SlideShare a Scribd company logo
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอดุลยเดช
                            ิ




                     นาย แสนเก่ ง ปองโพนทอง ม.5/3 เลขที่ 10
                                   ้
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช




                 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
                      พระ       พระบาทสมเด็จพระ
                      ปรมาภิไธย ปรมินทรมหาภูมิพลอ
                                ดุลยเดช มหิ ตลาธิเบศร
                                รามาธิบดี จักรี นฤบ
                                ดินทร สยามินทราธิ
                                ราช บรมนาถบพิตร[1]
                      พระราช      พระมหากษัตริ ยแห่ง
                                                ์
                      อิสริยยศ    ประเทศไทย
                      ราชวงศ์     ราชวงศ์จกรี
                                          ั
                      ครองราชย์   9 มิถุนายน พ.ศ. 2489
                      บรม         5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
                      ราชาภิเษก
                      ระยะ        65 ปี , 77 วัน
ครองราชย์
  รัชกาลก่ อน พระบาทสมเด็จพระ
  หน้ า       ปรเมนทรมหาอานันท
              มหิ ดล พระอัฐมรา
              มาธิบดินทร
  วัดประจา      วัดพระราม 9 กาญจนา
  รัชกาล        ภิเษก
  พระพุทธรูป พระพุทธรู ปปางอภัย
  ประจาพระ มุทรา พุทธลักษณะ
  ชนมวาร     สุโขทัย
      ข้ อมูลส่ วนพระองค์[ซ่อน]
พระราช        5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
สมภพ          วันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น 12
              ค่า ปี เถาะ นพศก
              เคมบริ ดจ์, รัฐ
              แมสซาชูเซตส์,สหรัฐอเมริ กา
พระบรมราช สมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศร
ชนก       อดุลยเดชวิกรม พระบรมราช
          ชนก
พระบรมราช สมเด็จพระศรี นคริ นทราบ
ชนนี      รมราชชนนี
พระบรม        สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ
ราชินี        พระบรมราชินีนาถ
พระราช        - ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัต
โอรส/ธิดา     นราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณ
                                                       ั
                                      วดี
                                      - สมเด็จพระบรมโอรสาธิ
                                      ราช เจ้าฟ้ ามหาวชิราลงกรณ
                                      สยามมกุฎราชกุมาร
                                      - สมเด็จพระเทพ
                                      รัตนราชสุดาฯ สยามบรม
                                      ราชกุมารี
                                      - สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ า
                                      จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราช
                                      กุมารี
                           หมายเหตุ



         พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร (5
ธันวาคม พ.ศ. 2470 — ) เป็ นพระมหากษัตริ ยพระองค์ปัจจุบนแห่งประเทศไทย และ
                                             ์            ั
พระมหากษัตริ ยลาดับที่เก้าแห่งราชวงศ์จกรี ทรงราชย์ต้งแต่วนที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ขณะนี้
               ์                       ั              ั ั
จึงเป็ นพระมหากษัตริ ยผเู้ สวยราชย์นานที่สุดในโลกที่มีพระชนมชีพอยู่ และยาวนานที่สุดใน
                      ์
ประวัติศาสตร์ ไทย[2]

        พระองค์ทรงเป็ นที่สรรเสริ ญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดาริ ในเรื่ องปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง โดยโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล
ความสาเร็ จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[3] กับทั้งพระองค์ทรงเป็ นเจ้าของสิ ทธิบตร
                                                                                     ั
สิ่ งประดิษฐ์ งานพระราชนิพนธ์ และงานดนตรี จานวนหนึ่ง [4]นอกจากนี้ พระองค์ยงทรงเป็ นผู้
                                                                             ั
ถือหุ้นรายใหญ่ในบริ ษทเอกชนหลายแห่ง ในปี 2553 นิตยสารฟอบส์ประเมินว่า พระองค์มีพระ
                      ั
ราชทรัพย์ส่วนพระองค์ รวมถึงที่อยูในการบริ หารจัดการของสานักงานทรัพย์สินส่วน
                                   ่
พระมหากษัตริ ย์ เป็ นมูลค่ามากกว่าเก้าแสนหกหมื่นล้านบาท และด้วยเหตุน้ ี จึงทรงได้รับการจัด
อันดับให้เป็ นพระมหากษัตริ ยผมีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก[5][6]
                             ์ ู้

       นับตั้งแต่เดือนกันยายน 2552 พระองค์แปรพระราชฐานจากพระตาหนักจิตรลดา
รโหฐาน ไป โรงพยาบาลศิริราช ตราบปัจจุบน อันเนื่องมาจากพระโรคไข้หวัดและพระปัปผาสะ
                                             ั
อักเสบ[7] ในเดือนตุลาคม ปี เดียวกันนั้น ข่าวลือว่าพระอาการประชวรทรุ ดหนักลง ได้ยงให้ตลาด
                                                                                ั
หุ้นไทยร่ วงลงอย่างสาหัส[8]

เนื้อหา

[ซ่อน]

         1 พระราชประวัติ
             o 1.1 ทรงพระเยาว์

             o 1.2 ทรงศึกษา

             o 1.3 ทรงประสบอุบติเหตุ และทรงหมั้น
                                  ั
             o 1.4 เสวยราชย์ และทรงอภิเษกสมรส

             o 1.5 ทรงผนวช

         2 สถานะพระมหากษัตริ ย์
         3 บทบาททางการเมือง
             o 3.1 สมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม

             o 3.2 สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์

             o 3.3 สมัยจอมพลถนอม กิ ตติขจร

             o 3.4 สมัยพลเอกเปรม ติณสู ลานนท์

             o 3.5 สมัยพลเอกสุ จินดา คราประยูร

             o 3.6 สมัยรัฐประหาร พ.ศ. 2549

         4 พระราชทรัพย์
             o 4.1 ทรัพย์สินส่ วนพระมหากษัตริ ย ์

             o 4.2 ทรัพย์สินส่ วนพระองค์

             o 4.3 การถือหุ ้น
   5 พระราชบุตร
      6 พระราชกรณี ยกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น
          o 6.1 ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี

          o 6.2 ด้านการพัฒนาชนบท

          o 6.3 ด้านการเกษตรและชลประทาน

          o 6.4 ด้านการแพทย์

          o 6.5 ด้านการศึกษา

          o 6.6 ด้านการกี ฬา

          o 6.7 ด้านดนตรี

      7 พระเกียรติยศ
      8 สถานที่ พันธุ์พืช และพันธุ์สตว์ อันเนื่องด้วยพระปรมาภิไธย
                                     ั
          o 8.1 สถานที่

          o 8.2 พันธุ์พืช

          o 8.3 พันธุ์สตว์ั
      9 พระราชตระกูล
      10 ดูเพิ่ม
      11 แหล่งอ้างอิงและเชิงอรรถ
      12 แหล่งข้อมูลอื่น


พระราชประวัติ

ทรงพระเยาว์
(ด้านหน้า จากขวามาซ้าย) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช; สมเด็จพระศรี สว
ริ นทิราบรมราชเทวี และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิ ดล กรมพระยาชัยนาท
นเรนทร

       พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชสมภพในราชสกุล
มหิ ดลอันเป็ นสายหนึ่งในราชวงศ์จกรี ณ โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น เมืองเคมบริ ดจ์ มลรัฐ
                                  ั
แมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริ กา เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น 12 ค่า ปี เถาะ นพศก จุลศักราช 1289
ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ซึ่ งเหตุที่พระราชสมภพในสหรัฐอเมริ กา เนื่องจากพระบรม
ราชชนกและพระบรมราชชนนีกาลังทรงศึกษาวิชาการอยูที่นน       ่ ั่

         พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเป็ นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้า
ฟ้ ามหิ ดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานคริ นทร์ (สมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระ
บรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาล ตะละภัฎ (ชูกระมล) (สมเด็จพระศรี นคริ นทราบ
รมราชชนนี ในกาลต่อมา) ทรงมีพระนามขณะนั้นว่า พระวรวงศ์ เธอ พระองค์ เจ้ าภูมิพลอดุลเดช
ทรงมีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้า
ฟ้ ากัลยาณิ วฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา
             ั
อานันทมหิ ดล ซึ่ งสมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรี ยกพระองค์เป็ นการ
ลาลองว่า "เล็ก"[9][10]

        พระนาม "ภูมิพลอดุลเดช" นั้น พระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจาก
                                ่ ั
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกากับตัวสะกด
เป็ นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทาให้สมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี ทรงเข้า
พระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[9] ในระยะแรกพระนามของพระองค์
สะกดเป็ นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย
เดชเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้
แบบหลังซึ่ งมีตว "ย" สะกดตราบปัจจุบน [9][11]
               ั                    ั

       พระนามของพระองค์มีความหมายว่า

      ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้ว
       หมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
      อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อานาจ"
       รวมกันแล้วหมายถึง "ผูมีอานาจที่ไม่อาจเทียบได้"[12]
                             ้

       เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่ งทรงสาเร็ จ
การศึกษาปริ ญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด สหรัฐอเมริ กา
พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดย
ประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต
                                ่ ั
ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา

                พระราชวงศ์ ไทย




          พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว่ ั
          สมเด็จพระนางเจ้าฯ
           พระบรมราชินีนาถ
              o ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัต

                 นราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณ
                                 ั
วดี
              คุณพลอยไพลิน เจน
               เซน
          คุณพุ่ม เจนเซน

          คุณสิ ริกิติยา เจนเซน

o   สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
    สยามมกุฎราชกุมาร
    พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
    ศรี รัศมิ์ พระวรชายาฯ
          พระเจ้าหลานเธอ

               พระองค์เจ้าพัชรกิติยา
               ภา
          พระเจ้าหลานเธอ

               พระองค์เจ้าสิ ริวณณ
                                ั
               วรี นารี รัตน์
          พระเจ้าหลานเธอ

               พระองค์เจ้าทีปังกร
               รัศมีโชติ
o   สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
    สยามบรมราชกุมารี
o   สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ า
    จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราช
    กุมารี
          พระเจ้าหลานเธอ

               พระองค์เจ้าสิ ริภาจุฑา
               ภรณ์
          พระเจ้าหลานเธอ

               พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิ
ติคุณ
          สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้ าเพชร
           รัตนราชสุดา สิ ริโสภาพัณณวดี
          พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมส
           วลี พระวรราชาทินดดามาตุ
                              ั
          ท่านผูหญิง ทัศนาวลัย ศรสงคราม
                 ้


ทรงศึกษา

        พ.ศ. 2475 เมื่อเจริ ญพระชนมายุได้สี่พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรี ยนมาแตร์ เดอี จนถึง
เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดาเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศ
สวิตเซอร์ แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช
เพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้น
ประถมศึกษา ณ โรงเรี ยนเมียร์ มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชา
ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ "โรงเรี ยนแห่งใหม่
ของซื ออีสโรมองด์" (ฝรั่งเศส: École Nouvelle de la Suisse Romande, เอกอล นูแวล เดอ ลา ซื อ
อีส โรมองด์) เมืองแชลลี-ซูร์-โลซาน (ฝรั่งเศส: Chailly-sur-Lausanne)

       พ.ศ. 2477 เมื่อพระองค์เจ้าอานันทมหิ ดล พระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชย์เป็ น
พระมหากษัตริ ยรัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จกรี ก็ทรงได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็ น "สมเด็จ
               ์                         ั
พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุยเดช" เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478

                                                               ่ ั
       เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2481 ได้โดยเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล เสด็จนิวตั
ประเทศไทย เป็ นเวลา 2 เดือน โดยประทับทีพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
                                         ่
จากนั้นเสด็จกลับไปศึกษาต่อที่สวิตเซอร์ แลนด์จนถึงปี พ.ศ. 2488 ทรงรับประกาศนียบัตรทาง
อักษรศาสตร์ จากโรงเรี ยนยิมนาส คลาซี ค กังโตนาล แล้วทรงเข้าศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยโล
ซาน แผนกวิทยาศาสตร์ โดยเสด็จนิวตประเทศไทยเป็ นครั้งที่สอง ประทับ ณ พระที่นงบรม
                                   ั                                         ั่
พิมาน ในพระบรมมหาราชวัง[13]
ทรงประสบอุบัตเิ หตุ และทรงหมั้น

        หลังจากที่จบการศึกษาจากสวิตเซอร์ แลนด์ พระองค์เสด็จไปเยือนกรุ งปารี ส ทรงพบกับ
หม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ซึ่ งเป็ นลูกสาวของเอกอัครราชทูตไทยประจาฝรั่งเศส เป็ นครั้งแรก
[14]
     ในขณะนี้ ทั้งสองพระองค์มีพระชนมายุ 21 พรรษาและ 15 พรรษาตามพระลาดับ

        เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2491 ในระหว่างเสด็จประทับยังต่างประเทศ ขณะที่พระองค์
ทรงขับรถยนต์พระที่นงเฟี ยส ทอปอลิโน จากเจนีวาไปยังโลซาน ทรงประสบอุบติเหตุทาง
                          ั่                                               ั
รถยนต์ กล่าวคือ รถยนต์พระที่นงชนกับรถบรรทุกอย่างแรง ทาให้เศษกระจกกระเด็นเข้าพระ
                                   ั่
เนตรขวา พระอาการสาหัส หลังการถวายการรักษา พระองค์ทรงมีพระอาการแทรกซ้อนบริ เวณ
พระเนตรขวา แพทย์จึงถวายการรักษาอย่างต่อเนื่องหลายครั้ง หากแต่พระอาการยังคงไม่ดีข้ ึน
กระทังวินิจฉัยแล้วว่าพระองค์ไม่สามารถทอดพระเนตรผ่านทางพระเนตรขวาของพระองค์เอง
      ่
ได้ต่อไปแล้ว จึงได้ถวายการแนะนาให้พระองค์ทรงพระเนตรปลอมในที่สุด

