SlideShare a Scribd company logo
“การเตรียมความพร้ อมด้ านการศึกษา
กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑”
              นางศรีวการ์ เมฆธวัชชัยกุล (อดีตรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ)
                     ิ
              อนุกรรมาธิการพิจารณาและติดตามการเตรี ยมความพร้อมด้านการศึกษาสู่ ประชาคมอาเซียน วุฒิสภา
              อนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจ ด้านจัดการศึกษาสู่ ประชาคมอาเซียน
              ที่ปรึ กษาคณะกรรมการส่ งเสริ มสังคมแห่งการเรี ยนรู ้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)               ”

              ที่ปรึ กษาด้านยุทธศาสตร์เศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ



                                                                         โ
                                                       มือถือ 081-9851973

                                L/O/G/Osivikamek@yahoo.com
ประเด็นหลักในการบรรยาย
      1     การศึกษาในศตวรรษที่21
      2         ความรู้ เกียวกับอาเซียน
                           ่
      3           นโยบายและยุทธศาสตร์


      4     การเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน: ความท้ าทายของประเทศไทย



           AEC                                                  ASEAN



                                                                 AEC
        ASEAN


                                                                ASEAN


อาจารย์ ชัยวัฒน์ มีสันฐาน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
" Ready for ASEAN Community "




                                                 การแข่ งขัน
                       คู่เจรจา   ความเป็ นไทย
  ประชาคมโลก



Pradap Pibulsonggram, Amb,
              May 28, 2012
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
Learn




ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ปฏิญญาว่ าด้ วยการจัดการศึกษาของ UNESCO

Learning to know
Learning to do
Learning to live with the others
Learning to be
Benchmark ในการจัดการศึกษาปัจจุบัน
ที่มำ : 21st Century Skills partnership
วิชาแกนและแนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ 21
         core subjects& 21 st Century skills

 วิชาแกน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

 แนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ 21
 -จิตสานึกต่ อโลกGlobal Awareness
 -ความรู้ พนฐานด้ านการเงิน เศรษฐศาสตร์ การทาธุรกิจและ
           ื้                                            การเป็ นผู้ประกอบการ
     Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy
  -ความรู้ พนฐานความเป็ นพลเมือง Civic Literacy
               ื้
  -ความรู้ พนฐานด้ านสุ ขอนามัย Health Literacy
            ื้
ทีมา :
  ่      21st Century Skills partnership
ทักษะชีวตและการทางาน
        ิ
Life and career skills

 ความยืดหยุ่นและการปรับตัว Flexibility and Adaptability
 ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ และการชี้นาตนเอง Initiative and Self-
    Direction
 ทักษะทางสั งคมและการเรียนรู้ ข้ามวัฒนธรรมSocial and Cross-Cultural
    Skills
 การเพิมผลผลิตและความรู้ รับผิด Productivity and Accountability
        ่
 ความเป็ นผู้นาและความรับผิดชอบ Leadership and Responsibility
ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม
 ( learning and innovation skills )

ความคิดสร้ างสรรค์ และนวัตกรรม   Creativity and
  Innovation
ความคิดเชิงวิพากษ์ และการแก้ ไขปัญหาCritical Thinking
  and Problem Solving
การสื่ อสาร Communication
การร่ วมมือกันCollaboration
ทักษะด้ านสาระสนเทศ สื่ อ และเทคโนโลยี
Information, media and technology skills




 ความรู้ พนฐานด้ านสารสนเทศ Information Literacy
           ื้
 ความรู้ พนฐานด้ านสื่ อ Media Literacy
           ื้
 ความรู้ พนฐานด้ าน ไอซีที ICT (Information,
           ื้
  Communications and Technology)
  Literacy
 ที่มา :   21st Century Skills partnership
ระบบสนับสนุนการศึกษาของศตวรรษที21
                                  ่
   21st century support systems




 มาตรฐานและการประเมิน Standards & Assessments of
  21st Century Skills
 หลักสู ตรและการสอน 21st Century Curriculum and
  Instruction
 การพัฒนาวิชาชีพ 21st Century Professional
  Development
 สภาพแวดล้ อมการเรียนรู้ 21st Century Learning
  Environments
ี
   อาเซยน (ASEAN)

Association for South East Asian Nations
สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
ASIAN: ASEAN
   หลายคนยังสั บสนกับการออกเสี ยงภาษาอังกฤษ
                ASEAN และ ASIAN



          L/O/G/O
ี
     Asian :ประชากรในภูมภาคเอเชย
                        ิ
Southeast Asian: ประชากรในภูมภาค
                               ิ
                 ี
             เอเชยตะว ันออกเฉียงใต้

  ASEAN: Association of Southeast
Asian Nations: สมาคมประชาชาติแห่ง
                  ี
              เอเชยตะว ันออกเฉียงใต้
เลขาธิ การอาเซี ยนคนใหม่
   นำยเลอ เลือง มินห์
   อดีตรมช.กระทรวงต่างประเทศเวียตนาม


เข้ารับตาแหน่งในวันที่ 1 มกราคม
2556 เป็ นเวลาห้าปี (2556-2561)
ต่อจาก ดร.สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2015
                                                                                สมาชิ กผู้ก่อตั้ง 8 สิ งหาคมปี 2510
                                                ประชาคม                                                     • ไทย
ASEAN+6 +ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย
                                              ความมันคง
                                                     ่                                                • มาเลเซีย
                                             อาเซียน (ASC)                                          • อินโดนีเซีย
                                                                                                     • ฟิ ลิปปิ นส์
                                                                                                      • สิ งคโปร์
                                                                                                สมาชิกเพิมเติม
                                                                                                         ่
                                                                                + บรู ไน ดารุสซาลาม ปี 2527
                                                                                         + เวียดนาม ปี 2538
                                                                                              + ลาว ปี 2540
                                ประชาคม        ASEAN CHARTER                                 + พม่ า ปี 2540
                           สั งคม-วัฒนธรรม      กฎบัติอาเซียน      ประชาคม                 + กัมพูชา ปี 2542
                                 อาเซียน                           เศรษฐกิจ
                                (ASCC)                          อาเซียน (AEC)
                                               One Vision
                                              One Identity
                                             One Community
กฎบัตรอาเซียน

