอยู่ในอากาศที่จะเข้าสู่ ร่างกายทาง ผิวหนัง ทางระบบหายใจ ทางระบบย่อยอาหาร หรือทาง ระบบหมุ น เวี ย นเลื อ ดโดยปกติ ร่ า งกายจะมี ก ารป้ อ งกั น และก าจั ด สิ่ ง แปลกปลอมที่เป็นอันตรายต่อร่างกายโดยระบบภูมิคุ้มกัน ( immunity ) สิ่ ง แปลกปลอมหรื อ เชื้ อ โรคไม่ ส ามารถเข้ า สู่ ร่ า งกายได้ โ ดยง่ า ยเพราะ ร่างกายมีกลไกต่อต้านหรือท้าลายสิ่งแปลกปลอมเหล่านั้น ซึ่งแบ่งได้เป็น • แบบไม่จาเพาะ (nonspecific defense) • แบบจาเพาะ (specific defense) ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 82. กลไกการต่อ ต้า นหรื อท าลายสิ่ ง แปลกปลอมแบบไม่จ าเพาะ มี หลายด้านด้วยกัน ผิวหนังมีเคราตินซึ่งเป็นโปรตีนที่ไม่ละลายน้าเป็นองค์ประกอบอัดแน่น ภายในเซลล์และเรียงตัวกันหลายชั้น ช่วยป้องกันการเข้าออกของสิ่งต่าง ๆ ได้ ผิวหนังบางบริเวณยังมีต่อมเหงื่อและต่อมไขมันหลั่งสารบางชนิด เช่น กรด ไขมัน กรดแลกติก ท้าให้ผิวหนังมีสภาพเป็นกรด ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่เอื้อต่อการ เจริญเติบโตของจุลินทรีย์บางชนิด นอกจากนี้ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ท่อปัสสาวะ ช่องคลอด ซึ่ง ติดต่อกับภายนอกยังมีเยื่อบุที่ทาหน้าที่ควบคุมการเข้าออกของสาร มีการสร้าง เมือกและมีซีเลียคอยดักจับ สิ่งแปลกปลอมและพัดออกนอกร่างกาย และพบว่า ในน้าตาและน้าลายมีไลโซไซม์ที่ช่วยทาลายเชื้อโรค บางชนิดได้ ในกระเพาะอาหารมีสภาพเป็นกรดและมีเอนไซม์ช่วยย่อยและทาลาย จุลินทรีย์บางชนิดได้ ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 83. แต่ถ้าสิ่งแปลกปลอมผ่านด่านป้องกันดังกล่าวข้างต้นเข้าสู่ร่างกายได้ ร่างกายจะมีวิธีการต่อต้านและท้าลายสิ่งแปลกปลอมโดยกระบวนการฟา โกไซโทซิสของเม็ดเลือดขาวพวกโมโนไซด์ ซึ่งออกจากกระแสเลือดไปยัง เนื้อเยื่อและมีขนาดใหญ่ขึ้นเรียกว่าแมโครฟาจ และยังมีเซลล์เม็ดเลือดขาว ชนิดนิวโทรฟิลล์กับอีโอซิโนฟิลล์ช่วยทาลายจุลินทรีย์ต่าง ๆ ด้วย การอักเสบเป็นกระบวนการต่อต้านเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมของ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย โดยผ่านกลไกต่าง ๆ เพื่อยับยั้งและดึงดูด องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบภูมิคุ้มกันมายังบริเวณนั้น เช่น การอักเสบ ของบาดแผลที่ติดเชื้อ จะมีอาการบวมแดง ร้อนปรากฏให้เห็น ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 84. กลไกการต่อต้านหรือทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบจาเพาะ จะเกี่ยวข้อง กับการท้างานของ เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ ได้แก่ เซลล์บีและเซลล์ที การทางานของเซลล์บี เมื่อมีแอนติเจนถูกท้าลายด้วยวิธีฟาโกไซโทซิสชิ้นส่วนที่ถูกทาลายจะไป กระตุ้นให้เซลล์บีเพิ่มจานวน เซลล์บีบางเซลล์จะขยายขนาดและเปลี่ยนแปลง ไปท าหน้ า ที่ ส ร้ า งแอนติ บ อดี จ าเพาะต่ อ แอนติ เ จน เรี ย กว่ า เซลล์ พ ลาสมา (plasma cell) เซลล์ที่ได้จากการที่เซลล์บีแบ่งตัวบางเซลล์จาทาหน้าที่เป็น เซลล์ เมมเมอรี (memory cell) คือจดจาแอนติเจนนั้น ๆ ไว้ ถ้ามีแอนติเจนนี้ เข้าสู่ร่างกายอีก เซลล์ เมมเมอรีก็จะมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว และเจริญเป็น เซลล์พลาสมา สร้างแอนติบอดีออกมาท้าลายแอนติเจน ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 85. การทางานของเซลล์ที เซลล์ทีรับรู้แอนติเจนแต่ละชนิด เช่นเซลล์ทีบางตัวจะรับรู้แอนติเจน ที่เป็นไวรัสตับอักเสบ เซลล์ทีบางตัวจะรับรู้แอนติเจนที่เป็นเชื้อไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น