        ทั้งนี้ ม.ร.ว. สิ ริกิต์ ิ ได้มีโอกาสเข้าเฝ้ าเยี่ยมพระอาการเป็ นประจาจนกระทังหายจาก
                                                                                     ่
                                            ั                              ั
อาการประชวร อันเป็ นเหตุที่ทาให้ท้งสองพระองค์มีความสัมพันธ์กนอย่างใกล้ชิดนับตั้งแต่น้ น      ั
เป็ นต้นมา[15][16][17]

เสวยราชย์ และทรงอภิเษกสมรส

          ดูเพิ่มที่ เหตุการณ์ สวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิ ดล พระ
       อัฐมรามาธิบดินทร พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ในรั ชกาลที่ 9 และ พระราชพิธีบรม
       ราชาภิเษก ในรั ชกาลที่ 9

        วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิ ดลเสด็จ
สวรรคตอย่างกะทันหัน โดยต้องพระแสงปื นที่พระกระหม่อม ณ พระที่นงบรมพิมาน[18] สมเด็จ
                                                                     ั่
พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุลยเดชได้ตดสิ นพระทัยรับตาแหน่งพระมหากษัตริ ย ์ เสด็จขึ้น
                                           ั
ครองราชสมบัติ สื บราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่เนื่องจากยังมีพระราชกิจด้านการศึกษา
จึงทรงอาลาประชาชนชาวไทย เสด็จพระราชดาเนินไปศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม แต่
เปลี่ยนสาขาจากวิทยาศาสตร์ ไปเป็ นสาขาสังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ ซึ่ งมีความ
จาเป็ นสาหรับตาแหน่งประมุขของประเทศ
ทรงตั้งพระราชสัตยาธิษฐาน ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

                                       ่ ั
          เดิมทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงตั้งพระราชหฤทัยว่าจะทรงครองราชสมบัติแต่
ในช่วงการจัดงานพระบรมศพของพระบรมเชษฐาเท่านั้น เพราะยังทรงพระเยาว์และไม่เคย
เตรี ยมพระองค์ในการเป็ นพระมหากษัตริ ยมาก่อน เหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น ในขณะที่
                                            ์
                           ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวประทับรถพระที่นงเสด็จพระราชดาเนินไปยังสนามบินดอนเมือง
                                                ่ั
เพื่อทรงศึกษาเพิ่มเติมที่สวิตเซอร์ แลนด์ ก็ทรงได้ยินเสี ยงราษฎรคนหนึ่งตะโกนว่า "ในหลวง
อย่ าทิงประชาชน" จึงทรงนึกตอบในพระราชหฤทัยว่า "ถ้ าประชาชนไม่ทิงข้ าพเจ้ าแล้ ว ข้ าพเจ้ า
        ้                                                              ้
จะทิงประชาชนอย่ างไรได้ "[19] ซึ่ งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้ทรงตระหนักในหน้าที่
      ้                                                      ่ ั
พระมหากษัตริ ยของพระองค์ ดังที่ได้ตรัสตอบชายคนเดิมนั้นในอีก 20 ปี ต่อมา[20]
                  ์

         พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงหมั้นกับ ม.ร.ว.สิ ริกิต์ ิ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ.
                                ่ ั
2492 เสด็จพระราชดาเนินนิวตพระนครในปี ถัดมา โดยประทับ ณ พระที่นงอัมพรสถาน ต่อมา
                            ั                                                ั่
                                                   ่ ั
วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวโปรดเกล้าฯ ให้จดการพระราชพิธีั
ราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ณ พระตาหนักสมเด็จพระศรี สวริ นทิราบรม
ราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม ซึ่ งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระ
บรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์หญิงสิ ริกิต์ ิ กิติยากร ขึ้นเป็ น สมเด็จพระ
ราชินีสิริกิติ์

       วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ต้งการพระ
                                                                        ั
ราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี ข้ ึน ณ พระที่นงไพศาลทักษิณ เฉลิม
                                                             ั่
พระปรมาภิไธยตามที่จารึ กในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอ ิ
ดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า "เราจะครองแผ่ นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์ สุขแห่ ง
มหาชนชาวสยาม" และในโอกาสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธย
สมเด็จพระราชินีสิริกิต์ ิ เป็ นสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี[21]

ทรงผนวช

          ดูบทความหลักที่ พระราชพิธีทรงผนวช ในรั ชกาลที่ 9




                      ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงรับบาตร ขณะทรงผนวช

                                                 ่ ั
         เมื่อ พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวเสด็จฯ ออกผนวชเป็ นเวลา 15 วัน ระหว่าง
วันที่ 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม มีสมณนามว่า ภูมิพโลภิกขุ และ
เสด็จฯ ไปประทับจาพรรษา ณ พระตาหนักปั้นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร ระหว่างที่ผนวช ทรงพระ
กรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี เป็ นผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์
                                                                    ้
                                      ่ ั
ในภายหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธย เป็ นสมเด็จ
พระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ในปี เดียว [22]

สถานะพระมหากษัตริย์

                                                 ่
        ตามกฎหมายไทย พระองค์ทรงดารงอยูในสถานะที่ "ผูใดจะละเมิดมิได้" การ
                                                               ้
วิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็ น "ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริ ย" และระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปี
                                                             ์
ถึงสิ บห้าปี [23] ทั้งนี้ พระองค์เคยมีพระราชดารัสในวันเฉลิมพระชนมพรรษาเมื่อปี 2548 ว่า "...ถ้า
บอกว่าพระเจ้าอยูหวไปวิจารณ์ท่านไม่ได้ ก็หมายความว่า พระเจ้าอยูหวไม่เป็ นคน...ฝรั่งเขาบอก
                       ่ ั                                       ่ ั
ว่า ในเมืองไทยนี่ พระมหากษัตริ ยถูกด่า ต้องเข้าคุก...ที่จริ งพระมหากษัตริ ยไม่เคยบอกให้เข้าคุก
                                ์                                          ์
..."[24]

         พระองค์ทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "สมเด็จพระภัทรมหาราช" หมายความ
ว่า "พระมหากษัตริ ยผประเสริ ฐยิง" ต่อมาในปี 2539 มีการถวายใหม่ว่า "พระบาทสมเด็จพระ
                     ์ ู้      ่
เจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช"[25] และ "พระภูมิพลมหาราช" อนุโลมตามธรรมเนียม
       ่ ั
                                               ่ ั
เช่นเดียวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว ที่ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "พระปิ ย
มหาราช" พระองค์ทรงเป็ นที่สกการบูชาของชาวไทยจานวนมาก แต่ถึงกระนั้นอภิสิทธิ์ เวชชา
                            ั
ชีวะ นายกรัฐมนตรี เคยแสดงทัศนะว่า มีขบวนการอันเป็ นภัยคุกคามร้ายแรงที่พยายามล้มล้าง
สถาบันพระมหากษัตริ ย[26] ประชาชนทัวไปนิยมเรี ยกพระองค์ว่า "ในหลวง" คาดังกล่าวคาดว่า
                          ์          ่
ย่อมาจาก "ใน (พระบรมมหาราชวัง) หลวง" บ้างก็ว่าเพี้ยนมาจากคาว่า "นายหลวง" ซึ่ งแปลว่า
เจ้านายผูเ้ ป็ นใหญ่

บทบาททางการเมือง

       ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระองค์ทรงเป็ นประมุขแห่งรัฐ จอมทัพไทย
และอัครศาสนูปถัมภก และทรงเป็ นพระมหากษัตริ ยภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่พระองค์ทรงมี
                                              ์
บทบาทในการเมืองไทยหลายครั้ง โดยเฉพาะในช่วงปี 2530-2540 เป็ นที่ทราบกันว่า พระองค์
ทรงมีบทบาทสาคัญในการเปลี่ยนผันประเทศไทยจากระบอบทหารไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
และทรงใช้พระราชอานาจทางศีลธรรมยับยั้งการปฏิวติและการกบฏหลายช่วงด้วยกัน ทว่า
                                                ั
พระองค์ก็ทรงสนับสนุนระบอบทหารเป็ นหลายครา ซึ่ งในจานวนนี้ อาทิ สฤษดิ์ ธนะรัชต์
ในช่วงปี 2500-2510 ในรัชสมัยของพระองค์ เกิดการรัฐประหารกว่าสิ บห้าครั้ง รัฐธรรมนูญกว่า
สิ บแปดฉบับ และการเปลี่ยนแปลงนายกรัฐมนตรี เกือบสามสิ บคน[27]

สมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม
จอมพลแปลก พิบูลสงคราม และภริ ยา กับ เอลินอร์ รู สเวลต์

       ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่ งเป็ นช่วงทีจอม
                                                                              ่
พลแปลก พิบูลสงครามเป็ นนายกรัฐมนตรี น้ น จอมพลแปลกมีแนวคิด ชาตินิยมอย่างรุ นแรง และ
                                          ั
ประสงค์ที่จะให้ประเทศไทยมีความเจริ ญเสมอนานารยประเทศ จอมพลแปลกในฐานะที่เป็ น
นายกรัฐมนตรี จึงมีนโยบาย "เชื่อผูนาชาติพนภัย" โดยพยายามชูบทบาทของตนเองให้โดดเด่น
                                 ้      ้
กว่าพระมหากษัตริ ย ์ และ ไม่สนับสนุนให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ปฏิบติพระราชกรณี ยกิจต่าง ๆ และควบคุมการใช้จ่ายของพระมหากษัตริ ย[28]
     ั                                                           ์

         พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและจอมพลแปลกเองมีเรื่ อง
กระทบกระทังกันบ่อยครั้ง โดยเฉพาะในโอกาสฉลองพุทธศตวรรษ พ.ศ. 2500[29][30] รัฐบาลได้
              ่
กราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริ ยเ์ สด็จมาทรงเป็ นประธานซึ่ งก็ทรงตอบรับเป็ นที่เรี ยบร้อย แต่
ครั้นถึงวันงานทรงพระประชวรปัจจุบนทันด่วน ทาให้นายกรัฐมนตรี ตดสิ นใจเป็ นประธานเปิ ด
                                   ั                              ั
พิธีเอง และในเดือนสิ งหาคมของปี ดังกล่าว จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผูบญชาการทหารบก
                                                                ้ ั
ออกมาโจมตีรัฐบาลของจอมพลแปลกว่าละเมิดพระราชอานาจของพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่ งข่าวการระหองระแหงกันระหว่างพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูหวและงรัฐบาลดังกล่าว ทาให้สาธารณะเริ่ มไม่ไว้วางใจรัฐบาลมากขึ้น[28] [31]
       ่ ั

         เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2500 จอมพลแปลกได้ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส
เฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อขอให้ทรงสนับสนุนรัฐบาล[32] พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
ภูมิพลอดุลยเดชทรงเตือนจอมพลแปลกว่าขอให้ลาออกจากตาแหน่งเสี ยเพื่อมิให้เกิดรัฐประหาร
แต่จอมพลแปลกปฏิเสธ[33] เย็นวันดังกล่าว จอมพลสฤษฎดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอานาจการปกครองจาก
รัฐบาลทันที และสองชัวโมงหลังจากการประกาศยึดอานาจ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
                    ่
ภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ใช้กฎอัยการศึกทัวราชอาณาจักร[34] และ
                                                                ่
ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้จอมพลสฤษดิ์เป็ นผูรักษาพระนครฝ่ ายทหาร
                                                            ้
โดยไม่มีผรับสนองพระบรมราชโองการ พระบรมราชโองการฉบับหลังมีความว่า[35]
         ู้

“ เนื่องด้ วยปรากฏว่ า รั ฐบาลอันมีจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็ นนายกรั ฐมนตรี ได้ บริ หาร
  ราชการแผ่ นดินไม่เป็ นที่ไว้ วางใจของประชาชน ทั้งไม่สามารถรั กษาความสงบ
  เรี ยบร้ อยของบ้ านเมืองได้ คณะทหารซึ่ งมีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ชต์ เป็ นหั วหน้ า ได้ เข้ า
  ยึดอานาจการปกครองไว้ ได้ และทาหน้ าที่เป็ นผู้รักษาพระนครฝ่ ายทหาร ข้ าพเจ้ าจึ งขอ
  แต่ งตั้งจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ชต์ เป็ นผู้รักษาพระนครฝ่ ายทหาร ขอให้ ประชาชนทั้งหลาย
  จงอยู่ในความสงบ และให้ ข้าราชการทุกฝ่ ายฟั งคาสั่ งจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ชต์ ตั้งแต่
  บัดนีเ้ ป็ นต้ นไป ประกาศ ณ วันที่ 16 กันยายน พุทธศักราช 2500                            ”

สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์

       เมื่อรัฐบาลทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เถลิงอานาจแล้ว รัฐบาลได้ฟ้ื นฟูพระราช
อานาจพระมหากษัตริ ย์ โดยอนุญาตให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้
เสด็จออกประชาชนเป็ นอันมาก ให้ทรงเสด็จประภาสในถิ่นทุรกันดาร และตั้งงบประมาณ
สนับสนุนโครงการพัฒนาที่พระองค์มีพระราชดาริ ริเริ่ มด้วย โดยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
ได้ประกาศให้นาประเพณี หมอบกราบเข้าเฝ้ า ซึ่ งเลิกไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาจุฬาลงกรณ์ กลับมาใช้ใหม่ กับทั้งประกาศให้สถาปนาพุทธศาสนาธรรมยุติกนิกายขึ้นซ้ า
ด้วย นอกจากนี้ นับตั้งแต่การปฏิวติสยาม 2475 สื บมา ประเพณี การเสด็จพระราชดาเนินโดย
                                ั
กระบวนพยุหยาตราชลมารคก็ได้จดขึ้นเป็ นครั้งแรกเพื่อถวายผ้าพระกฐิน[36] [37]
                                  ั