        ลงนามเมื่อ 20 พ.ย. 2550 เพื่อเป็ นธรรมนูญของอาเซียนและมีผล
       บังคับใช้ตงแต่ 15 ธ.ค. 2551
                 ั้



               - มีกฎกติกาในการทางาน
               - มีประสิทธิภาพมากขึ้น
               - มีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง
               - เป็ นการวางรากฐานสาหรับการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียนภายในปี
                 2558


ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
ความสาคัญของอาเซียน

  อาเซียนเป็ นวาระแห่งชาติ
  ก่อตังที่ประเทศไทย เลขาธิการอาเซียนปัจจุบนเป็ นคนไทย
        ้                                   ั
  ผลประโยชน์ และกิจกรรมสะท้อนผลประโยชน์ ของไทย
  สร้างประชาคมอาเซียนภายในปี 2558
  เสริ มสร้างบทบาทของไทย

ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
ความสาคัญของอาเซียนต่อไทย

         อาเซียนเป็ นตลาดส่ งออกอันดับ 1 ของไทยตังแต่ 2545 และเป็ นแหล่ ง
                                                            ้
          นาเข้ าอันดับที่ 2 ตังแต่ ปี 2540 จนถึงปั จจุบัน
                               ้
         ปั จจุบัน มีมูลค่ าการค้ าระหว่ างกัน คิดเป็ นร้ อยละ 24.3 ของมูลค่ าการค้ า
          ทังหมดของไทยและไทยได้ เปรี ยบดุลการค้ าถึง 1 หมื่นล้ านดอลลาร์
             ้
          สหรั ฐฯ
         สมาชิกอาเซียนเข้ ามาลงทุนในไทย ประมาณ 20% ของการลงทุนจาก
          ต่ างประเทศทังหมด
                         ้
         นักท่ องเที่ยว 4 ล้ านคน คิดเป็ นร้ อยละ 30% ของนักท่ องเที่ยวต่ างชาติ
          ทังหมด (มาเลเซียมาไทยมากที่สุด)
               ้

ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
แผนแม่ บทว่ าด้ วยความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
สิ่ งทีกาลังเกิดขึนจากการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี 2558
       ่          ้
เส้ นทางการคมนาคมอย่ างไร้ พรมแดน
เส้ นทางขนถ่ ายสิ นค้ า และการคมนาคม
   สะดวก รวดเร็ว ประหยัด




        ประเทศไทยตั้งอยุ่ศุนย์กลาง ของอาเซียน
ภาพรวมโอกาสประชาคมอาเซียน



                                                              โอกาสของประชาคมอาเซียน
  ประชาคมอาเซียน                                                                           เปรี ยบเทียบกับ...

  ประชากร 580 ล้ าน                                                                 >      สหภาพยุโรป
  GDP ขนาด 1.5 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรั ฐ                                              =      เกาหลีใต้
  การค้ าระหว่ างประเทศ 1.61 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรั ฐ                                =      6 เท่ าของไทย
  การลงทุนโดยตรง 50 พันล้ านเหรี ยญสหรั ฐ                                           =      60% ของจีน
  การท่ องเที่ยวระหว่ างประเทศ 65 ล้ านคน                                           =      อันดับ 2 ของโลก รองจากฝรั่ งเศส
           ที่มา บทวิเคราะห์ จากศูนย์ วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์


                      ASEAN 10 : 583 Millions of Pop. ( 9 % of the world's population)
                            GDP 1,275 Billions USD (2% of the world’s GDP)




ASEAN+3 : 2,068 Millions of Pop. (31 % of the                                      ASEAN+6 : 3,284 Millions of Pop. ( 50 % of the
  world's population) GDP 9,901 Billions USD                                                                 world's population)
                   (18% of the world’s GDP)                                     GDP 12,250 Billions USD (22% of the world’s GDP)
                                                                                                        38
การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝมืออย่างเสรี 8 สาขาอาชีพ
                       ี
                        อานวยความสะดวกในการเข้ ามาทางานและพักอาศัย
                         โดยยอมรับวุฒการศึกษาและประสบการณ์ ทางาน
                                     ิ


                                     แพทย์                  ทันตแพทย์
      ปั จจุบันลงนาม
  ข้ อตกลงยอมรับร่ วม
      ในสาขาวิชาชีพ
  (Mutual Recognition
       Arrangement;
  MRA) ใน 8 สาขาอาชีพ
                                     พยาบาล                 นักบัญชี
 ช่ างสารวจ


                                     วิศวกร                 สถาปนิก
  แรงงานไร้ ฝีมือต้ องยื่นขออนุญาต
      ตามที่กฎหมายกาหนด
8.การท่ องเทียวและการบริการ
             ่
32 ตาแหน่ งงานในสาขาการเดินทางและที่พก
                                     ั
ความสามารถในการแข่ งขันของประเทศในกลุ่มอาเซียน




    ทีมา: Institute of Policy Studies,
      ่
   National University of Singapore
ตารางเปรียบเทียบการพัฒนาและความสามารถการแข่ งขัน
      ประเทศ   อันดับการพัฒนา   เทียบในกลุ่ม            อันดับความ              เทียบในกลุ่มอาเซียน
                     คน           อาเซียน              สามารถแข่งขัน
สิงคโปร์            26               1                          4                           1
บรูไน               33               2                         na                          na
มาเลเซีย            61               3                         14                           2
ไทย                 103              4                         30                           3
อินโดนีเซีย         124              6                         42                           4
เวียตนาม            128              7                         na                          na
ฟิลปปินส์
   ิ                112              5                         43                           5
ลาว                 138              8                         na                          na
กัมพูชา             139              9                         na                          na
เมียนม่า            149             10                         na                          na
                                               ทีมา: อันดับการพัฒนาคน (UNDP, 2011) อันดับการแข่งขัน (IMD, 2011)
                                                 ่
้     ึ
    สถานการณ์ดานการศกษาและการเรียนรูในปัจจุบ ัน
                                    ้