เซลล์ทีตัวแรกที่ตรวจจับแอนติเจน เรียกว่า เซลล์ทีผู้ช่วย (helper T cell) จะทาหน้าที่กระตุ้นเซลล์บีให้สร้างแอนติบอดีมาต่อต้านแอนติเจน หรือกระตุ้นการทางานของเซลล์ทีอื่น เช่น เซลล์ทีที่ทาลายสิ่งแปลกปลอม (cytotoxic T cell) หรือเซลล์ที่มีสิ่งแปลกปลอม เช่น เซลล์มะเร็ง เซลล์ที่ ติดเชื้อไวรัส เซลล์จากอวัยวะ ที่ร่างกายได้รับการปลูกถ่าย เซลล์ทีบาง เซลล์ ทาหน้าที่ควบคุม การตอบสนองทางภูมิ คุ้ม กันเรียกว่า เซลล์ทีก ด ภูมิคุ้มกัน (suspressor T cell) โดยสร้างสารไปกดการทางานของเซลล์บี หรือเซลล์ทีอื่น ๆ ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 86. การสร้างภูมิคุ้มกันโรคของร่างกาย สร้างขึ้นได้ 2 วิธีดังนี้ • ภู มิ คุ้ ม กั น ก่ อ เ อ ง ห รื อ ก า ร ก่ อ ภู มิ คุ้ ม กั น ด้ ว ย ต น เ อ ง ( Active Immunization) • ภูมิคุ้มกันที่รับมา (Passive Immunuization) ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 87. ภูมิคุ้มกันก่อเองหรือการก่อภูมิคุ้มกันด้วยตนเอง เมื่อร่างกายถูกกระตุ้นด้วยแอนติเจนหรือสิ่งแปลกปลอมภายนอก ร่างกายอาจเป็นเชื้อโรคที่อ่อนกาลังแล้ว ไม่ทาอันตราย นามาฉีด กิน หรือ ทาที่ผิวหนัง เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน หรือ สร้างแอนติบอดี ที่ ทาปฏิกิริยาเฉพาะกับแอนติเจนนั้น เชื้อโรคที่อ่อนกาลังแล้วนามากระตุ้น ให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีต่อต้านเชื้อนั้นๆ เรียกว่า วัคซีน ( vaccine ) ชนิดของวัคซีนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 88. 1. Killed vaccine หมายถึง วัคซีนที่ทาจากเชื้อโรคที่ถูกฆ่าตายแล้ว หรือทาจากองค์ประกอบของไขมัน เช่น สารพิษ สารพิษก็ต้องทาลายให้หมด พิ ษ เสี ย ก่ อ นโดยความร้ อ น หรื อ โดยสารเคมี ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ ท าให้ เ กิ ด โรคกั บ ร่างกาย แต่สามารถกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันให้สร้างแอนติบอดีได้ วัคซีนนี้ใช้กัน มากเพราะเตรียมง่าย ราคาไม่แพงมีหลายชนิด มีประสิทธิภาพสูง 2. Lived vaccine หมายถึง วัคซีนที่ทาจากเชื้อโรคที่ท้าให้อ่อนฤทธิ์ลง ซึ่งเชื้อเหล่านี้จะสามารถเจริญเติบโตและแบ่งตัวอยู่ในขอบเขตจากัดเมื่อเข้าสู่ ร่างกาย ไม่ทาให้เกิดโรครุนแรง แต่มีความสามารถในการกระตุ้นให้ร่างกาย สร้างภูมิคุ้มกันได้ ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 89. ข้อควรคานึงถึงในการให้และรับวัคซีน 1. วั ค ซี น จะให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ ดี ถ้ า การให้ โ ดยวิ ธี ธ รรมชาติ ที่ สุ ด เช่ น วั ค ซี น ที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบ ทางเดินอาหาร ควรเป็นวัคซีนเดียวกัน 2. ต้องรับวัคซีนให้ครบตามจ้านวนที่กาหนดไว้ล่วงหน้า เพราะวัคซีนส่วนใหญ่จะให้ผลเต็มที่เมื่อ ได้รับการกระตุ้นหลายครั้ง 3. เด็กแรกเกิด จะสร้างภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนไม่เต็มที่เพราะความต้านทานที่รับจากมารดาจะเป็นตัว ทาให้วัคซีนทาหน้าที่กระตุ้นได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นต้องรอให้ความต้านทานจากมารดาลดลงเสียก่อน ซึ่งอยู่ในช่วง 4 - 6 เดือน 4. ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคติดต่อเชื้อควรได้รับการแนะนาให้ฉีดวัคซีน เช่น หัดเยอรมันใน สตรีที่อยู่ในระยะมีบุตร บุคคลที่อยู่ในบริเวณโรคนั้นๆระบาด 5. สตรีที่กาลังตั้งครรภ์ ไม่ควรได้รับวัคซีนประเภท Live vaccine เพราะเป็นอันตรายแก่เด็กได้ 6. ผู้ที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันหรือใช้ยาบางประเภทไม่ควรใช้ Live vaccine ดังนั้นควร ปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 90. ภูมิคุ้มกันที่รับมา เป็นการให้แอนติบอดีแก่ร่างกายโดยตรง โดยแอนติบอดีนี้ได้จากสัตว์ อื่นๆ ใช้สาหรับรักษาโรคบางชนิด ที่แสดงอาการรุนแรงเฉียบพลัน โดยการฉีด เชื้อโรคที่อ่อนกาลังแล้วเข้าไปในสัตว์พวกม้า หรือกระต่ายเพื่อให้ร่างกายของ สัตว์ดังกล่าวสร้างแอนติบอดีขึ้นมาต่อต้านเชื้อโรคนั้นๆ แล้วนาเลือดของม้าหรือ กระต่ายเฉพาะส่วนที่เป็นน้าใส ๆ เรียกว่า เซรุ่ม (serum) ซึ่งในเซรุ่มมี แอนติบอดีอยู่มาฉีดให้กับผู้ป่วยเป็นการท้าให้ร่างกายได้รับภูมิคุ้มกันโดยตรง สามารถป้องกันโรคได้ทันท่วงที เช่น เซรุ่มสาหรับคอตีบ เซรุ่มแก้ งูพิษ เซรุ่ม โรคกลัวน้า ภูมิคุ้มกันที่แม่ให้ลูกโดยผ่านทางรก หรืออาจได้รับโดยการกินนม ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 91. ข้อเสียของภูมิคุ้มกันรับมา แอนติบอดีอยู่ได้ไม่นาน ผู้ป่วยอาจแพ้เซรุ่มจากสัตว์ได้ หรืออาจติด เชื้ออื่นๆ ที่มีในน้าเหลืองของผู้ให้ เช่น ไวรัสตับอักเสบและโรคเอดส์ ข้อดีของภูมิคุ้มกันรับมา สามารถให้ ภู มิ คุ้ ม กั น อย่ า งรวดเร็ ว สามารถป้ อ งกั น ได้ แ ม้ ไ ด้ รั บ หลังจากที่ได้สัมผัสกับเชื้อโรคนั้นแล้ว ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 92. ระบบภูมิคุ้มกันเป็นระบบที่มีกระบวนการต่างๆของร่างกาย เพื่อ ตอบสนองต่ อ การมี สิ่ ง แปลกปลอมต่ า งๆเข้ า สู่ ร่ า งกายหรื อ เกิ ด ขึ้ น ใน ร่างกายเอง ถ้ามีภูมิคุ้มกันเอง ถ้ามีภูมิคุ้มกันที่น้อยเกินไปก็จะทาให้เกิด โรคได้ง่าย แต่ถ้ามีมากเกินไปก็อาจท้าให้เกิดโรคได้เช่นกัน ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 93. โรคภูมิแพ้ (Allergy) เป็นอาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากร่างกายมีปฏิกิริยาต่อแอนติเจนบาง ชนิดรุนแรง และก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย เช่น การแพ้สารเคมีในบ้าน ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ อาหารทะเล และอากาศ เป็นต้น แม้บางโรคไม่ รุนแรงมากแต่ก็มีอาการต่อเนื่องต้องรับการรักษาตลอดเวลาท้าให้เสีย ค่าใช้จ่ายในการรักษา จากการศึกษาทางการแพทย์พบว่าโรคภูมิแพ้ต่อ สารบางชนิดเกี่ยวข้องทางพันธุกรรมด้วย ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 94. โร ค ที่ ร่ า ง ก า ย ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั นต้ า น ท าน เ นื้ อ เยื่ อ ข อ ง ต น เ อ ง (Autoimmune diseases) เช่น โรคเอส-แอลอี (SLE-Systemic Lupus Erythematosus) เป็นต้น เป็นความผิดปกติที่ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาต่อต้านเซลล์ของตนเอง ซึ่งโดย ปกติแล้วภูมิคุ้มกันในร่างกายสามารถแยกความแตกต่างได้ ว่าแอนติเจนใดเป็น แอนติเจนของตนเอง และแอนติเจนใดเป็นสิ่งแปลกปลอม จึงสร้างแอนติบอดี จาเพาะมาทาลายแอนติเจนเท่านั้นจะไม่ท้าลายเซลล์ของตนเอง แต่ในบางกรณี เกิดภาวะผิดปกติขึ้น กลไกการควบคุมเสียไปทาให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีมา ต่อต้านแอนติเจนของตนเอง ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 95. โรคเอดส์ (AIDS- Acquired Immune Deficiency Syndrome) ซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม อาการของภู มิ คุ้ ม กั น บกพร่ อ งอั น เกิ ด จากเชื้ อ HIV (Human Immunodeficiency Virus) เข้าไปเจริญและเพิ่มจ้านวนใน เซลล์ทีและท้าลายเซลล์ทีซึ่งท้าให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายบกพร่อง ระบบภูมิคมกัน ุ้ MENU
  • 96. MENU