      พิธีกรรมหลายหลากในสมัยคลาสสิ กของราชวงศ์จกรี เช่น พิธีกรรมพืชมงคล ก็มี
                                                      ั
ประกาศให้ฟ้ื นฟู[38] วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5
ธันวาคม) ก็ได้รับการประกาศให้เป็ นวันชาติไทย แทนที่วนที่ 24 มิถุนายน อันตรงกับวันที่
                                                    ั
คณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ นผลสาเร็ จด้วย[39]
เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 8 ธันวาคม 2506 สานักพระราชวัง
ก็มีประกาศให้จดการไว้ทุกข์ในพระราชวังเป็ นเวลายี่สิบเอ็ดวัน และศพจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
                ั
ได้รับพระราชทานฉัตรห้าชั้น ซึ่ งปรกติเป็ นเครื่ องยศของพระบรมวงศานุวงศ์ช้นสมเด็จเจ้าฟ้ า
                                                                           ั
กางกั้นตลอดระยะเวลาไว้ศพ ทั้งนี้ พระยาศรี วิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล) องคมนตรี ได้กล่าว
ต่อมาว่า ไม่เคยมีนายกรัฐมนตรี คนใดที่มีความใกล้ชิดกับพระมหากษัตริ ยเ์ ท่ากับจอมพลสฤษดิ์
ธนะรัชต์ มาก่อนเลย[40]

สมัยจอมพลถนอม กิตติขจร

          หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2506 จอมพลถนอม
กิตติขจร ก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็ นนายกรัฐมนตรี คนถัดมา และจอมพลถนอม กิตติขจร ก็สืบ
นโยบายราชานิยมของจอมพลสฤษดิ์ต่อมาอีกกว่าทศวรรษ โดยในช่วงปี 2510-2520 นั้น
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีบทบาทโดดเด่นในคณะลูกเสื อชาวบ้าน
และกองกาลังติดอาวุธกระทิงแดง เป็ นอันมาก ซึ่ งเดือนตุลาคม 2516 ในการประท้วงเพื่อ
เรี ยกร้องประชาธิปไตยจากรัฐบาล และมีผตายเป็ นจานวนมหาศาลอันเนื่องมาจากการ
                                              ู้
ปราบปรามของรัฐบาลนั้น พระองค์ได้มีพระบรมราชานุญาตให้เปิ ดพระทวารพระตาหนัก
จิตรลดารโหฐานรับผูชุมนุมที่หนีตายเข้ามา และพระราชทานพระราชโอกาสให้เหล่าผูชุมนุมเฝ้ า
                       ้                                                             ้
ต่อมา ก็ทรงตั้ง สัญญา ธรรมศักดิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็ นนายกรัฐมนตรี แทน
จอมพลถนอม กิตติขจร ผูล้ ีภยไปสหรัฐอเมริ กาและสิ งคโปร์ ตามลาดับ ครั้งนั้น สัญญา ธรรม
                            ้ ั
ศักดิ์ จัดตั้งรัฐบาลพลเรื อนสาเร็ จเป็ นครั้งแรก ทว่า ไม่ชาไม่นานต่อมาใน พ.ศ. 2519 จอมพล
                                                          ้
ถนอม กิตติขจร ก็เล็ดรอดเข้าประเทศโดยบวชเป็ นภิกษุทวดบวรนิเวศวิหาร ก่อให้เกิดการ
                                                            ี่ ั
ประท้วงเป็ นวงกว้าง และนาไปสูเ่ หตุการณ์ 6 ตุลา ซึ่ งกองกาลังติดอาวุธของกลุ่มนิยมเจ้าได้
สังหารผูประท้วงล้มตายที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
           ้

สมัยพลเอกเปรม ติณสู ลานนท์

        ในความโกลาหลครั้งนั้น ฝ่ ายทหารก็เข้ายึดอานาจอีกครั้ง และเสนอนามบุคคลสามคน
ให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเลือกเพื่อแต่งตั้งเป็ นนายกรัฐมนตรี คน
ใหม่ ประกอบด้วย ประกอบ หุตะสิ งห์ ประธานศาลฎีกา, ธรรมนูญ เทียนเงิน ผูว่าราชการ
                                                                         ้
กรุ งเทพมหานคร และ ธานินทร์ กรัยวิเชียร ผูพิพากษาศาลฎีกา[41] ด้วยความที่ธานินทร์ กรัย
                                          ้
วิเชียร มีเกียรติคุณดีที่สุด จึงได้รับการโปรดให้เป็ นนายกรัฐมนตรี ทว่า เมื่อพระองค์พบว่า
ธานินทร์ กรัยวิเชียร มีแนวคิดขวาจัด และให้เหล่านักศึกษาหนีเข้าป่ าไปรวมกลุ่มกับพวก
คอมมิวนิสต์ได้ รัฐบาลของธานินทร์ กรัยวิเชียร ก็ถูกรัฐประหารนาโดย พลเอกเกรี ยงศักดิ์
ชมะนันท์ ใน พ.ศ. 2523 และคณะรัฐประหารก็ต้งพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี
                                                  ั
คนใหม่

        ขณะนั้น กองกาลังที่นิยมรัฐบาลได้เข้ายึดกรุ งเทพมหานคร ทว่า พระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงปฏิเสธไม่รับรอง การก่อการครั้งนี้จึงกลายเป็ นกบฏที่รู้จกใน
                                                                                  ั
ชื่อ "กบฏเมษาฮาวาย" และนาไปสู่ "กบฏทหารนอกราชการ" ในเวลาต่อมา[42][43] [44]

สมัยพลเอกสุ จนดา คราประยูร
             ิ

         ดูบทความหลักที่ พฤษภาทมิฬ




                      ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว โปรดเกล้า ฯ ให้ พล.อ.สุจินดา และ พล.ต.จาลอง เข้าเฝ้ า

        ใน พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีบทบาทเป็ น
สาคัญในการเปลี่ยนผันระบอบทหารไปสู่ระบอบประชาธิปไตย โดยการรัฐประหารของคณะ
ทหารเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ได้นาประเทศไทยกลับไปสู่ระบอบเผด็จการทหารอีกครั้ง
ซึ่ งภายหลังจากที่ รสช. ได้จดให้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                            ั
พุทธศักราช 2535 และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเป็ นการทัวไปแล้ว พรรคการเมืองที่
                                             ้                 ่
มีจานวนผูแทนราษฎรมากที่สุดคือพรรคสามัคคีธรรม จานวนเจ็ดสิ บเก้าคน ได้เป็ นแกนนาจัดตั้ง
           ้
รัฐบาล และมีการเตรี ยมเสนอนายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมในฐานะหัวหน้า
พรรคที่มีผแทนราษฎรมากที่สุดขึ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี แต่ปรากฏว่านางมาร์ กาเร็ ต แท็ตไวเลอร์
             ู้
โฆษกกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริ กา ได้แถลงว่า นายณรงค์เป็ นผูหนึ่งที่ไม่
                                                                         ้
สามารถขอหนังสื อเดินทางเข้าสหรัฐฯ ได้ เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด[45] พลเอก
สุจินดา คราประยูร หัวหน้าคณะรัฐประหาร ซึ่ งเคยตกปากว่าจะไม่รับตาแหน่งใด ๆ ภายหลัง
จากเลือกตั้งอีกเพื่อตัดข้อครหาบทบาทของทหารในรัฐบาลพลเรื อน กลับยอมรับตาแหน่ง
นายกรัฐมนตรี และสร้างความไม่พอใจท่ามกลางประชาชนเป็ นอันมาก นาไปสู่การเคลื่อนไหว
คัดค้านต่าง ๆ ของประชาชน โดยมีร้อยตรี ฉลาด วรฉัตร และพลตรี จาลอง ศรี เมือง หัวหน้า
พรรคพลังธรรม เป็ นแกนนา ซึ่ งรัฐบาลของพลเอกสุจินดาได้สงให้ปราบปรามผูชุมนุมประท้วง
                                                                 ั่           ้
โดดเฉี ยบขาด กลายเป็ นเหตุการณ์นองเลือดในที่สุด และมีผคนล้มลายหลายหลากเมื่อฝ่ ายทหาร
                                                              ู้
เปิ ดการโจมตีผชุมนุม เหตุการณ์ดิ่งสู่ความรุ นแรงเรื่ อย ๆ เมื่อกาลังทหารและตารวจเข้าควบคุม
               ู้
กรุ งเทพมหานครเต็มที่[45] และท่ามกลางสงครามกลางเมืองครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเข้าแทรกแซง โดยมีพระบรมราชโองการเรี ยกพลเอกสุจินดา ครา
ประยูร และหัวหน้ากลุ่มผูประท้วงเพื่อเรี ยกร้องประชาธิปไตย ให้เฝ้ า และพระราชทานพระบรม
                           ้
ราชานุญาตให้ถ่ายทอดการนี้ออกอากาศสดได้ ในภาพทางโทรทัศน์ พระองค์ทรงขอให้คู่กรณี
ยุติความรุ นแรงและนาพาชาติบานเมืองไปสู่สนติ ณ จุดสูงสุดของวิกฤติการณ์ ปรากฏภาพพล
                              ้              ั
เอกสุจินดา คราประยูร และหัวหน้าผูประท้วง เฝ้ าทูลละอองพระบาทโดยหมอบกราบ และที่สุด
                                     ้
ก็นาไปสู่การลาออกของพลเอกสุจินดา คราประยูร และการเลือกตั้งทัวไป[46]   ่

สมัยรัฐประหาร พ.ศ. 2549

         ดูบทความหลักที่ รั ฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 และ คณะมนตรี ความมันคง
                                                                            ่
       แห่ งชาติ

                                ่ ั
        พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระ
กรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานสภาองคมนตรี และ
รัฐบุรุษ พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน พลเรื อเอกสถิรพันธุ์ เกยานนท์ และพลอากาศเอกชลิต พุก
ผาสุข เข้าเฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายรายงานสถานการณ์ การปฏิรูปการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข เมื่อเวลา 00.19 น. วันพุธที่ 20 กันยายน ณ
                                    ์
พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต[47]

       พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ได้นาความกราบบังคมทูลพระกรุ ณา ทราบฝ่ าละอองธุลีพระ
                ์
บาท ว่า การบริ หารราชการแผ่นดินของรัฐบาล อันมี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็ นนายกรัฐมนตรี
ก่อให้เกิดปัญหา ความขัดแย้งแบ่งฝ่ าย สลายความรู้สึกรู้รักสามัคคีของคนในชาติ อย่างที่ไม่เคย
ปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ ชาติไทย ประชาชนส่วนหนึ่งเคลือบแคลงสงสัยว่า การบริ หาร
ราชการแผ่นดิน ส่อไปในทางทุจริ ตประพฤติมิชอบอย่างกว้างขวาง หน่วยงานอิสระ ถูก
การเมืองครอบงา ทาให้การดาเนินกิจกรรมทางการเมือง เกิดปัญหาและอุปสรรคหลายประการ
แม้หลายภาคส่วนของสังคมจะได้พยายามประนีประนอม คลี่คลายสถานการณ์มาโดยต่อเนื่อง
แล้ว ก็ไม่สามารถรักษาความสงบเรี ยบร้อยของบ้านเมืองได้[48]

         เดิม คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ น
                                                                          ์
ประมุข ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Council for Democratic Reform under Constitutional
Monarchy (อักษรย่อ CDRM) ต่อมาได้ตดคาว่า under Constitutional Monarchy ออก เพื่อ
                                       ั
ไม่ให้สื่อต่างประเทศนาไปตีความว่า คณะปฏิรูปฯ เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ เป็ น
Council for Democratic Reform (อักษรย่อ CDR) โดยยังคงใช้ชื่อภาษาไทยตามเดิม[49]

        นอกจากนี้ ในวันที่ 22 กันยายน โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย โดยสถานี
วิทยุโทรทัศน์กองทัพบก แพร่ ภาพพิธีรับพระบรมราชโองการ แต่งตั้งหัวหน้าคณะปฏิรูปการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข แก่พลเอกสนธิ ซึ่ งมี
                                                   ์
ข้อสังเกตว่าประกาศฉบับดังกล่าว มีพลเอกสนธิเอง ในฐานะผูบญชาการทหารบก เป็ นผูลงนาม
                                                        ้ ั                  ้
รับสนองพระบรมราชโองการ และลงวันที่ 20 กันยายน ขณะที่พิธีรับพระบรมราชโองการนั้น
จัดให้มีข้ ึนต่อมาในภายหลัง[50]

                                       ่ ั
        หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรด
กระหม่อม ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชัวคราว พ.ศ. 2549 ในวันที่ 1
                                                           ่
ตุลาคม ปี เดียวกัน คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรง์
เป็ นประมุข แปรสภาพเป็ น คณะมนตรีความมั่นคงแห่ งชาติ โดย หัวหน้า คปค. ดารงตาแหน่ง
ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่ งชาติ มีอานาจหน้าที่ เป็ นผูรับสนองพระบรมราชโองการ
                                                        ้
แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ประธานสภานิติบญญัติ ประธานสภาร่ างรัฐธรรมนูญ สมาชิกสมัชชา
                                     ั
แห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่ างรัฐธรรมนูญ หลังจากนั้น จึงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง
พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี [48]

พระราชทรัพย์
่ ั          ่
        พระราชทรัพย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ส่วนใหญ่อยูในรู ปของที่ดินและหุ้น
โดยแบ่งออกได้เป็ นส่วน ๆ ได้โดยสังเขป คือทรัพย์สินส่วนพระองค์ พระคลังข้างที่ และ
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ย ์ ซึ่ งพระองค์อุทิศพระราชทรัพย์ส่วนหนึ่งเพื่อโครงการ
พระราชดาริ จานวนกว่า 3,000 โครงการ มูลนิธิในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อพัฒนาภายในประเทศ
ในด้านกสิ กรรม เกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม สุขภาพอนามัย การส่งเสริ ม
อาชีพ สาธารณูปโภค และการศึกษา โครงการต่างๆมีรายละเอียดใช้เป็ นแหล่งอ้างอิงไปได้ทวั่
โลก[51] และพบได้ในสื่ อวิทยุและโทรทัศน์ของประเทศไทย[26]