   ภาพรวม                        คนไทยได้ รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ มากขึน
                                                                                 ้

                             จานวนปี การศึ กษาเฉลี่ ยเพิ่มขึ้ นจาก 8.7-9.0 (ปี 2550-2553)
                            ผู้เรียนนอกระบบโรงเรียนเพิ่มขึนจาก 5.3 – 5.6 ล้ านคน(ปี 2548-2553)
                                                               ้
                        การเข้ าถึงบริการแหล่ งเรียนรู้ มีความหลากหลาย และส่ งเสริมการอ่ านอย่ าง
                                                                                     เป็ นรูปธรรม

                                            คนไทยได้ รับการพัฒนาศักยภาพในทุกช่ วงวัย
                                     แต่ ยงคงมีปัญหาด้ านคุณภาพการศึกษา สติปัญญาของเด็ก
                                          ั
กาลังคนในวัย
       เรียน                  คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักตากว่าร้อยละ 50
                                                                     ่
                              ปั ญหามาตรฐานความสามารถผูเ้ รียนด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจารณญาณ
 ปัญหาคุณภาพผู้เรียน         ความคิดสร้ างสรรค์พฒนาการด้ านอารมณ์ และสังคม
                                                ั
                              สมรรถนะผูสาเร็ จการศึ กษาระดับอาชี วศึ กษาและอุดมศึ กษาไม่สอดคล้องกับ
                                           ้
                             การเปลียนแปลงในยุคโลกาภิวตน์
                                    ่                 ั

                                                                                              46
ปัญหาคุณภาพการศึกษา
 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึ กษา พบว่ า มีสถานศึกษาได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ ในสั ดส่ วนค่ อนข้ างต่า
 ที่ไม่ ผ่านการประเมินในระดับการศึ กษาขั้นพืนฐาน ส่ วนใหญ่ เป็ นโรงเรี ยนขนาดเล็ก ส่ วนระดับอาชี วศึ กษาและ
                                            ้
 อุดมศึกษา มีความขาดแคลนครู ท้ังในเชิงคุณภาพและคุณวุฒิ
 • จานวนผู้เรียนระดับอุดมศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาเพิมขึน แต่มช่องว่ างระหว่ างคุณภาพและปริมาณ
                                                   ่ ้      ี
   ของบัณฑิต และโอกาสในการเข้ าถึงสถาบันอุดมศึกษาของไทยยังไม่ เท่ าเทียมกัน รวมถึงปัญหาความไม่
                                            สมดุลระหว่ างนักศึกษาปริญญาตรีและปริญญาโท/เอก
• การลงทุนในการค้ นคว้ าวิจัย มีสัดส่ วนเพียงร้ อยละ 0.24 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (GDP)
       • จากการจัดอันดับความสามารถทางการศึกษาในระดับนานาชาติ โดย IMD ขีดความสามารถด้ าน
    การศึกษาของประเทศไทย อยู่ในลาดับที่ 51 จาก 59 ประเทศ (ปี 2554) และลดลงอยู่ในลาดับที่
                                                                           52 ในปี 2555
 ผลการประเมินนักเรี ยนไทย ภายใต้ โครงการประเมินผลนักเรี ยนนานาชาติ (Programme for
 International Student Assessment: PISA) พบว่ าอยู่ในกลุ่มต่า และมีคะแนนต่ากว่ า OECD ที่
 กาหนดไว้ 500 คะแนน โดยมีคะแนนเฉลี่ยการอ่ าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เท่ ากับ 421
 419 และ 425 คะแนนตามลาดับ (2552)                                                 47
ทักษะเด็กและเยาวชนไทยในอาเซียน
 TOEFL บัณฑิตไทยเฉลี่ย 450 คะแนน ซึ่งตากว่าบัณฑิตสิงคโปร์และฟิลิปปินส์ที่มี
                                             ่
  คะแนนเฉลี่ยเกิน 550 คะแนน และมาเลเซีย อินโดนี เซีย พม่า เวียดนาม และกัมพูชามี
  คะแนนเฉลี่ยเกิน 500 คะแนน
 PISA เด็กไทยสูงกว่าอินโดนี เซียเล็กน้ อย แต่ตากว่าสิงคโปร์มาก
                                                ่
 เด็กไทยรู้สึกว่าตนเองเป็ นประชาชนอาเซียนเพียงร้อยละ 67 (อันดับ 8) และยังมี
  ความรู้เรื่องอาเซียนน้ อยที่สดเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน (อันดับที่ 10) อีกทังยังมี
                               ุ                                                  ้
  ความใฝ่ รู้เรื่องประเทศอื่นๆ ในอาเซียนค่อนข้างตา (อันดับที่ 7)
                                                   ่
 การสารวจและงานวิจยระบุไทยจัดอยู่ในกลุ่มที่ใช้ภาษาอังกฤษได้ very low
                         ั
  proficiency (ข้อมูลจาก: The EF English Proficiency Index (EPI) ในอันดับที่ 42 จาก
                                                                         ่
  ประเทศทังหมด 44 ประเทศ เป็ นรองเพื่อนบ้าน 4 ประเทศในอาเซียนที่รวมทดสอบคือ
              ้
  มาเลเซียอันดับ 9 อินโดนี เซีย 34 เวียดนาม 39 และ กัมพูชา 41
IPST
       PISA 2000- PISA 2009
                           คณิตศาสตร์       อ่าน     วิทยาศาสตร์
       440

