SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ชื่อ

รายงานการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ว.30243 ชีววิทยา 2
เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
ชื่อผู้รายงานวิจัย
นางสาวสุลีมาศ อยู่มา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ปีการศึกษา
2555

บทคัดย่อ
การเปรียบเทียบผลหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนดงขุย
วิทยาคม อาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบประสาทและ
อวัยวะรับความรู้สึก โดยมีวัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว.30243
ชีววิทยา 2 เรื่องระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
ดงขุยวิทยาคม อาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตราฐาน 80/80
2. เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ว.30243
ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
ดงขุยวิทยาคม อาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ มีนัยสาคัญ .01
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนดงขุยวิทยาคม อาเภอชน
แดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่มีต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว.30243
ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนดงขุยวิทยาคม อาเภอชนแดน จังหวัด
เพชรบูรณ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวนนักเรียน 40 คน โดยการสุ่มแบบจับฉลากทาการสอน
โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกจานวน 6 ชุด คือ ชุดที่ 1 เรื่อง
การตอบสนองของมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด ชุดที่ 2 เรื่อง เซลล์ประสาท ชุดที่ 3 เรื่อง โครงสร้าง
ของระบบประสาท ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 4 เรื่อง การทางานของระบบประสาท ชุดที่ 5 เรื่อง อวัยวะ
รับความรู้สึก:นัยน์ตา(Lens) ชุดที่ 6 เรื่อง อวัยวะรับความรู้สึก : หู จมูก ลิ้นและผิวหนัง แผนการจัดการ
เรียนรู้ 8 แผนใช้การสอนระยะเวลา 20 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนข้อสอบย่อย 6 ชุดกิจกรรม ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก แต่ละชุดมีความเชื่อมั่น
(rcc) 0.93 ,0.90 0.92, 0.90, 0.90 และ 0.91 ตามลาดับและข้อสอบก่อนเรียน-หลังเรียนการใช้ชุด
กิจกรรมการเรียนรู้จานวน 50 ข้อ ค่าความยากระหว่าง 0.40–0.65 ค่าอานาจจาแนก 0.20 ค่าความ
เชื่อมั่น 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าความเชื่อมั่นและ
เปรียบเทียบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ t-test ตามกลุ่มสัมพันธ์พบว่า
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์ ว.30243 ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาท
้
และอวัยวะรับความรู้สึก สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 6 ชุด
กิจกรรม ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
2. ผลทางการเรียนของนักเรียนหลังใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว.
30243 ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกสูงกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ มี
นัยสาคัญ .01
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ว.30243 ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกอยู่ในระดับ มากที่สุด

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนBioStudent Faculty
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 
งานนำเสนอYim
งานนำเสนอYimงานนำเสนอYim
งานนำเสนอYimAusanee
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษาkrusupkij
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัยงานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัยpornwalaipuli
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 
วิพากษ์วิจารณ์
 วิพากษ์วิจารณ์ วิพากษ์วิจารณ์
วิพากษ์วิจารณ์home
 

What's hot (16)

แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
 
Pichetpong
PichetpongPichetpong
Pichetpong
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 
งานนำเสนอYim
งานนำเสนอYimงานนำเสนอYim
งานนำเสนอYim
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 
931 pre2
931 pre2931 pre2
931 pre2
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัยงานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
วิพากษ์วิจารณ์
 วิพากษ์วิจารณ์ วิพากษ์วิจารณ์
วิพากษ์วิจารณ์
 

Similar to บทคัดย่อ

มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้pornpimonnuy
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 

Similar to บทคัดย่อ (20)

มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 

บทคัดย่อ

  • 1. ชื่อ รายงานการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ว.30243 ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ชื่อผู้รายงานวิจัย นางสาวสุลีมาศ อยู่มา กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2555 บทคัดย่อ การเปรียบเทียบผลหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนดงขุย วิทยาคม อาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบประสาทและ อวัยวะรับความรู้สึก โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว.30243 ชีววิทยา 2 เรื่องระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน ดงขุยวิทยาคม อาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตราฐาน 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ว.30243 ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน ดงขุยวิทยาคม อาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ มีนัยสาคัญ .01 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนดงขุยวิทยาคม อาเภอชน แดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่มีต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว.30243 ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนดงขุยวิทยาคม อาเภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวนนักเรียน 40 คน โดยการสุ่มแบบจับฉลากทาการสอน โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกจานวน 6 ชุด คือ ชุดที่ 1 เรื่อง การตอบสนองของมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด ชุดที่ 2 เรื่อง เซลล์ประสาท ชุดที่ 3 เรื่อง โครงสร้าง ของระบบประสาท ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 4 เรื่อง การทางานของระบบประสาท ชุดที่ 5 เรื่อง อวัยวะ รับความรู้สึก:นัยน์ตา(Lens) ชุดที่ 6 เรื่อง อวัยวะรับความรู้สึก : หู จมูก ลิ้นและผิวหนัง แผนการจัดการ เรียนรู้ 8 แผนใช้การสอนระยะเวลา 20 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนข้อสอบย่อย 6 ชุดกิจกรรม ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก แต่ละชุดมีความเชื่อมั่น (rcc) 0.93 ,0.90 0.92, 0.90, 0.90 และ 0.91 ตามลาดับและข้อสอบก่อนเรียน-หลังเรียนการใช้ชุด กิจกรรมการเรียนรู้จานวน 50 ข้อ ค่าความยากระหว่าง 0.40–0.65 ค่าอานาจจาแนก 0.20 ค่าความ เชื่อมั่น 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าความเชื่อมั่นและ เปรียบเทียบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ t-test ตามกลุ่มสัมพันธ์พบว่า
  • 2. 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์ ว.30243 ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาท ้ และอวัยวะรับความรู้สึก สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 6 ชุด กิจกรรม ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. ผลทางการเรียนของนักเรียนหลังใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว. 30243 ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกสูงกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ มี นัยสาคัญ .01 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว.30243 ชีววิทยา 2 เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกอยู่ในระดับ มากที่สุด