ทรัพย์ สินส่ วนพระมหากษัตริย์

              ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ยถือเป็ นทรัพย์สินของแผ่นดิน ไม่ใช่ทรัพย์สินของส่วน
                                                   ์
พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว[52] และได้รับการยกเว้นไม่ตองเสี ยภาษีอย่างถูกต้อง
                                                     ่ ั                         ้
ตามกฎหมาย[53] ซึ่ งทรัพย์สินดังกล่าวจะถูกบริ หารงานในรู ปแบบองค์กรนิติบุคคลภายใต้ช่ือ
สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ย ์ ทรัพย์สินส่วนใหญ่ ได้แก่ ที่ดินและหุ้น โดยปัจจุบนมี         ั
ผูเ้ ช่าที่ดินทัวประเทศมากกว่า 3 หมื่นสัญญา[53] โดยแปลงสาคัญ ๆ ประกอบด้วย ที่ดินโรงแรม
                    ่
โฟร์ ซีซน ที่ดินสยามพารากอน ที่ดินเซ็นทรัลเวิลด์พลาซ่า ที่ดินองค์การสะพานปลา และที่ดิน
              ั่
ริ มถนนพระรามที่ 4 ฝั่งเหนือ จากสวนลุมไนท์บาร์ ซาร์ ยาวจรดศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิต์ ิ
[ต้ องการอ้ างอิง]
                   ทั้งนี้บริ ษทซี บีริชาร์ ดเอลลิส บริ ษทโบรกเกอร์ ดานอสังหาริ มทรัพย์รายใหญ่ของโลก
                               ั                         ั           ้
ได้เคยประมาณการตัวเลขพื้นที่ที่อยูในการดูแลของสานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ยอยู่
                                                ่                                                   ์
ที่ 32,500 ไร่ โดยในบางพื้นที่มีมูลค่าสูงกว่า 380 ล้านบาทต่อไร่ [54] ทั้งนี้ สานักงานทรัพย์สิน
ส่วนพระมหากษัตริ ยยงได้ลงทุนในหุ้นของบริ ษทต่าง ๆ อีกด้วย โดยถ้านับรวมทั้งหมด หุ้นที่
                                 ์ั                         ั
                                      ่ ั
สานักงานทรัพย์สินฯ มีอยูท้งหมดคิดเป็ น 7.5% ของมูลค่าตลาดรวมของตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทย[54] ทาให้พระองค์ทรงได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์ บ ให้เป็ นหนึ่งในกษัตริ ย์
ที่ร่ ารวยที่สุดในโลก[55] แต่สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ยได้ช้ ีแจงถึงบทความดังกล่าว
                                                                            ์
ว่า "มีความคลาดเคลื่อนจากข้ อเท็จจริ ง เนื่องจากในความเป็ นจริ ง ทรั พย์ สินที่นับมาประเมินนั้น
เป็ นทรั พย์ สินของแผ่ นดิน มิใช่ ทรั พย์ สินส่ วนพระองค์ "[52]

ทรัพย์ สินส่ วนพระองค์
่ ั                                         ่
       พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ยังทรงมีการลงทุนส่วนพระองค์เอง โดยไม่ผานสานักงาน
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ย ์ โดยการเป็ นผูถือหุนใน บริ ษท สัมมากร จากัด (มหาชน)
                                           ้ ้           ั
43.87%[56] บริ ษท ไทยประกันภัย จากัด (มหาชน) 18.56%[57] และบริ ษท ไมเนอร์ อินเตอร์ เนชัน
                ั                                                ั                     ่
แนล จากัด (มหาชน) 2.04% [58] เป็ นต้น

         ทรัพย์สินส่วนพระองค์น้ ียงหมายรวมถึง เงินทูลเกล้าถวายฯ ตามพระราชอัธยาศัยต่าง ๆ
                                  ั
ซึ่ งทรัพย์สินส่วนพระองค์น้ นไม่ได้รับการยกเว้นเรื่ องภาษี และต้องเสี ยภาษีอากรตามปกติ[53]
                            ั

       มูลนิธิอานันทมหิ ดล อ้างว่า พระองค์ได้พระราชทานทรัพย์สินส่วนพระองค์จานวนมาก
แก่ โครงการพระราชดาริ มูลนิธิในพระบรมราชูปถัมภ์ ตลอดจนการกุสล และการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์[59]

การถือหุ้น

        พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็ นผูถือหุ้นบริ ษทเอกชนหลาย
                                                         ้           ั
แห่ง ข้อมูลเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 มีดงต่อไปนี้
                                        ั

   1. ใน บริ ษทสัมมากร จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 197,414,850 หุ้น คิดเป็ นร้อยละ
               ั
      43.870[60]
   2. ใน บริ ษทไมเนอร์ อินเตอร์ เนชันแนล จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 72,470,861
                 ั                  ่
      หุ้น คิดเป็ นร้อยละ 2.22[61]
   3. ใน บริ ษทปูนซิ เมนต์ไทย จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 360,000,000 หุ้น คิดเป็ น
                   ั
      ร้อยละ 30.00[62]
   4. ใน บริ ษทไทยประกันภัย จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 3,526,567 หุ้น คิดเป็ นร้อย
                     ั
      ละ 30.00[63]
   5. ใน บริ ษทธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 722,941,958 หุ้น คิด
                       ั
      เป็ นร้อยละ 21.31[64]
   6. ใน บริ ษทซิ งเกอร์ ประเทศไทย จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 1,383,770 หุ้น คิดเป็ น
                         ั
      ร้อยละ 0.51[65]
7. ใน บริ ษทเทเวศประกันภัย จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 27,600 หุ้น คิดเป็ นร้อยละ
               ั
      0.23[66]

พระราชบุตร

     พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ
พระบรมราชินีนาถมีพระราชโอรสและพระราชธิดาด้วยกันสี่ พระองค์ตามลาดับดังต่อไปนี้

   1. ทูลกระหม่ อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม: สมเด็จพระ
                                                  ั
      เจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าอุบลรัตนราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน พ.ศ. 2494,
                                                ั
      สถานพยาบาลมงต์ชวซี เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
                                 ั
      พระองค์น้ ีได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์เพื่อทรงสมรสกับนายปี เตอร์
                            ั
      เจนเซ่น ชาวอเมริ กน โดยมีพระโอรสหนึ่งองค์และพระธิดาสององค์ ทั้งนี้ คาว่า
      "ทูลกระหม่อมหญิง" เป็ นคาเรี ยกพระราชวงศ์ที่มีพระชนนีเป็ นสมเด็จพระบรมราชินี
   2. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร (พระนามเดิม:
                                       ้
      สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ าวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธารงสุ
      บริ บาล อภิคุณูประการมหิ ตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศวรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควัฒน์
      บรมขัตติยราชกุมาร; ประสูติ: 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495, พระที่นงอัมพรสถาน) ทรง
                                                                     ั่
      อภิเษกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดดามาตุ นางสุ
                                                                             ั
      จาริ ณี วิวชรวงศ์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรี รัศมิ์ ตามลาดับ โดยมีพระโอรส
                 ั
      หนึ่งพระองค์และสี่ องค์ กับพระธิดาสองพระองค์
   3. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา เจ้าฟามหาจักรีสิรินธร รัฐสี มาคุณากรปิ ยชาติ สยามบรม
                                         ้
      ราชกุมารี (พระนามเดิม: สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าสิ รินธรเทพรัตนสุดา กิติวฒนาดุล
                                                                                  ั
      โสภาคย์; ประสูติ: 2 เมษายน พ.ศ. 2498, พระที่นงอัมพรสถาน)
                                                     ั่
   4. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (ประสูติ: 4 กรกฎาคม
                                   ้
      พ.ศ. 2500, พระที่นงอัมพรสถาน) ทรงอภิเษกสมรสกับนาวาอากาศเอก วีระยุทธ ดิษยะศ
                              ั่
      ริ น โดยมีพระธิดาสองพระองค์

พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น
ดูบทความหลักที่ พระราชกรณี ยกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ
       ดุลยเดช

ด้ านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี

       ดูเพิ่มที่ พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

       ในฐานะที่พระองค์ทรงเป็ นพระมหากษัตริ ยที่มีพระปรี ชาสามารถในศิลปะแขนงต่าง ๆ
                                             ์
หลายแขนง จึงทรงได้รับการยกย่องให้เป็ นองค์อครศิลปิ นแห่งชาติและบิดาแห่งการดนตรี[67]
                                           ั
พระองค์ยงทรงสนพระราชหฤทัยในการฝึ กเขียนภาพ และมีพระปรี ชาสามารถในเรื่ องการ
         ั
ถ่ายภาพ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนทรงมีพระปรี ชาสามารถปั้นพระพุทธรู ปพระ
สมเด็จจิตรลดาด้วยพระองค์เอง

                                                  ่ ั
      งานทางด้านวรรณศิลป์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงเชี่ยวชาญในภาษาหลากหลาย
ภาษา ทรงพระราชนิพนธ์บทความ แปลหนังสื อ เช่น นายอินทร์ ผปิดทองหลังพระ ติโต พระ
                                                        ู้
มหาชนก และพระมหาชนก ฉบับการ์ ตูน เรื่ อง ทองแดง เป็ นพระราชนิพนธ์เกี่ยวกับคุณทองแดง
สุนขทรงเลี้ยง เป็ นต้น[68]
   ั

ด้ านการพัฒนาชนบท

        พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวเสด็จฯ ไปทุกหนแห่งไม่ว่าดินแดนแห่งนั้นจะทุรกันดาร
                               ่ ั
เพียงใด ไม่ว่าใกล้ไกลแค่ไหน พระองค์จดทาโครงการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดาริ ควบคู่
                                     ั
ไปในทุกๆ ด้าน ไม่เน้นด้านใดด้านหนึ่ง พระองค์มีจุดประสงค์เดียวคือ เพื่อขจัดความทุกข์ยาก
                                                  ่
ของชาวชนบท และสนับสนุนส่งเสริ มให้มีความเป็ นอยูที่ดีข้ ึน รวมทั้งแก้ปัญหาสังคมเมืองให้ดี
ขึ้น โดยจะเห็นได้จากโครงการในพระราชดาริ หลายโครงการที่เกิดขึ้นจากความรับผิดชอบของ
หน่วยงานต่างๆ

       โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จะเป็ นโครงการเกี่ยวกับปรับปรุ งถนนหนทาง การ
ก่อสร้างถนนเพื่อการ สัญจรไปมาได้สะดวกและทัวถึง การคมนาคมเป็ นปัจจัยพื้นฐานที่ สาคัญ
                                                      ่
ของการนาความเจริ ญไปสู่ชนบท การสื่ อสาร ติดต่อที่ดียงผล สาคัญทาให้เศรษฐกิจของราษฎร
                                                           ั
                                      ่
ในพื้นที่ดีข้ ึน ราษฎรก็มีความเป็ นอยูที่ดีข้ ึน ในการพัฒนาชนบทนั้น การคมนาคม เป็ น
ปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญที่จะมองข้ามไปเสี ยมิได้ เพราะเป็ นเสมือนประตูเชื่อม ระหว่างในเมือง
และชนบท ดังนั้น การที่จะเริ่ มโครงการพัฒนาใดๆ นั้นจะต้องเริ่ มจากการปรับปรุ ง และการ
ก่อสร้างถนนหนทางเป็ นการเปิ ดประตูนาความเจริ ญเข้าไปสู่พ้ืนที่

ด้ านการเกษตรและชลประทาน


เขื่อนภูมิพล

        ในด้านการเกษตร จะทรงเน้นในเรื่ องของการค้นคว้า ทดลอง และวิจยหาพันธุ์พืชใหม่ๆ
                                                                      ั
ทั้งพืชเศรษฐกิจ พืชสมุนไพร รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรู พืช และพันธุ์สตว์ต่างๆ ที่
                                                                          ั
เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่ งแต่ละโครงการจะเน้นให้สามารถนาไปปฏิบติได้จริ ง มีราคา
                                                                            ั
ถูก ใช้เทคโนโลยีง่าย ไม่สลับซับซ้อน เกษตรกรสามารถดาเนินการเองได้ นอกจากนี้ ยังทรง
พยายามไม่ให้เกษตรกรยึดติดกับพืชผลทางการเกษตรเพียงอย่างเดียว เพราะอาจเกิดปัญหาอัน
เนื่องมาจากความแปรปรวนของสภาพดินฟ้ าอากาศ หรื อความแปรปรวนทางการตลาด แต่
เกษตรกรควรจะมีรายได้จากด้านอื่นนอกเหนือไปจากการเกษตรเพิ่มขึ้นด้วย เพื่อจะได้พ่ ึงตนเอง
ได้ในระดับหนึ่ง

         การพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการเพาะปลูกหรื อการชลประทาน นับว่าเป็ นงานที่มีความสาคัญ
และมีประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ เพราะเกษตรกรจะสามารถทา
การเพาะปลูกได้อย่างสมบูรณ์ตลอดปี เนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกในปัจจุบนส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่
                                                                 ั
นอกเขตชลประทาน ซึ่ งต้องอาศัยเพียงน้ าฝนและน้ าจากแหล่งน้ าธรรมชาติเป็ นหลัก ทาให้พืช
                                                           ่ ั
ได้รับน้ าไม่สม่าเสมอ และไม่เพียงพอ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงให้ความสนพระราช
หฤทัยเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน้ ามากกว่าโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ประเภท
อื่น

ด้ านการแพทย์

                                          ่ ั              ั
       โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชทานให้กบประชาชนในระยะแรกๆ
ล้วนแต่เป็ นโครงการด้านสาธารณสุข เพราะพระองค์ทรงเห็นว่า หากประชาชนมีร่างกายที่
สมบูรณ์ แข็งแรง จะนาไปสู่สุขภาพจิตที่ดี และส่งผลให้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดีไปด้วย
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม

More Related Content

What's hot

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
Benjawan Hengkrathok
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมDos Zaa
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย009kkk
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
จันทร์แสง บุญเทียม
 
9789740333685
97897403336859789740333685
9789740333685
CUPress
 
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาลประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
chanaporn sornnuwat
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 

What's hot (20)

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
9789740333685
97897403336859789740333685
9789740333685
 
Sss
SssSss
Sss
 
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาลประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
ประวัติของแต่ละรัชกาล กับ ชื่อเต็มของรัชกาล
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 

Viewers also liked

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จังหวัดกรุงเทพมหานคร
จังหวัดกรุงเทพมหานครจังหวัดกรุงเทพมหานคร
จังหวัดกรุงเทพมหานคร
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับคุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ลาว
ลาวลาว
3.gmail etiquetas en correo
3.gmail   etiquetas en correo3.gmail   etiquetas en correo
3.gmail etiquetas en correowebsocialcpe
 

Viewers also liked (20)

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
 
จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502จังหวัดนครราชสีมา502
จังหวัดนครราชสีมา502
 
อาชีพนักกายภาพบำบัด
อาชีพนักกายภาพบำบัดอาชีพนักกายภาพบำบัด
อาชีพนักกายภาพบำบัด
 
จังหวัดกรุงเทพมหานคร
จังหวัดกรุงเทพมหานครจังหวัดกรุงเทพมหานคร
จังหวัดกรุงเทพมหานคร
 
จอร์แคน
จอร์แคนจอร์แคน
จอร์แคน
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
อาชีพเลขานุการ555
อาชีพเลขานุการ555อาชีพเลขานุการ555
อาชีพเลขานุการ555
 
สมุทรปราการ
สมุทรปราการสมุทรปราการ
สมุทรปราการ
 
หอเทียนถา
หอเทียนถาหอเทียนถา
หอเทียนถา
 
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับคุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
 
สงขลา
สงขลาสงขลา
สงขลา
 
จังหวัดชลบุรี
จังหวัดชลบุรีจังหวัดชลบุรี
จังหวัดชลบุรี
 
กิจการผ้าไหม
กิจการผ้าไหมกิจการผ้าไหม
กิจการผ้าไหม
 
สุโขทัย1
สุโขทัย1สุโขทัย1
สุโขทัย1
 
จังหวัดพิจิตร
จังหวัดพิจิตรจังหวัดพิจิตร
จังหวัดพิจิตร
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประเทศมอนเตเนโกร
ประเทศมอนเตเนโกรประเทศมอนเตเนโกร
ประเทศมอนเตเนโกร
 
ลาว
ลาวลาว
ลาว
 
3.gmail etiquetas en correo
3.gmail   etiquetas en correo3.gmail   etiquetas en correo
3.gmail etiquetas en correo
 
จังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี
 

Similar to นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
สุรพล ศรีบุญทรง
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จTeeraporn Pingkaew
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
Sumintra Boonsri
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
Choengchai Rattanachai
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887
CUPress
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับnuttawon
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
Nathathai
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+dltvp4+55t2his p04 f06-1page
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+dltvp4+55t2his p04 f06-1pageพ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+dltvp4+55t2his p04 f06-1page
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+dltvp4+55t2his p04 f06-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+55t2his p04 f06-4page
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+55t2his p04 f06-4pageพ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+55t2his p04 f06-4page
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+55t2his p04 f06-4page
Prachoom Rangkasikorn
 

Similar to นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม (20)

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+dltvp4+55t2his p04 f06-1page
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+dltvp4+55t2his p04 f06-1pageพ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+dltvp4+55t2his p04 f06-1page
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+dltvp4+55t2his p04 f06-1page
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+55t2his p04 f06-4page
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+55t2his p04 f06-4pageพ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+55t2his p04 f06-4page
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช+568+55t2his p04 f06-4page
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

Is
IsIs
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
คองโก
คองโกคองโก
Is1
Is1Is1
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม

  • 1. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอดุลยเดช ิ นาย แสนเก่ ง ปองโพนทอง ม.5/3 เลขที่ 10 ้
  • 2. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระ พระบาทสมเด็จพระ ปรมาภิไธย ปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดช มหิ ตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรี นฤบ ดินทร สยามินทราธิ ราช บรมนาถบพิตร[1] พระราช พระมหากษัตริ ยแห่ง ์ อิสริยยศ ประเทศไทย ราชวงศ์ ราชวงศ์จกรี ั ครองราชย์ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 บรม 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ราชาภิเษก ระยะ 65 ปี , 77 วัน
  • 3. ครองราชย์ รัชกาลก่ อน พระบาทสมเด็จพระ หน้ า ปรเมนทรมหาอานันท มหิ ดล พระอัฐมรา มาธิบดินทร วัดประจา วัดพระราม 9 กาญจนา รัชกาล ภิเษก พระพุทธรูป พระพุทธรู ปปางอภัย ประจาพระ มุทรา พุทธลักษณะ ชนมวาร สุโขทัย ข้ อมูลส่ วนพระองค์[ซ่อน] พระราช 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 สมภพ วันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น 12 ค่า ปี เถาะ นพศก เคมบริ ดจ์, รัฐ แมสซาชูเซตส์,สหรัฐอเมริ กา พระบรมราช สมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศร ชนก อดุลยเดชวิกรม พระบรมราช ชนก พระบรมราช สมเด็จพระศรี นคริ นทราบ ชนนี รมราชชนนี พระบรม สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ ราชินี พระบรมราชินีนาถ พระราช - ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัต
  • 4. โอรส/ธิดา นราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณ ั วดี - สมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราช เจ้าฟ้ ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร - สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี - สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราช กุมารี หมายเหตุ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — ) เป็ นพระมหากษัตริ ยพระองค์ปัจจุบนแห่งประเทศไทย และ ์ ั พระมหากษัตริ ยลาดับที่เก้าแห่งราชวงศ์จกรี ทรงราชย์ต้งแต่วนที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ขณะนี้ ์ ั ั ั จึงเป็ นพระมหากษัตริ ยผเู้ สวยราชย์นานที่สุดในโลกที่มีพระชนมชีพอยู่ และยาวนานที่สุดใน ์ ประวัติศาสตร์ ไทย[2] พระองค์ทรงเป็ นที่สรรเสริ ญในประเทศไทยเกี่ยวกับพระราชดาริ ในเรื่ องปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โดยโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล ความสาเร็ จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์แด่พระองค์[3] กับทั้งพระองค์ทรงเป็ นเจ้าของสิ ทธิบตร ั สิ่ งประดิษฐ์ งานพระราชนิพนธ์ และงานดนตรี จานวนหนึ่ง [4]นอกจากนี้ พระองค์ยงทรงเป็ นผู้ ั ถือหุ้นรายใหญ่ในบริ ษทเอกชนหลายแห่ง ในปี 2553 นิตยสารฟอบส์ประเมินว่า พระองค์มีพระ ั ราชทรัพย์ส่วนพระองค์ รวมถึงที่อยูในการบริ หารจัดการของสานักงานทรัพย์สินส่วน ่
  • 5. พระมหากษัตริ ย์ เป็ นมูลค่ามากกว่าเก้าแสนหกหมื่นล้านบาท และด้วยเหตุน้ ี จึงทรงได้รับการจัด อันดับให้เป็ นพระมหากษัตริ ยผมีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก[5][6] ์ ู้ นับตั้งแต่เดือนกันยายน 2552 พระองค์แปรพระราชฐานจากพระตาหนักจิตรลดา รโหฐาน ไป โรงพยาบาลศิริราช ตราบปัจจุบน อันเนื่องมาจากพระโรคไข้หวัดและพระปัปผาสะ ั อักเสบ[7] ในเดือนตุลาคม ปี เดียวกันนั้น ข่าวลือว่าพระอาการประชวรทรุ ดหนักลง ได้ยงให้ตลาด ั หุ้นไทยร่ วงลงอย่างสาหัส[8] เนื้อหา [ซ่อน]  1 พระราชประวัติ o 1.1 ทรงพระเยาว์ o 1.2 ทรงศึกษา o 1.3 ทรงประสบอุบติเหตุ และทรงหมั้น ั o 1.4 เสวยราชย์ และทรงอภิเษกสมรส o 1.5 ทรงผนวช  2 สถานะพระมหากษัตริ ย์  3 บทบาททางการเมือง o 3.1 สมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม o 3.2 สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ o 3.3 สมัยจอมพลถนอม กิ ตติขจร o 3.4 สมัยพลเอกเปรม ติณสู ลานนท์ o 3.5 สมัยพลเอกสุ จินดา คราประยูร o 3.6 สมัยรัฐประหาร พ.ศ. 2549  4 พระราชทรัพย์ o 4.1 ทรัพย์สินส่ วนพระมหากษัตริ ย ์ o 4.2 ทรัพย์สินส่ วนพระองค์ o 4.3 การถือหุ ้น
  • 6. 5 พระราชบุตร  6 พระราชกรณี ยกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น o 6.1 ด้านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี o 6.2 ด้านการพัฒนาชนบท o 6.3 ด้านการเกษตรและชลประทาน o 6.4 ด้านการแพทย์ o 6.5 ด้านการศึกษา o 6.6 ด้านการกี ฬา o 6.7 ด้านดนตรี  7 พระเกียรติยศ  8 สถานที่ พันธุ์พืช และพันธุ์สตว์ อันเนื่องด้วยพระปรมาภิไธย ั o 8.1 สถานที่ o 8.2 พันธุ์พืช o 8.3 พันธุ์สตว์ั  9 พระราชตระกูล  10 ดูเพิ่ม  11 แหล่งอ้างอิงและเชิงอรรถ  12 แหล่งข้อมูลอื่น พระราชประวัติ ทรงพระเยาว์
  • 7. (ด้านหน้า จากขวามาซ้าย) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช; สมเด็จพระศรี สว ริ นทิราบรมราชเทวี และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิ ดล กรมพระยาชัยนาท นเรนทร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชสมภพในราชสกุล มหิ ดลอันเป็ นสายหนึ่งในราชวงศ์จกรี ณ โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น เมืองเคมบริ ดจ์ มลรัฐ ั แมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริ กา เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น 12 ค่า ปี เถาะ นพศก จุลศักราช 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ซึ่ งเหตุที่พระราชสมภพในสหรัฐอเมริ กา เนื่องจากพระบรม ราชชนกและพระบรมราชชนนีกาลังทรงศึกษาวิชาการอยูที่นน ่ ั่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเป็ นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้า ฟ้ ามหิ ดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานคริ นทร์ (สมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระ บรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาล ตะละภัฎ (ชูกระมล) (สมเด็จพระศรี นคริ นทราบ รมราชชนนี ในกาลต่อมา) ทรงมีพระนามขณะนั้นว่า พระวรวงศ์ เธอ พระองค์ เจ้ าภูมิพลอดุลเดช ทรงมีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้า ฟ้ ากัลยาณิ วฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา ั อานันทมหิ ดล ซึ่ งสมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรี ยกพระองค์เป็ นการ ลาลองว่า "เล็ก"[9][10] พระนาม "ภูมิพลอดุลเดช" นั้น พระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจาก ่ ั พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกากับตัวสะกด เป็ นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทาให้สมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี ทรงเข้า
  • 8. พระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"[9] ในระยะแรกพระนามของพระองค์ สะกดเป็ นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดชเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้ แบบหลังซึ่ งมีตว "ย" สะกดตราบปัจจุบน [9][11] ั ั พระนามของพระองค์มีความหมายว่า  ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า "แผ่นดิน" และ พล หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้ว หมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"  อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า "ไม่อาจเทียบได้" และ เดช หมายความว่า "อานาจ" รวมกันแล้วหมายถึง "ผูมีอานาจที่ไม่อาจเทียบได้"[12] ้ เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่ งทรงสาเร็ จ การศึกษาปริ ญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด สหรัฐอเมริ กา พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธิราช โดย ประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ่ ั ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา พระราชวงศ์ ไทย  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว่ ั  สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ o ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัต นราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณ ั
  • 9. วดี  คุณพลอยไพลิน เจน เซน  คุณพุ่ม เจนเซน  คุณสิ ริกิติยา เจนเซน o สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ศรี รัศมิ์ พระวรชายาฯ  พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยา ภา  พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิ ริวณณ ั วรี นารี รัตน์  พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกร รัศมีโชติ o สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี o สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราช กุมารี  พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิ ริภาจุฑา ภรณ์  พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิ
  • 10. ติคุณ  สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้ าเพชร รัตนราชสุดา สิ ริโสภาพัณณวดี  พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมส วลี พระวรราชาทินดดามาตุ ั  ท่านผูหญิง ทัศนาวลัย ศรสงคราม ้ ทรงศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริ ญพระชนมายุได้สี่พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรี ยนมาแตร์ เดอี จนถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดาเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศ สวิตเซอร์ แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้น ประถมศึกษา ณ โรงเรี ยนเมียร์ มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชา ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ "โรงเรี ยนแห่งใหม่ ของซื ออีสโรมองด์" (ฝรั่งเศส: École Nouvelle de la Suisse Romande, เอกอล นูแวล เดอ ลา ซื อ อีส โรมองด์) เมืองแชลลี-ซูร์-โลซาน (ฝรั่งเศส: Chailly-sur-Lausanne) พ.ศ. 2477 เมื่อพระองค์เจ้าอานันทมหิ ดล พระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชย์เป็ น พระมหากษัตริ ยรัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จกรี ก็ทรงได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็ น "สมเด็จ ์ ั พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุยเดช" เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 ่ ั เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2481 ได้โดยเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล เสด็จนิวตั ประเทศไทย เป็ นเวลา 2 เดือน โดยประทับทีพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต ่ จากนั้นเสด็จกลับไปศึกษาต่อที่สวิตเซอร์ แลนด์จนถึงปี พ.ศ. 2488 ทรงรับประกาศนียบัตรทาง อักษรศาสตร์ จากโรงเรี ยนยิมนาส คลาซี ค กังโตนาล แล้วทรงเข้าศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยโล ซาน แผนกวิทยาศาสตร์ โดยเสด็จนิวตประเทศไทยเป็ นครั้งที่สอง ประทับ ณ พระที่นงบรม ั ั่ พิมาน ในพระบรมมหาราชวัง[13]
  • 11. ทรงประสบอุบัตเิ หตุ และทรงหมั้น หลังจากที่จบการศึกษาจากสวิตเซอร์ แลนด์ พระองค์เสด็จไปเยือนกรุ งปารี ส ทรงพบกับ หม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ซึ่ งเป็ นลูกสาวของเอกอัครราชทูตไทยประจาฝรั่งเศส เป็ นครั้งแรก [14] ในขณะนี้ ทั้งสองพระองค์มีพระชนมายุ 21 พรรษาและ 15 พรรษาตามพระลาดับ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2491 ในระหว่างเสด็จประทับยังต่างประเทศ ขณะที่พระองค์ ทรงขับรถยนต์พระที่นงเฟี ยส ทอปอลิโน จากเจนีวาไปยังโลซาน ทรงประสบอุบติเหตุทาง ั่ ั รถยนต์ กล่าวคือ รถยนต์พระที่นงชนกับรถบรรทุกอย่างแรง ทาให้เศษกระจกกระเด็นเข้าพระ ั่ เนตรขวา พระอาการสาหัส หลังการถวายการรักษา พระองค์ทรงมีพระอาการแทรกซ้อนบริ เวณ พระเนตรขวา แพทย์จึงถวายการรักษาอย่างต่อเนื่องหลายครั้ง หากแต่พระอาการยังคงไม่ดีข้ ึน กระทังวินิจฉัยแล้วว่าพระองค์ไม่สามารถทอดพระเนตรผ่านทางพระเนตรขวาของพระองค์เอง ่ ได้ต่อไปแล้ว จึงได้ถวายการแนะนาให้พระองค์ทรงพระเนตรปลอมในที่สุด ทั้งนี้ ม.ร.ว. สิ ริกิต์ ิ ได้มีโอกาสเข้าเฝ้ าเยี่ยมพระอาการเป็ นประจาจนกระทังหายจาก ่ ั ั อาการประชวร อันเป็ นเหตุที่ทาให้ท้งสองพระองค์มีความสัมพันธ์กนอย่างใกล้ชิดนับตั้งแต่น้ น ั เป็ นต้นมา[15][16][17] เสวยราชย์ และทรงอภิเษกสมรส ดูเพิ่มที่ เหตุการณ์ สวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิ ดล พระ อัฐมรามาธิบดินทร พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ในรั ชกาลที่ 9 และ พระราชพิธีบรม ราชาภิเษก ในรั ชกาลที่ 9 วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิ ดลเสด็จ สวรรคตอย่างกะทันหัน โดยต้องพระแสงปื นที่พระกระหม่อม ณ พระที่นงบรมพิมาน[18] สมเด็จ ั่ พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าภูมิพลอดุลยเดชได้ตดสิ นพระทัยรับตาแหน่งพระมหากษัตริ ย ์ เสด็จขึ้น ั ครองราชสมบัติ สื บราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่เนื่องจากยังมีพระราชกิจด้านการศึกษา จึงทรงอาลาประชาชนชาวไทย เสด็จพระราชดาเนินไปศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม แต่ เปลี่ยนสาขาจากวิทยาศาสตร์ ไปเป็ นสาขาสังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ ซึ่ งมีความ จาเป็ นสาหรับตาแหน่งประมุขของประเทศ
  • 12. ทรงตั้งพระราชสัตยาธิษฐาน ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ่ ั เดิมทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงตั้งพระราชหฤทัยว่าจะทรงครองราชสมบัติแต่ ในช่วงการจัดงานพระบรมศพของพระบรมเชษฐาเท่านั้น เพราะยังทรงพระเยาว์และไม่เคย เตรี ยมพระองค์ในการเป็ นพระมหากษัตริ ยมาก่อน เหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น ในขณะที่ ์ ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวประทับรถพระที่นงเสด็จพระราชดาเนินไปยังสนามบินดอนเมือง ่ั เพื่อทรงศึกษาเพิ่มเติมที่สวิตเซอร์ แลนด์ ก็ทรงได้ยินเสี ยงราษฎรคนหนึ่งตะโกนว่า "ในหลวง อย่ าทิงประชาชน" จึงทรงนึกตอบในพระราชหฤทัยว่า "ถ้ าประชาชนไม่ทิงข้ าพเจ้ าแล้ ว ข้ าพเจ้ า ้ ้ จะทิงประชาชนอย่ างไรได้ "[19] ซึ่ งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้ทรงตระหนักในหน้าที่ ้ ่ ั พระมหากษัตริ ยของพระองค์ ดังที่ได้ตรัสตอบชายคนเดิมนั้นในอีก 20 ปี ต่อมา[20] ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงหมั้นกับ ม.ร.ว.สิ ริกิต์ ิ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. ่ ั 2492 เสด็จพระราชดาเนินนิวตพระนครในปี ถัดมา โดยประทับ ณ พระที่นงอัมพรสถาน ต่อมา ั ั่ ่ ั วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวโปรดเกล้าฯ ให้จดการพระราชพิธีั ราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ ิ กิติยากร ณ พระตาหนักสมเด็จพระศรี สวริ นทิราบรม ราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม ซึ่ งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระ บรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์หญิงสิ ริกิต์ ิ กิติยากร ขึ้นเป็ น สมเด็จพระ ราชินีสิริกิติ์ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ต้งการพระ ั ราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี ข้ ึน ณ พระที่นงไพศาลทักษิณ เฉลิม ั่ พระปรมาภิไธยตามที่จารึ กในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอ ิ