       435

       430

       425

       420

       415

       410

       405
             PISA 2000   PISA 2003      PISA 2006   PISA 2009
ผลสารวจคุณภาพบัณฑิตไทย
ผลกระทบจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
     ผลกระทบเชิงบวก                                        ผลกระทบเชิงลบ
     • ตลาดขยายกว้าง การ                                 • ต้ องเผชิญกับการแข่ งขัน
     คมนาคมสะดวกมากขึน       ้                                                  สู งขึน
                                                                                      ้
   • แรงงานฝี มือเคลือนย้ าย
                       ่                   ไทย          • ผู้ที่ไม่ มีความพร้ อมจะถูก
           สะดวกในอาเซียน
                                         ในกระแส           กดดันให้ ต้องเร่ งปรับตัว
• มีอาชีพหลากหลายและเพิม         ่
                      มากขึน   ้          อาเซียน
      •เกิดเครือข่ ายบริษทใน
                          ั
                      อาเซียน
• นายจ้ างและลูกจ้ างมีโอกาส
              เลือกมากยิงขึน
                         ่ ้
                                        ปรับตัวและ
                                     เตรียมความพร้ อม
ประเทศไทยมีแผนการขับเคลือนเข้ าสู่ ประชาคม
                                          ่
                  อาเซียนทุกระดับ      นโยบายของรัฐบาลมีจดมุ่งหมาย๓ ประการ
                                                         ุ
                                                       นาประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิ จที่สมดุล
                                                นาประเทศไทยสู่สงคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์
                                                                 ั
  นโยบายรัฐบาล                 นาประเทศไทยไปสู่การเป็ นประชาคมอาเซียนในปี 2558สมบูรณ์ โดยสร้าง
                             ความพร้อมและความเข้มแข็งทังทางด้านเศรษฐกิ จ สังคมและวัฒนธรรม และ
                                                        ้
                                                                         การเมืองและความมันคง่

                             “เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนให้มีมาตรฐาน
                                    เป็ นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนการยกระดับทักษะฝี มือแรงงานและ
 แผนพัฒนาฯ ฉบับ                    ทักษะด้านภาษาเพื่อเตรียมความพร้อมของแรงงานไทยเข้าสู่ตลาดแรงงาน
    ที่ 11                           ในภูมิภาคอาเซียน โดยไทยมีบทบาทนาในอาเซียนร่วมกับประเทศอื่นที่มี
                                                                                          ศักยภาพ”
 แผนกำรบริหำรรำชกำร                  เร่ งดำเนินกำรตำมข้ อผูกพันในกำรรวมตัวเป็ น
แผ่นดิน พ.ศ. 2555-2558         ประชำคมอำเซียนในปี 2558 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สั งคม
                                    และควำมมันคง ตลอดจนกำรเชื่อมโยงเส้ นทำง
                                                ่
                                         คมนำคมขนส่ ง ภำยในและภำยนอกภูมภำค   ิ
ยุทธศาสตร์ ประเทศ และยุทธศาสตร์ การเข้ าสู่ ประชาคม
                                      Growth                        อาเซี ยน
                                                                                 &
                                                                           Competitiveness
                                                                                                การเสริมสร้าง
                                                          การเสริมสร้าง                       ความสามารถในการ
                                                                                               แข่งขันของสินค้า
                                                           ความมั่นคง                         บริการ การค้าและ
                                                                                                   การลงทุน
                                                                                                                  กำรพัฒนำ
                                              การพัฒนา                                                             โครงสร้ำง
                                             กฎหมาย กฎ                                                            พื้นฐำนและ
คน / คุ ณภำพชี วิต / ควำมรู้ / ยุ ติธ รรม    และระเบียบ                                                           โลจิสติกส์            โครงสร้ ำ งพื้ น ฐำน / ผลิ ตภำพ / วิจั ย และพั ฒนำ
                                                                               ปรับ
                                            กำรพัฒนำ
                                                                             Internal                                 กำรเพิ่มศักยภำพ
                                                                                                                        ของเมืองเพื่อ
                                            ทรัพยำกร                         Process                                   เชื่อมโยงโอกำส
                                              มนุษย์                                                                    จำกอำเซียน
                                                                            ระบบ/กำลั ง คน/
                                                                              งบประมำณ


                               Inclusive                      กำรพัฒนำ                        กำรสร้ำงควำมรู้
                                                                                                                          Green
                                                             คุณภำพชีวิต                      ควำมเข้ำใจ และ
                                Growth                          และกำร
                                                             คุ้มครองทำง
                                                                 สังคม
                                                                                              ควำมตระหนักถึง
                                                                                                ประชำคม
                                                                                                 อำเซียน
                                                                                                                          Growth

                                                                               กฎระเบี ย บ


 NESDB
กำรบู ร ณำกำรยุ ท ธศำสตร์ ป ระเทศกั บ ยุ ท ธศำสตร์ ก ำรเข้ ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น
                                                ก่อนบูรณาการ
                                                                                                       หลังบูรณาการ


     ยุทธศำสตร์ประเทศ                 ยุทธศำสตร์กำรเข้ำสู่ประชำคมอำเซียน                           ยุทธศำสตร์ประเทศ
    (Country Strategy)                       (ASEAN Strategy)                                     (Country Strategy)

 4 ยุทธศำสตร์                    8 ยุทธศำสตร์                                                4 ยุทธศำสตร์
   1. Growth & Competitiveness     1. การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ
                                      การค้า และการลงทุน
                                                                                             (ผนวกรวมประเด็นอาเซียนแล้ว)
   2. Inclusive Growth
                                   2. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม                1. Growth & Competitiveness
   3. Green Growth
   4. Internal Process
                                   3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ                              2. Inclusive Growth
                                      โลจิสติกส์
  28 ประเด็นหลัก                  4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
                                                                                               3. Green Growth
  56 แนวทำงกำรดำเนินกำร           5. การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ                             4. Internal Process
                                   6. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงการเป็น     30 ประเด็นหลัก
                                      ประชาคมอาเซียน
                                                                                              80 แนวทำงกำรดำเนินกำร
                                   7. การเสริมสร้างความมั่นคง
                                   8. การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน




NESDB
ผลกำรวิเครำะห์กำรบูรณำกำร
  แผนปฏิบัติกำรยุทธศำสตร์ประเทศ
NESDB                                                                                       ประเด็น ยุทธศำสตร์ประเทศ
   1. Growth & Competitiveness                                                                        2. Inclusive Growth
             กำรปรับโครงสร้ำงภำคกำรผลิตและบริกำร                                                      - พัฒนำกำรศึกษำ
                                                                             สร้ำงโอกำสและรำยได้แก่   - พัฒนำทักษะแรงงำน           - ส่งเสริมกำรเข้ำถึง
                                                                               SMEs และเศรษฐกิจ                                      ยุติธรรมของ ปชช.
    ภำคเกษตร                 ภำคอุตสำหกรรม        ท่องเที่ยว/บริกำร                  ชุมชน                                         - สร้ำงธรรมำภิบำล

                             Competitiveness
 เชื่อมโยง ศก. ภูมิภำค        Development          พัฒนำพื้นที/เมือง - พัฒนำคุณภำพชีวิต/บริกำร
                                                              ่                                                 ลดควำม
                                                                                                              เหลื่อมล้ำใน             สร้ำงองค์ควำมรู้เรื่อง
                                                                           สำธำรณสุข
                                                                                                                                             อำเซียน
                                                                         - พัฒนำระบบสวัสดิกำร                    สังคม
 โครงสร้ำงพื้นฐำน               พลังงำน            วิจัยและพัฒนำ


                                                                                                         ปรับ
                 กำรเติบโตที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม
                                          ่                                                ปฏิรูป     โครงสร้ำง
                                                                                                                        พัฒนำ             ปรับ
                                                                                                                       กำลังคน          โครงสร้ำง
                                                                                          กฎหมำย        ระบบ
                                                                                                                        ภำครัฐ            ภำษี
                                                                                                       รำชกำร
                    ลด
    เมือง                         นโยบำย        บริหำร          กำร                                     พัฒนา
                 กำรปล่อย                                                                  พัฒนำ
  อุตสำห-                         กำรคลัง       จัดกำร        เปลี่ยน                                  สินทรัพย์
                 ก๊ำซเรือน                                                                กระบวน                      เสริมสร้ำง         ปฏิรูป
  กรรมเชิง                         เพื่อสิ่ง   ทรัพยำกร        แปลง                                    ราชการที่
                  กระจก                                                                  กำรจัดสรร                    ควำมมั่นคง        กำรเมือง
   นิเวศ                          แวดล้อม      ธรรมขำติ      ภูมิอำกำศ                                  ไม่ได้ใช้
                  (GHG)                                                                  งบประมำณ
                                                                                                       ประโยชน์

3. Green Growth                                                                                        4. Internal Process
ประเด็ น ที่ ต้ อ งเร่ ง ดำเนิ น กำรก่ อ นกำรเข้ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น ปี 2558

    เสำหลัก                                                  ประเด็นเร่งด่วน
ประชำคมอำเซียน               ปี 2556                              ปี 2557                              ปี 2558

 กำรเมือง        1.ระบบยุติธรรม กาหนดแนวทางที่ชัดเจนในการเข้าถึงระบบยุตธรรมของประชาชน
                                                                       ิ

 และควำม         2. ธรรมำภิบำล ส่งเสริมธรรมาภิบาลในภาครัฐและเอกชน โดยการดาเนินการนาร่องในปี 2556 คือการใช้แนว
                   ปฏิบัติ ASEAN CG ในบริษัทที่จดทะเบียนใน ตลท. ซึ่งรวมถึงการต่อต้านการฟอกเงิน
  มั่นคง         3.ยำเสพติด จัดตั้งและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายอาเซียนต่อต้านยาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม

APSC             4. กำรก่อกำรร้ำยและอำชญำกรรมข้ำมชำติ ร่วมกับประเทศภาคีสมาชิก ARF (ASEAN+16+EU) ใน
                   การต่อต้านการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ รวมถึงการค้ามนุษย์

                 5. กำรลักลอบเข้ำเมือง ควบคุมการลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมายอย่างเข้มงวดร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน
                 6. ภัยพิบัติ เชื่อมโยงข้อมูลและฝึกซ้อมร่วมด้านการป้องกันภัยพิบัติกบประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างเต็มรูปแบบ
                                                                                   ั



  NESDB
ประเด็ น ที่ ต้ อ งเร่ ง ดำเนิ น กำรก่ อ นกำรเข้ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น ปี 2558
    เสำหลัก                                                  ประเด็นเร่งด่วน
ประชำคมอำเซียน                   2556                                  2557                              2558

เศรษฐกิจ         1.กฎหมำย ผลักดันการออก/ปรับปรุง
                   กม.



AEC
                   1.1 CBTA 3+2 ฉบับ
                   1.2 การแข่งขันทางการค้า
                   1.3 หลักประกันทางธุรกิจ
                   1.4 สัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ
                   1.5 อนุสัญญาภาษีซ้อนกับกัมพูชาและ
                      บรูไน

                   กฎหมำย (ต่อ)
                   1.6 ทรัพย์สินทางปัญญา เช่น เครื่องหมายทางการค้า สิทธิบัตรการออกแบบ
                   1.7 กฎหมายกากับดูแลธุรกิจบริการที่มขอจากัดด้านสัดส่วนผู้ถอหุ้นของต่างชาติ เช่น ธุรกิจโทรคมนาคม โรงเรียน
                                                       ี้                   ื
                      เอกชน

                 2.ด่ำน (1) พัฒนาประสิทธิภาพด่านที่เป็น 2. ด่ำน เร่งรัดการเปิดด่าน 2. ด่ำน เร่งรัดการเปิดด่าน
                   ประตูเชื่อมโยงการค้าอาเซียน 8 ด่าน (แม่   ถาวรที่มีศักยภาพในอนาคต        ถาวรที่มีศักยภาพในอนาคต (บ้าน
                   สาย แม่สอด เชียงของ หนองคาย               (บ้านพุน้าร้อน) National       พุน้าร้อน)
NESDB              มุกดาหาร อรัญประเทศ ปาดังเบซาร์ และ       Single Window เชื่อมโยง        National Single Window
                   สะเดา) (2) เร่งรัดการจัดทาความตกลง        ข้อมูลระหว่าง NSW กับระบบ      เชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง NSW กับ
                   การขนส่งสินค้าข้ามแดน (นครพนม)            ภายในของหน่วยงานราชการ         ระบบภายในของหน่วยงาน
ประเด็ น ที่ ต้ อ งเร่ ง ดำเนิ น กำรก่ อ นกำรเข้ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น ปี 2558
   เสำหลัก                                                ประเด็นเร่งด่วน
  ประชำคม                    ปี 2556                                2557                             2558
   อำเซียน