  • 13. ดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า "เราจะครองแผ่ นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์ สุขแห่ ง มหาชนชาวสยาม" และในโอกาสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระราชินีสิริกิต์ ิ เป็ นสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี[21] ทรงผนวช ดูบทความหลักที่ พระราชพิธีทรงผนวช ในรั ชกาลที่ 9 ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงรับบาตร ขณะทรงผนวช ่ ั เมื่อ พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวเสด็จฯ ออกผนวชเป็ นเวลา 15 วัน ระหว่าง วันที่ 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม มีสมณนามว่า ภูมิพโลภิกขุ และ เสด็จฯ ไปประทับจาพรรษา ณ พระตาหนักปั้นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร ระหว่างที่ผนวช ทรงพระ กรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินี เป็ นผูสาเร็ จราชการแทนพระองค์ ้ ่ ั ในภายหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธย เป็ นสมเด็จ พระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ในปี เดียว [22] สถานะพระมหากษัตริย์ ่ ตามกฎหมายไทย พระองค์ทรงดารงอยูในสถานะที่ "ผูใดจะละเมิดมิได้" การ ้ วิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็ น "ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริ ย" และระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปี ์ ถึงสิ บห้าปี [23] ทั้งนี้ พระองค์เคยมีพระราชดารัสในวันเฉลิมพระชนมพรรษาเมื่อปี 2548 ว่า "...ถ้า บอกว่าพระเจ้าอยูหวไปวิจารณ์ท่านไม่ได้ ก็หมายความว่า พระเจ้าอยูหวไม่เป็ นคน...ฝรั่งเขาบอก ่ ั ่ ั
  • 14. ว่า ในเมืองไทยนี่ พระมหากษัตริ ยถูกด่า ต้องเข้าคุก...ที่จริ งพระมหากษัตริ ยไม่เคยบอกให้เข้าคุก ์ ์ ..."[24] พระองค์ทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "สมเด็จพระภัทรมหาราช" หมายความ ว่า "พระมหากษัตริ ยผประเสริ ฐยิง" ต่อมาในปี 2539 มีการถวายใหม่ว่า "พระบาทสมเด็จพระ ์ ู้ ่ เจ้าอยูหวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช"[25] และ "พระภูมิพลมหาราช" อนุโลมตามธรรมเนียม ่ ั ่ ั เช่นเดียวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว ที่ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "พระปิ ย มหาราช" พระองค์ทรงเป็ นที่สกการบูชาของชาวไทยจานวนมาก แต่ถึงกระนั้นอภิสิทธิ์ เวชชา ั ชีวะ นายกรัฐมนตรี เคยแสดงทัศนะว่า มีขบวนการอันเป็ นภัยคุกคามร้ายแรงที่พยายามล้มล้าง สถาบันพระมหากษัตริ ย[26] ประชาชนทัวไปนิยมเรี ยกพระองค์ว่า "ในหลวง" คาดังกล่าวคาดว่า ์ ่ ย่อมาจาก "ใน (พระบรมมหาราชวัง) หลวง" บ้างก็ว่าเพี้ยนมาจากคาว่า "นายหลวง" ซึ่ งแปลว่า เจ้านายผูเ้ ป็ นใหญ่ บทบาททางการเมือง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระองค์ทรงเป็ นประมุขแห่งรัฐ จอมทัพไทย และอัครศาสนูปถัมภก และทรงเป็ นพระมหากษัตริ ยภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่พระองค์ทรงมี ์ บทบาทในการเมืองไทยหลายครั้ง โดยเฉพาะในช่วงปี 2530-2540 เป็ นที่ทราบกันว่า พระองค์ ทรงมีบทบาทสาคัญในการเปลี่ยนผันประเทศไทยจากระบอบทหารไปสู่ระบอบประชาธิปไตย และทรงใช้พระราชอานาจทางศีลธรรมยับยั้งการปฏิวติและการกบฏหลายช่วงด้วยกัน ทว่า ั พระองค์ก็ทรงสนับสนุนระบอบทหารเป็ นหลายครา ซึ่ งในจานวนนี้ อาทิ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในช่วงปี 2500-2510 ในรัชสมัยของพระองค์ เกิดการรัฐประหารกว่าสิ บห้าครั้ง รัฐธรรมนูญกว่า สิ บแปดฉบับ และการเปลี่ยนแปลงนายกรัฐมนตรี เกือบสามสิ บคน[27] สมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม
  • 15. จอมพลแปลก พิบูลสงคราม และภริ ยา กับ เอลินอร์ รู สเวลต์ ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่ งเป็ นช่วงทีจอม ่ พลแปลก พิบูลสงครามเป็ นนายกรัฐมนตรี น้ น จอมพลแปลกมีแนวคิด ชาตินิยมอย่างรุ นแรง และ ั ประสงค์ที่จะให้ประเทศไทยมีความเจริ ญเสมอนานารยประเทศ จอมพลแปลกในฐานะที่เป็ น นายกรัฐมนตรี จึงมีนโยบาย "เชื่อผูนาชาติพนภัย" โดยพยายามชูบทบาทของตนเองให้โดดเด่น ้ ้ กว่าพระมหากษัตริ ย ์ และ ไม่สนับสนุนให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ปฏิบติพระราชกรณี ยกิจต่าง ๆ และควบคุมการใช้จ่ายของพระมหากษัตริ ย[28] ั ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและจอมพลแปลกเองมีเรื่ อง กระทบกระทังกันบ่อยครั้ง โดยเฉพาะในโอกาสฉลองพุทธศตวรรษ พ.ศ. 2500[29][30] รัฐบาลได้ ่ กราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริ ยเ์ สด็จมาทรงเป็ นประธานซึ่ งก็ทรงตอบรับเป็ นที่เรี ยบร้อย แต่ ครั้นถึงวันงานทรงพระประชวรปัจจุบนทันด่วน ทาให้นายกรัฐมนตรี ตดสิ นใจเป็ นประธานเปิ ด ั ั พิธีเอง และในเดือนสิ งหาคมของปี ดังกล่าว จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผูบญชาการทหารบก ้ ั ออกมาโจมตีรัฐบาลของจอมพลแปลกว่าละเมิดพระราชอานาจของพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่ งข่าวการระหองระแหงกันระหว่างพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูหวและงรัฐบาลดังกล่าว ทาให้สาธารณะเริ่ มไม่ไว้วางใจรัฐบาลมากขึ้น[28] [31] ่ ั เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2500 จอมพลแปลกได้ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส เฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อขอให้ทรงสนับสนุนรัฐบาล[32] พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชทรงเตือนจอมพลแปลกว่าขอให้ลาออกจากตาแหน่งเสี ยเพื่อมิให้เกิดรัฐประหาร แต่จอมพลแปลกปฏิเสธ[33] เย็นวันดังกล่าว จอมพลสฤษฎดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอานาจการปกครองจาก
  • 16. รัฐบาลทันที และสองชัวโมงหลังจากการประกาศยึดอานาจ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ่ ภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ใช้กฎอัยการศึกทัวราชอาณาจักร[34] และ ่ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้จอมพลสฤษดิ์เป็ นผูรักษาพระนครฝ่ ายทหาร ้ โดยไม่มีผรับสนองพระบรมราชโองการ พระบรมราชโองการฉบับหลังมีความว่า[35] ู้ “ เนื่องด้ วยปรากฏว่ า รั ฐบาลอันมีจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็ นนายกรั ฐมนตรี ได้ บริ หาร ราชการแผ่ นดินไม่เป็ นที่ไว้ วางใจของประชาชน ทั้งไม่สามารถรั กษาความสงบ เรี ยบร้ อยของบ้ านเมืองได้ คณะทหารซึ่ งมีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ชต์ เป็ นหั วหน้ า ได้ เข้ า ยึดอานาจการปกครองไว้ ได้ และทาหน้ าที่เป็ นผู้รักษาพระนครฝ่ ายทหาร ข้ าพเจ้ าจึ งขอ แต่ งตั้งจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ชต์ เป็ นผู้รักษาพระนครฝ่ ายทหาร ขอให้ ประชาชนทั้งหลาย จงอยู่ในความสงบ และให้ ข้าราชการทุกฝ่ ายฟั งคาสั่ งจอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ชต์ ตั้งแต่ บัดนีเ้ ป็ นต้ นไป ประกาศ ณ วันที่ 16 กันยายน พุทธศักราช 2500 ” สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เมื่อรัฐบาลทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เถลิงอานาจแล้ว รัฐบาลได้ฟ้ื นฟูพระราช อานาจพระมหากษัตริ ย์ โดยอนุญาตให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ เสด็จออกประชาชนเป็ นอันมาก ให้ทรงเสด็จประภาสในถิ่นทุรกันดาร และตั้งงบประมาณ สนับสนุนโครงการพัฒนาที่พระองค์มีพระราชดาริ ริเริ่ มด้วย โดยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ประกาศให้นาประเพณี หมอบกราบเข้าเฝ้ า ซึ่ งเลิกไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาจุฬาลงกรณ์ กลับมาใช้ใหม่ กับทั้งประกาศให้สถาปนาพุทธศาสนาธรรมยุติกนิกายขึ้นซ้ า ด้วย นอกจากนี้ นับตั้งแต่การปฏิวติสยาม 2475 สื บมา ประเพณี การเสด็จพระราชดาเนินโดย ั กระบวนพยุหยาตราชลมารคก็ได้จดขึ้นเป็ นครั้งแรกเพื่อถวายผ้าพระกฐิน[36] [37] ั พิธีกรรมหลายหลากในสมัยคลาสสิ กของราชวงศ์จกรี เช่น พิธีกรรมพืชมงคล ก็มี ั ประกาศให้ฟ้ื นฟู[38] วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม) ก็ได้รับการประกาศให้เป็ นวันชาติไทย แทนที่วนที่ 24 มิถุนายน อันตรงกับวันที่ ั คณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ นผลสาเร็ จด้วย[39]
  • 17. เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 8 ธันวาคม 2506 สานักพระราชวัง ก็มีประกาศให้จดการไว้ทุกข์ในพระราชวังเป็ นเวลายี่สิบเอ็ดวัน และศพจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ั ได้รับพระราชทานฉัตรห้าชั้น ซึ่ งปรกติเป็ นเครื่ องยศของพระบรมวงศานุวงศ์ช้นสมเด็จเจ้าฟ้ า ั กางกั้นตลอดระยะเวลาไว้ศพ ทั้งนี้ พระยาศรี วิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล) องคมนตรี ได้กล่าว ต่อมาว่า ไม่เคยมีนายกรัฐมนตรี คนใดที่มีความใกล้ชิดกับพระมหากษัตริ ยเ์ ท่ากับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ มาก่อนเลย[40] สมัยจอมพลถนอม กิตติขจร หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2506 จอมพลถนอม กิตติขจร ก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็ นนายกรัฐมนตรี คนถัดมา และจอมพลถนอม กิตติขจร ก็สืบ นโยบายราชานิยมของจอมพลสฤษดิ์ต่อมาอีกกว่าทศวรรษ โดยในช่วงปี 2510-2520 นั้น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีบทบาทโดดเด่นในคณะลูกเสื อชาวบ้าน และกองกาลังติดอาวุธกระทิงแดง เป็ นอันมาก ซึ่ งเดือนตุลาคม 2516 ในการประท้วงเพื่อ เรี ยกร้องประชาธิปไตยจากรัฐบาล และมีผตายเป็ นจานวนมหาศาลอันเนื่องมาจากการ ู้ ปราบปรามของรัฐบาลนั้น พระองค์ได้มีพระบรมราชานุญาตให้เปิ ดพระทวารพระตาหนัก จิตรลดารโหฐานรับผูชุมนุมที่หนีตายเข้ามา และพระราชทานพระราชโอกาสให้เหล่าผูชุมนุมเฝ้ า ้ ้ ต่อมา ก็ทรงตั้ง สัญญา ธรรมศักดิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็ นนายกรัฐมนตรี แทน จอมพลถนอม กิตติขจร ผูล้ ีภยไปสหรัฐอเมริ กาและสิ งคโปร์ ตามลาดับ ครั้งนั้น สัญญา ธรรม ้ ั ศักดิ์ จัดตั้งรัฐบาลพลเรื อนสาเร็ จเป็ นครั้งแรก ทว่า ไม่ชาไม่นานต่อมาใน พ.ศ. 2519 จอมพล ้ ถนอม กิตติขจร ก็เล็ดรอดเข้าประเทศโดยบวชเป็ นภิกษุทวดบวรนิเวศวิหาร ก่อให้เกิดการ ี่ ั ประท้วงเป็ นวงกว้าง และนาไปสูเ่ หตุการณ์ 6 ตุลา ซึ่ งกองกาลังติดอาวุธของกลุ่มนิยมเจ้าได้ สังหารผูประท้วงล้มตายที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ้ สมัยพลเอกเปรม ติณสู ลานนท์ ในความโกลาหลครั้งนั้น ฝ่ ายทหารก็เข้ายึดอานาจอีกครั้ง และเสนอนามบุคคลสามคน ให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเลือกเพื่อแต่งตั้งเป็ นนายกรัฐมนตรี คน ใหม่ ประกอบด้วย ประกอบ หุตะสิ งห์ ประธานศาลฎีกา, ธรรมนูญ เทียนเงิน ผูว่าราชการ ้ กรุ งเทพมหานคร และ ธานินทร์ กรัยวิเชียร ผูพิพากษาศาลฎีกา[41] ด้วยความที่ธานินทร์ กรัย ้
  • 18. วิเชียร มีเกียรติคุณดีที่สุด จึงได้รับการโปรดให้เป็ นนายกรัฐมนตรี ทว่า เมื่อพระองค์พบว่า ธานินทร์ กรัยวิเชียร มีแนวคิดขวาจัด และให้เหล่านักศึกษาหนีเข้าป่ าไปรวมกลุ่มกับพวก คอมมิวนิสต์ได้ รัฐบาลของธานินทร์ กรัยวิเชียร ก็ถูกรัฐประหารนาโดย พลเอกเกรี ยงศักดิ์ ชมะนันท์ ใน พ.ศ. 2523 และคณะรัฐประหารก็ต้งพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี ั คนใหม่ ขณะนั้น กองกาลังที่นิยมรัฐบาลได้เข้ายึดกรุ งเทพมหานคร ทว่า พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงปฏิเสธไม่รับรอง การก่อการครั้งนี้จึงกลายเป็ นกบฏที่รู้จกใน ั ชื่อ "กบฏเมษาฮาวาย" และนาไปสู่ "กบฏทหารนอกราชการ" ในเวลาต่อมา[42][43] [44] สมัยพลเอกสุ จนดา คราประยูร ิ ดูบทความหลักที่ พฤษภาทมิฬ ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว โปรดเกล้า ฯ ให้ พล.อ.สุจินดา และ พล.ต.จาลอง เข้าเฝ้ า ใน พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีบทบาทเป็ น สาคัญในการเปลี่ยนผันระบอบทหารไปสู่ระบอบประชาธิปไตย โดยการรัฐประหารของคณะ ทหารเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ได้นาประเทศไทยกลับไปสู่ระบอบเผด็จการทหารอีกครั้ง ซึ่ งภายหลังจากที่ รสช. ได้จดให้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ั พุทธศักราช 2535 และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเป็ นการทัวไปแล้ว พรรคการเมืองที่ ้ ่ มีจานวนผูแทนราษฎรมากที่สุดคือพรรคสามัคคีธรรม จานวนเจ็ดสิ บเก้าคน ได้เป็ นแกนนาจัดตั้ง ้ รัฐบาล และมีการเตรี ยมเสนอนายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมในฐานะหัวหน้า พรรคที่มีผแทนราษฎรมากที่สุดขึ้นเป็ นนายกรัฐมนตรี แต่ปรากฏว่านางมาร์ กาเร็ ต แท็ตไวเลอร์ ู้ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริ กา ได้แถลงว่า นายณรงค์เป็ นผูหนึ่งที่ไม่ ้ สามารถขอหนังสื อเดินทางเข้าสหรัฐฯ ได้ เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด[45] พลเอก
  • 19. สุจินดา คราประยูร หัวหน้าคณะรัฐประหาร ซึ่ งเคยตกปากว่าจะไม่รับตาแหน่งใด ๆ ภายหลัง จากเลือกตั้งอีกเพื่อตัดข้อครหาบทบาทของทหารในรัฐบาลพลเรื อน กลับยอมรับตาแหน่ง นายกรัฐมนตรี และสร้างความไม่พอใจท่ามกลางประชาชนเป็ นอันมาก นาไปสู่การเคลื่อนไหว คัดค้านต่าง ๆ ของประชาชน โดยมีร้อยตรี ฉลาด วรฉัตร และพลตรี จาลอง ศรี เมือง หัวหน้า พรรคพลังธรรม เป็ นแกนนา ซึ่ งรัฐบาลของพลเอกสุจินดาได้สงให้ปราบปรามผูชุมนุมประท้วง ั่ ้ โดดเฉี ยบขาด กลายเป็ นเหตุการณ์นองเลือดในที่สุด และมีผคนล้มลายหลายหลากเมื่อฝ่ ายทหาร ู้ เปิ ดการโจมตีผชุมนุม เหตุการณ์ดิ่งสู่ความรุ นแรงเรื่ อย ๆ เมื่อกาลังทหารและตารวจเข้าควบคุม ู้ กรุ งเทพมหานครเต็มที่[45] และท่ามกลางสงครามกลางเมืองครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเข้าแทรกแซง โดยมีพระบรมราชโองการเรี ยกพลเอกสุจินดา ครา ประยูร และหัวหน้ากลุ่มผูประท้วงเพื่อเรี ยกร้องประชาธิปไตย ให้เฝ้ า และพระราชทานพระบรม ้ ราชานุญาตให้ถ่ายทอดการนี้ออกอากาศสดได้ ในภาพทางโทรทัศน์ พระองค์ทรงขอให้คู่กรณี ยุติความรุ นแรงและนาพาชาติบานเมืองไปสู่สนติ ณ จุดสูงสุดของวิกฤติการณ์ ปรากฏภาพพล ้ ั เอกสุจินดา คราประยูร และหัวหน้าผูประท้วง เฝ้ าทูลละอองพระบาทโดยหมอบกราบ และที่สุด ้ ก็นาไปสู่การลาออกของพลเอกสุจินดา คราประยูร และการเลือกตั้งทัวไป[46] ่ สมัยรัฐประหาร พ.ศ. 2549 ดูบทความหลักที่ รั ฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 และ คณะมนตรี ความมันคง ่ แห่ งชาติ ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระ กรุ ณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานสภาองคมนตรี และ รัฐบุรุษ พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน พลเรื อเอกสถิรพันธุ์ เกยานนท์ และพลอากาศเอกชลิต พุก ผาสุข เข้าเฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายรายงานสถานการณ์ การปฏิรูปการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข เมื่อเวลา 00.19 น. วันพุธที่ 20 กันยายน ณ ์ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต[47] พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ได้นาความกราบบังคมทูลพระกรุ ณา ทราบฝ่ าละอองธุลีพระ ์ บาท ว่า การบริ หารราชการแผ่นดินของรัฐบาล อันมี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็ นนายกรัฐมนตรี