เศรษฐกิจ        4. โครงข่ำยคมนำคม
                  3.1 พัฒนาระบบทางหลวงภายในเชื่อมโยงกับทางหลวงอาเซียนผ่าน 8 ด่านสาคัญ และด่านที่มศกยภาพอีก 3
                                                                                                 ีั



AEC
                     ด่าน
                     (นครพนม ช่องจอม บ้านพุน้าร้อน)
                  3.2 พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิระยะที่ 2
                  3.3 ก่อสร้างถนนมอเตอร์เวย์บางใหญ่-กาญจนบุรี เพื่อรองรับการเชื่อมโยงท่าเรือทวาย
                  3.4 เปิดประมูลรถไฟความเร็วสูง 4 เส้นทาง
                  3.5 พัฒนาระบบรถไฟทางคู่ 6 เส้นทาง
                  3.6 ฝึกอบรมพนักงานขับรถโดยสารและรถบรรทุกข้ามแดน

                5. สินค้ำและบริกำร เร่งขยายการจัดทา MRA ด้านการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน
                6. SMEs พัฒนาทักษะการประกอบธุรกิจร่วมกับชาติอาเซียน และพัฒนาฝีมือแรงงาน
                7. แรงงำนฝีมือ 8 สำขำ จัดทาแผนพัฒนากาลังคนให้เพียงพอในการให้บริการในประเทศ และการรองรับ
                  แรงงานฝีมือ 8 สาขาจากประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งจัดทามาตรฐานวิชาชีพ MRA บุคลากรด้านการท่องเทียว
                                                                                                               ่
NESDB           8. ข้อมูลธุรกิจอำเซียน
                   8.1 จัดตั้งศูนย์บริการข้อมูลและให้คาปรึกษาด้านธุรกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนแบบเบ็ดเสร็จ ทั้งในส่วนกลาง
ประเด็ น ที่ ต้ อ งเร่ ง ดำเนิ น กำรก่ อ นกำรเข้ ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น ปี 2558
  เสำหลัก                                                  ประเด็นเร่งด่วน
 ประชำคม                  ปี 2556                              ปี 2557                                ปี 2558
  อำเซียน
สังคมและ 1.ภำษำ จัดทาการสอนและโปรแกรมสอนภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาในอาเซียนให้บุคลากรภาครัฐ SMEs และ
           ประชาชนทั่วไป
วัฒนธรรม
                2. ควำมตระหนักรู้เรื่องอำเซียน ฝึกอบรมและใช้สื่อประชาสัมพันธ์แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
ASCC            3. กำรศึกษำ                      3. กำรศึกษำ                              3. กำรศึกษำ
                  3.1 ปรับเวลาเปิดปิดภาคเรียน      3.1 ขยายผลการปรับเวลาเปิดปิดภาค         3.1 ขยายผลการปรับเวลาเปิดปิดภาค
                     ของสถาบันอุดมศึกษาให้ตรง         เรียนของสถาบันอุดมศึกษาให้ตรงกับ        เรียนของสถาบันอุดมศึกษาให้ตรง
                     กับอาเซียนให้ได้ร้อยละ 25        อาเซียนให้ได้ร้อยละ 50                  กับอาเซียนให้ได้ครบทุกแห่ง
                  3.2 จัดทาแผนการผลิตบุคลากร       3.2 นาร่องการยอมรับมาตรฐานหลักสูตร      3.2 ขยายผลการยอมรับมาตรฐาน
                     เพื่อตอบสนองตลาดแรงงาน           ร่วมกันกับประเทศอาเซียน                 หลักสูตรร่วมกันกับประเทศอาเซียน
                     อาเซียน

                4. ASEAN Unit จัดตั้งหน่วยงานภายในระดับกรมและกระทรวงเพื่อประสานงานเรื่องอาเซียนโดยเฉพาะ
                5. บุคลำกรภูมิภำค จัด            5. บุคลำกรภูมิภำค จัดอัตรากาลัง 5. บุคลำกรอำเซียน นาร่อง
 NESDB            อัตรา กาลังนักวิเทศสัมพันธ์      นักวิเทศสัมพันธ์ประจาสานักงานจังหวัด    โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรภาครัฐกับ
                  ประจาสานักงานจังหวัดทีมเี ขต
                                            ่      ทุกจังหวัด                              ประเทศสมาชิกอาเซียน
                  ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน
ความสาคัญของการศึกษา
การศึกษาเป็ นรากฐานการพัฒนา สร้ างอาเซียนสู่
 การเป็ นประชาคมทีมีความมั่นคงทั้งทางด้ าน
                       ่
 เศรษฐกิจ การเมืองและสั งคม
กระทรวงศึกษาธิการ มีบทบาทในการขับเคลือนและ    ่
 พัฒนาความร่ วมมือด้ านการศึกษาเพือนาอาเซียน
                                         ่
 ก้าวสู่ การเป็ นประชาคมทีเ่ ข้ มแข็ง ในสั งคมแห่ ง
 ความเอืออาทร สมานฉันท์ รักใคร่ ผูกพัน และร่ วม
           ้
 ตระหนักถึงการมีอตลักษณ์ อาเซียน ท่ ามกลางความ
                     ั
 หลากหลายทางด้ านเชื้อชาติ ประวัตศาสตร์ และ
                                       ิ
 วัฒนธรรม
แผนปฏิบติการด้านการศึกษา ๕ ปี ของASEAN
        ั
๑. การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน
๒. การเข้าถึงการศึกษาที่มีคณภาพ โดยเฉพาะประชาชนที่อยู่บริเวณ
                           ุ
    ชายแดน การจัดการศึกษาตลอดชีวิต
๓. การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและความร่วมมือระหว่างประเทศ
   ด้านการศึกษา เพื่อสนับสนุนการแบ่งปันในภูมิภาค การสร้าง
   เอกลักษณ์และความเป็ นเลิศของภูมิภาค
๔. การสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรรายสาขาอื่นๆเพื่อพัฒนา
   การศึกษา เช่น การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วม
   ของนักเรียน การส่งเสริมสิทธิมนุษยชนศึกษา เป็ นต้น
ASEAN Curriculum Sourcebook