  • 20. ก่อให้เกิดปัญหา ความขัดแย้งแบ่งฝ่ าย สลายความรู้สึกรู้รักสามัคคีของคนในชาติ อย่างที่ไม่เคย ปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ ชาติไทย ประชาชนส่วนหนึ่งเคลือบแคลงสงสัยว่า การบริ หาร ราชการแผ่นดิน ส่อไปในทางทุจริ ตประพฤติมิชอบอย่างกว้างขวาง หน่วยงานอิสระ ถูก การเมืองครอบงา ทาให้การดาเนินกิจกรรมทางการเมือง เกิดปัญหาและอุปสรรคหลายประการ แม้หลายภาคส่วนของสังคมจะได้พยายามประนีประนอม คลี่คลายสถานการณ์มาโดยต่อเนื่อง แล้ว ก็ไม่สามารถรักษาความสงบเรี ยบร้อยของบ้านเมืองได้[48] เดิม คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ น ์ ประมุข ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Council for Democratic Reform under Constitutional Monarchy (อักษรย่อ CDRM) ต่อมาได้ตดคาว่า under Constitutional Monarchy ออก เพื่อ ั ไม่ให้สื่อต่างประเทศนาไปตีความว่า คณะปฏิรูปฯ เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ เป็ น Council for Democratic Reform (อักษรย่อ CDR) โดยยังคงใช้ชื่อภาษาไทยตามเดิม[49] นอกจากนี้ ในวันที่ 22 กันยายน โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย โดยสถานี วิทยุโทรทัศน์กองทัพบก แพร่ ภาพพิธีรับพระบรมราชโองการ แต่งตั้งหัวหน้าคณะปฏิรูปการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข แก่พลเอกสนธิ ซึ่ งมี ์ ข้อสังเกตว่าประกาศฉบับดังกล่าว มีพลเอกสนธิเอง ในฐานะผูบญชาการทหารบก เป็ นผูลงนาม ้ ั ้ รับสนองพระบรมราชโองการ และลงวันที่ 20 กันยายน ขณะที่พิธีรับพระบรมราชโองการนั้น จัดให้มีข้ ึนต่อมาในภายหลัง[50] ่ ั หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรด กระหม่อม ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชัวคราว พ.ศ. 2549 ในวันที่ 1 ่ ตุลาคม ปี เดียวกัน คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรง์ เป็ นประมุข แปรสภาพเป็ น คณะมนตรีความมั่นคงแห่ งชาติ โดย หัวหน้า คปค. ดารงตาแหน่ง ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่ งชาติ มีอานาจหน้าที่ เป็ นผูรับสนองพระบรมราชโองการ ้ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ประธานสภานิติบญญัติ ประธานสภาร่ างรัฐธรรมนูญ สมาชิกสมัชชา ั แห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่ างรัฐธรรมนูญ หลังจากนั้น จึงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี [48] พระราชทรัพย์
  • 21. ่ ั ่ พระราชทรัพย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ส่วนใหญ่อยูในรู ปของที่ดินและหุ้น โดยแบ่งออกได้เป็ นส่วน ๆ ได้โดยสังเขป คือทรัพย์สินส่วนพระองค์ พระคลังข้างที่ และ ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ย ์ ซึ่ งพระองค์อุทิศพระราชทรัพย์ส่วนหนึ่งเพื่อโครงการ พระราชดาริ จานวนกว่า 3,000 โครงการ มูลนิธิในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อพัฒนาภายในประเทศ ในด้านกสิ กรรม เกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม สุขภาพอนามัย การส่งเสริ ม อาชีพ สาธารณูปโภค และการศึกษา โครงการต่างๆมีรายละเอียดใช้เป็ นแหล่งอ้างอิงไปได้ทวั่ โลก[51] และพบได้ในสื่ อวิทยุและโทรทัศน์ของประเทศไทย[26] ทรัพย์ สินส่ วนพระมหากษัตริย์ ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ยถือเป็ นทรัพย์สินของแผ่นดิน ไม่ใช่ทรัพย์สินของส่วน ์ พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว[52] และได้รับการยกเว้นไม่ตองเสี ยภาษีอย่างถูกต้อง ่ ั ้ ตามกฎหมาย[53] ซึ่ งทรัพย์สินดังกล่าวจะถูกบริ หารงานในรู ปแบบองค์กรนิติบุคคลภายใต้ช่ือ สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ย ์ ทรัพย์สินส่วนใหญ่ ได้แก่ ที่ดินและหุ้น โดยปัจจุบนมี ั ผูเ้ ช่าที่ดินทัวประเทศมากกว่า 3 หมื่นสัญญา[53] โดยแปลงสาคัญ ๆ ประกอบด้วย ที่ดินโรงแรม ่ โฟร์ ซีซน ที่ดินสยามพารากอน ที่ดินเซ็นทรัลเวิลด์พลาซ่า ที่ดินองค์การสะพานปลา และที่ดิน ั่ ริ มถนนพระรามที่ 4 ฝั่งเหนือ จากสวนลุมไนท์บาร์ ซาร์ ยาวจรดศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิต์ ิ [ต้ องการอ้ างอิง] ทั้งนี้บริ ษทซี บีริชาร์ ดเอลลิส บริ ษทโบรกเกอร์ ดานอสังหาริ มทรัพย์รายใหญ่ของโลก ั ั ้ ได้เคยประมาณการตัวเลขพื้นที่ที่อยูในการดูแลของสานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ยอยู่ ่ ์ ที่ 32,500 ไร่ โดยในบางพื้นที่มีมูลค่าสูงกว่า 380 ล้านบาทต่อไร่ [54] ทั้งนี้ สานักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริ ยยงได้ลงทุนในหุ้นของบริ ษทต่าง ๆ อีกด้วย โดยถ้านับรวมทั้งหมด หุ้นที่ ์ั ั ่ ั สานักงานทรัพย์สินฯ มีอยูท้งหมดคิดเป็ น 7.5% ของมูลค่าตลาดรวมของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย[54] ทาให้พระองค์ทรงได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์ บ ให้เป็ นหนึ่งในกษัตริ ย์ ที่ร่ ารวยที่สุดในโลก[55] แต่สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ยได้ช้ ีแจงถึงบทความดังกล่าว ์ ว่า "มีความคลาดเคลื่อนจากข้ อเท็จจริ ง เนื่องจากในความเป็ นจริ ง ทรั พย์ สินที่นับมาประเมินนั้น เป็ นทรั พย์ สินของแผ่ นดิน มิใช่ ทรั พย์ สินส่ วนพระองค์ "[52] ทรัพย์ สินส่ วนพระองค์
  • 22. ่ ั ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ยังทรงมีการลงทุนส่วนพระองค์เอง โดยไม่ผานสานักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริ ย ์ โดยการเป็ นผูถือหุนใน บริ ษท สัมมากร จากัด (มหาชน) ้ ้ ั 43.87%[56] บริ ษท ไทยประกันภัย จากัด (มหาชน) 18.56%[57] และบริ ษท ไมเนอร์ อินเตอร์ เนชัน ั ั ่ แนล จากัด (มหาชน) 2.04% [58] เป็ นต้น ทรัพย์สินส่วนพระองค์น้ ียงหมายรวมถึง เงินทูลเกล้าถวายฯ ตามพระราชอัธยาศัยต่าง ๆ ั ซึ่ งทรัพย์สินส่วนพระองค์น้ นไม่ได้รับการยกเว้นเรื่ องภาษี และต้องเสี ยภาษีอากรตามปกติ[53] ั มูลนิธิอานันทมหิ ดล อ้างว่า พระองค์ได้พระราชทานทรัพย์สินส่วนพระองค์จานวนมาก แก่ โครงการพระราชดาริ มูลนิธิในพระบรมราชูปถัมภ์ ตลอดจนการกุสล และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์[59] การถือหุ้น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็ นผูถือหุ้นบริ ษทเอกชนหลาย ้ ั แห่ง ข้อมูลเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 มีดงต่อไปนี้ ั 1. ใน บริ ษทสัมมากร จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 197,414,850 หุ้น คิดเป็ นร้อยละ ั 43.870[60] 2. ใน บริ ษทไมเนอร์ อินเตอร์ เนชันแนล จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 72,470,861 ั ่ หุ้น คิดเป็ นร้อยละ 2.22[61] 3. ใน บริ ษทปูนซิ เมนต์ไทย จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 360,000,000 หุ้น คิดเป็ น ั ร้อยละ 30.00[62] 4. ใน บริ ษทไทยประกันภัย จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 3,526,567 หุ้น คิดเป็ นร้อย ั ละ 30.00[63] 5. ใน บริ ษทธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 722,941,958 หุ้น คิด ั เป็ นร้อยละ 21.31[64] 6. ใน บริ ษทซิ งเกอร์ ประเทศไทย จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 1,383,770 หุ้น คิดเป็ น ั ร้อยละ 0.51[65]
  • 23. 7. ใน บริ ษทเทเวศประกันภัย จากัด (มหาชน) ทรงถือหุ้นจานวน 27,600 หุ้น คิดเป็ นร้อยละ ั 0.23[66] พระราชบุตร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถมีพระราชโอรสและพระราชธิดาด้วยกันสี่ พระองค์ตามลาดับดังต่อไปนี้ 1. ทูลกระหม่ อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม: สมเด็จพระ ั เจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าอุบลรัตนราชกัญญา สิ ริวฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน พ.ศ. 2494, ั สถานพยาบาลมงต์ชวซี เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ั พระองค์น้ ีได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์เพื่อทรงสมรสกับนายปี เตอร์ ั เจนเซ่น ชาวอเมริ กน โดยมีพระโอรสหนึ่งองค์และพระธิดาสององค์ ทั้งนี้ คาว่า "ทูลกระหม่อมหญิง" เป็ นคาเรี ยกพระราชวงศ์ที่มีพระชนนีเป็ นสมเด็จพระบรมราชินี 2. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร (พระนามเดิม: ้ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ าวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธารงสุ บริ บาล อภิคุณูประการมหิ ตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศวรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร; ประสูติ: 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495, พระที่นงอัมพรสถาน) ทรง ั่ อภิเษกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดดามาตุ นางสุ ั จาริ ณี วิวชรวงศ์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรี รัศมิ์ ตามลาดับ โดยมีพระโอรส ั หนึ่งพระองค์และสี่ องค์ กับพระธิดาสองพระองค์ 3. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา เจ้าฟามหาจักรีสิรินธร รัฐสี มาคุณากรปิ ยชาติ สยามบรม ้ ราชกุมารี (พระนามเดิม: สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าสิ รินธรเทพรัตนสุดา กิติวฒนาดุล ั โสภาคย์; ประสูติ: 2 เมษายน พ.ศ. 2498, พระที่นงอัมพรสถาน) ั่ 4. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (ประสูติ: 4 กรกฎาคม ้ พ.ศ. 2500, พระที่นงอัมพรสถาน) ทรงอภิเษกสมรสกับนาวาอากาศเอก วีระยุทธ ดิษยะศ ั่ ริ น โดยมีพระธิดาสองพระองค์ พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ์ และผลงานอื่น
  • 24. ดูบทความหลักที่ พระราชกรณี ยกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดช ด้ านศิลปวัฒนธรรมและวรรณคดี ดูเพิ่มที่ พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในฐานะที่พระองค์ทรงเป็ นพระมหากษัตริ ยที่มีพระปรี ชาสามารถในศิลปะแขนงต่าง ๆ ์ หลายแขนง จึงทรงได้รับการยกย่องให้เป็ นองค์อครศิลปิ นแห่งชาติและบิดาแห่งการดนตรี[67] ั พระองค์ยงทรงสนพระราชหฤทัยในการฝึ กเขียนภาพ และมีพระปรี ชาสามารถในเรื่ องการ ั ถ่ายภาพ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนทรงมีพระปรี ชาสามารถปั้นพระพุทธรู ปพระ สมเด็จจิตรลดาด้วยพระองค์เอง ่ ั งานทางด้านวรรณศิลป์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงเชี่ยวชาญในภาษาหลากหลาย ภาษา ทรงพระราชนิพนธ์บทความ แปลหนังสื อ เช่น นายอินทร์ ผปิดทองหลังพระ ติโต พระ ู้ มหาชนก และพระมหาชนก ฉบับการ์ ตูน เรื่ อง ทองแดง เป็ นพระราชนิพนธ์เกี่ยวกับคุณทองแดง สุนขทรงเลี้ยง เป็ นต้น[68] ั ด้ านการพัฒนาชนบท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวเสด็จฯ ไปทุกหนแห่งไม่ว่าดินแดนแห่งนั้นจะทุรกันดาร ่ ั เพียงใด ไม่ว่าใกล้ไกลแค่ไหน พระองค์จดทาโครงการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดาริ ควบคู่ ั ไปในทุกๆ ด้าน ไม่เน้นด้านใดด้านหนึ่ง พระองค์มีจุดประสงค์เดียวคือ เพื่อขจัดความทุกข์ยาก ่ ของชาวชนบท และสนับสนุนส่งเสริ มให้มีความเป็ นอยูที่ดีข้ ึน รวมทั้งแก้ปัญหาสังคมเมืองให้ดี ขึ้น โดยจะเห็นได้จากโครงการในพระราชดาริ หลายโครงการที่เกิดขึ้นจากความรับผิดชอบของ หน่วยงานต่างๆ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จะเป็ นโครงการเกี่ยวกับปรับปรุ งถนนหนทาง การ ก่อสร้างถนนเพื่อการ สัญจรไปมาได้สะดวกและทัวถึง การคมนาคมเป็ นปัจจัยพื้นฐานที่ สาคัญ ่ ของการนาความเจริ ญไปสู่ชนบท การสื่ อสาร ติดต่อที่ดียงผล สาคัญทาให้เศรษฐกิจของราษฎร ั ่ ในพื้นที่ดีข้ ึน ราษฎรก็มีความเป็ นอยูที่ดีข้ ึน ในการพัฒนาชนบทนั้น การคมนาคม เป็ น
  • 25. ปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญที่จะมองข้ามไปเสี ยมิได้ เพราะเป็ นเสมือนประตูเชื่อม ระหว่างในเมือง และชนบท ดังนั้น การที่จะเริ่ มโครงการพัฒนาใดๆ นั้นจะต้องเริ่ มจากการปรับปรุ ง และการ ก่อสร้างถนนหนทางเป็ นการเปิ ดประตูนาความเจริ ญเข้าไปสู่พ้ืนที่ ด้ านการเกษตรและชลประทาน เขื่อนภูมิพล ในด้านการเกษตร จะทรงเน้นในเรื่ องของการค้นคว้า ทดลอง และวิจยหาพันธุ์พืชใหม่ๆ ั ทั้งพืชเศรษฐกิจ พืชสมุนไพร รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรู พืช และพันธุ์สตว์ต่างๆ ที่ ั เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่ งแต่ละโครงการจะเน้นให้สามารถนาไปปฏิบติได้จริ ง มีราคา ั ถูก ใช้เทคโนโลยีง่าย ไม่สลับซับซ้อน เกษตรกรสามารถดาเนินการเองได้ นอกจากนี้ ยังทรง พยายามไม่ให้เกษตรกรยึดติดกับพืชผลทางการเกษตรเพียงอย่างเดียว เพราะอาจเกิดปัญหาอัน เนื่องมาจากความแปรปรวนของสภาพดินฟ้ าอากาศ หรื อความแปรปรวนทางการตลาด แต่ เกษตรกรควรจะมีรายได้จากด้านอื่นนอกเหนือไปจากการเกษตรเพิ่มขึ้นด้วย เพื่อจะได้พ่ ึงตนเอง ได้ในระดับหนึ่ง การพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการเพาะปลูกหรื อการชลประทาน นับว่าเป็ นงานที่มีความสาคัญ และมีประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ เพราะเกษตรกรจะสามารถทา การเพาะปลูกได้อย่างสมบูรณ์ตลอดปี เนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกในปัจจุบนส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่ ั นอกเขตชลประทาน ซึ่ งต้องอาศัยเพียงน้ าฝนและน้ าจากแหล่งน้ าธรรมชาติเป็ นหลัก ทาให้พืช ่ ั ได้รับน้ าไม่สม่าเสมอ และไม่เพียงพอ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงให้ความสนพระราช หฤทัยเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน้ ามากกว่าโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ประเภท อื่น ด้ านการแพทย์ ่ ั ั โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชทานให้กบประชาชนในระยะแรกๆ ล้วนแต่เป็ นโครงการด้านสาธารณสุข เพราะพระองค์ทรงเห็นว่า หากประชาชนมีร่างกายที่ สมบูรณ์ แข็งแรง จะนาไปสู่สุขภาพจิตที่ดี และส่งผลให้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดีไปด้วย