      68
1. Knowing ASEAN
                                      ี
                   ความรูเกียวก ับอาเซยน
                         ้ ่
   2. Valuing Identity and Diversity
       การเห็นคุณค่าความเปนหนึงและความ
                          ็   ่
                            หลากหลาย
     3. Connecting Global and Local
                    ื่
               การเชอมโยงโลกและท้องถิน
                                     ่
    4. Promoting Equity and Justice
     ่
 การสงเสริมความเสมอภาคและความยุตธรรม
                                ิ
         5. Working Together for a
Sustainable Future การทางานร่วมก ันเพือ
                                      ่
       69                 อนาคตทียงยืน
                                 ่ ่ั
การเตรียมพร้อมเข้าสู่   ประชาคม
  อาเซียน
ทักษะที่จำเป็นในกำรดำรงชีวิต
     ในศตวรรษที่ ๒๑
กาหนดภาพเด็กไทย ใน ASEAN

World Class Schools (500 โรง)
   -ASEAN Focus School (14 โรง)
   -Education Hub school (14 โรง)
Spirit Of ASEAN
  - Sister/partner school (30 โรง)
  - Buffer school (24 โรง)
Connecting classroom : พัฒนาการเรียนการสอนร่ วมกับประเทศอาเซียน และ
 ประเทศอืนๆ่
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
สถิตินักเรียน สั งกัด สพฐ. ที่เรียนภาษาต่ างประเทศ
                Khmer
           Vietnamese
              Burmese
               Russian
               Spanish
               German
                French
                Korean
              Japanese
               Chinese

                          0        20000     40000      60000      80000     100000     120000    140000    160000    180000    200000
                        Chinese        Japanese   Korean        French     German     Spanish    Russian   Burmese Vietnamese Khmer
จานวนนักเรียน มัธยมปลาย 120287          33800      5318         50190       5160        150        89       6426      2473     519
จานวนนักเรียน มัธยมต้ น       199140    16200        4712        5322       945                             3990       2254         1357


                                                                                          ข้ อมูลจาก OBEC ณ วันที่ 7 กันยายน 2555
สถิติโรงเรียนในสั งกัด สพฐ.ที่มีการเรียนการสอน
                           ภาษาต่ างประเทศในโรงเรียน
                              400


                              350


                              300


                              250
     จานวนโรงเรียน (โรง)




                              200


                              150


                              100


                               50


                                0
                                    Chinese   Japanese   Korean   French   German   Spanish        Russian    Burmese   Vietnamese      Khmer
จานวนโรงเรี ยน มัธยมต้น              340         74       29        57                                           3          20            5
จานวนโรงเรี ยน มัธยมปลาย             389        230       45       262       30       2              5          35         21             4
                                                                                              ข้ อมูลจาก OBEC ณ วันที่ 7 กันยายน 2555
สถิตจานวนครู ในโรงเรียนสั งกัด สพฐ.ทีสอนภาษาต่ างประเทศ
                                             ิ                                ่
                     600




                     500




                     400
จานวนครู (คน)




                     300




                     200




                     100




                           0
                                  Chinese   Japanes   Korean   French   German   Spanish   Russian    Burmes     Vietnam     Khmer
                                                e                                                        e         ese
                วิชาหลัก           350         30      15       502       24       2          0          2           3          2
                ไม่ใช่วชาหลัก
                       ิ           100       150       29                 18       0          0          13          5          2
                ครู เจ้าของภาษา    600        50       43       15        11       1          0          19          5          4



                                                                                           ข้ อมูลจาก OBEC ณ วันที่ 7 กันยายน 2555
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ.
                   ้
ประเด็นท้ าทายของอาเซียน
                           (กรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ)



     ความแตกต่ าง                     ความแตกต่ าง              การแข่ งขันของมหาอานาจ
 ด้ านเชือชาติ ศาสนา
         ้                           สถาบันการเมือง                 สหรัฐ รัสเซีย จีน
    ระดับการพัฒนา                    เศรษฐกิจ สังคม                  อินเดีย ญี่ปน
                                                                                 ุ่



                                ประชาคมอาเซียน

การแข่ งขันเพื่อแย่ งชิง                                          ผลประโยชน์ แห่ งชาติ
 ทรัพยากร แรงงาน                     ความผันผวนของ                          VS
   ตลาด เงินทุน                   ระบบการเงินและ ศก.                     ภูมภาค
                                                                            ิ
                                    และการจัดทา FTA             การแข่ งขัน ขาดความไว้ ใจ
การปรั บตัวของภาคราชการไทย
                   เพื่อเตรี ยมความพร้ อมสู่ประชาคมอาเซียน

                                               Structural
                                                Change

                                          Mindset
                                                        Learning
                                          Change

ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
การปรั บตัวของภาคราชการไทย
                  เพื่อเตรี ยมความพร้ อมสู่ประชาคมอาเซียน
   Structural Change                        Mindset Change                Learning

                                                                     ส่ งเสริมการเรี ยนรู้ และ
   ปรั บโครงสร้ าง                          เปลี่ยนมุมมองเป็ น       พัฒนาทักษะที่จาเป็ น
  ส่ วนราชการเพื่อ                        “เราจะสร้ างประโยชน์    สาหรั บการปฏิบัตงานของิ
 รองรั บการรวมตัว                          อะไรให้ กับอาเซียน”   ข้ าราชการ รวมทังเพี่อสร้ าง
                                                                                      ้
   เป็ นประชาคม                           รวมทังขยายขอบเขต
                                                  ้               เครื อข่ ายกับประชาชนใน
       อาเซียน                                      การคิด           การขับเคลื่อนการเป็ น
                                                                         ประชาคมอาเซียน

ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
      83
ท ัศนคติ สมรรถนะใหม่ของบุคลากรภาคร ัฐ/เอกชน


    รอบรู้ และรอบตัว เรียนรู้อย่ างต่ อเนื่อง
    ตื่นตัว สามารถคาดการณ์ สถานการณ์ และพร้ อมรับการเปลียนแปลง่
    อย่ างยืดหยุ่น
    มุ่งมั่น รับผิดชอบต่ องานและมีคุณธรรม
    เปิ ดกว้ างและให้ ความสาคัญต่ อความเข้ มแข็งของภาคส่ วนต่ างๆ
     มีทักษะทางภาษาต่ างประเทศ ภาษาไอทีและการสื่ อสาร
    มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติทจะช่ วยบริหารความขัดแย้ งในระดับต่ างๆ
                              ี่
    มีวัฒนธรรมการทางานทีเ่ น้ นการแลกเปลียนความเห็น ยอมรับใน
                                              ่
    ความหลากหลาย
การขับเคลือนสู่ .....ASEAN
            ่
เน้ นพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มากกว่ าการพัฒนาองค์ กร
การคิดก้ าวไกล (Thinking beyond borders)
บทบาทของคณาจารย์ /บุคลากร/เจ้ าหน้ าทีในฐานะผู้สร้ าง
                                           ่
 อนาคตของอาเซียน
การเป็ นพลโลก(global citizen)/พลเมืองอาเซียน(ASEAN
 citizen)แต่ คงความเป็ นไทย (Thai citizen)
การเตรียมความพร้ อมด้ านทักษะ

ทักษะด้ านภาษา (ภาษาอังกฤษ ภาษาอาเซียน)
ทักษะชีวต ความรู้ เรื่องอาเซียน และประเทศสมาชิก (ปรับทัศนคติ)
          ิ
ทักษะวิชาชีพ ทีได้ มาตรฐานอาเซียนและมาตรฐานสากล
                ่
ทักษะการสื่ อสาร เพือความเป็ นสากล (internationalization)
                       ่
ความพร้ อมด้ านทัศนคติ


 มองให้ไกลกว่าประเทศไทย
 ทัศนคติเชิงบวกต่อการเป็ นประชาคมอาเซียน
 การทางานเป็ นทีม การทางานข้ามวันนธรรม
 การมองประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ในเชิงเท่า
เทียมกันและเป็ นสมาชิกร่ วมประชาคมเดียวกัน
การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การเตรียมความพร้ อมด้ านการศึกษาของประเทศไทยเพือก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๘”
                                                                            ่
                                                                      ดร.สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน


อาเซี ยนเป็ นเพียงบ้านพักริ มทาง
เราสามารถที่จะแข่งขันและก้าวไปสู่ โลกกว้างได้
ซึ่ งในความเป็ นจริ งในโลกกว้าง ไม่สามารถมีใครมายับยั้งเราได้
                         ่
แต่หากเรายังพอใจอยูแต่ในบ้านที่มนคงและไม่ตองการที่จะออกไปไหน
                                     ั่          ้
เมื่อมีการเปิ ดโลก เราจะหลงทิศทาง เพราะมีความกดดันมากเกินไป
                                ่                             ่
ดังนั้น จึงต้องมีสติ เมื่อเราอยูรอดในอาเซี ยนได้ โอกาสที่จะอยูรอดในการ
แข่งขันกับโลกที่กว้างขึ้นก็จะมากขึ้น

เยาวชนต้องพร้อมที่จะเดินหน้าต่อไปในอนาคตเพราะอาเซี ยนสร้างไว้เพื่ออนาคต
แต่หากพ่อ แม่ ผูปกครอง ครู อาจารย์ ไม่เห็นความสาคัญ
                 ้
อาเซี ยนก็จะเป็ นของคนอื่น
ถึงเวลานั้นผูให้กาเนิดอาเซี ยน...ซึ่ งคือประเทศไทย ก็จะได้เพียงเฝ้ าดูและเสี ยใจ
              ้
ดังนั้น จึงต้องการที่จะเตือนสติเรื่ องนี้วา “อาเซี ยนเป็ นเรื่ องของคุณในอนาคต”
                                          ่
โจทย์ สาหรับการเตรียมพร้ อมเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน

ประเทศไทยมีจุดเด่ นอะไร
ทุกภาคส่ วนจะร่ วมกันพัฒนาคนเพือรับมือ”ประชาคมอาเซียน”
                                      ่
 อย่ างไร จะสร้ างความรู้ ความข้ าใจเรื่องอาเซียน ในสั งคมอย่ างไร ด้ วย
 วิธีการใด
โรงเรียนจะมีบทบาทสนับสนุนท้ องถิน ชุมชน สั งคมในการเตรียม
                                         ่
 ความพร้ อมอย่ างไร
โจทย์ อภิปราย
1.นักเรียนควรมีคุณลักษณะและสมรรถนะ อย่ างไร?
 2สถานศึกษาควรปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย
  อย่ างไรเพือให้ นักเรียนมีความพร้ อมเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียนและเป็ นพล
             ่
  โลก?
3.ผู้ บริหาร/อาจารย์ ควรจะมีบทบาทอย่ างไรในการออกแบบระบบการ
  เรียนการสอนให้ นักเรียนมีสมรรถนะพร้ อมทีจะเข้ าสู่ ตลาดแรงงานอย่ าง
                                                  ่
  มีคุณภาพ?
4.ผู้ ปกครอง/ชุ มชน/ท้ องถิ่น ควรมีบทบาทสนับสนุนการเตรียมพร้ อม
  อย่ างไร
4.ทาอย่ างไรทีจะสร้ างเครือข่ ายสถานศึกษาเพือการพัฒนาทุกระดับ เพือ
                  ่                                 ่                 ่
  สร้ างสั งคมแห่ งการเอืออาทร/สมานฉันท์ ?
                         ้
Thank You!


   L/O/G/O

More Related Content

What's hot

โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...Dp' Warissara
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
Preaw Adisaun
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
vorravan
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
irchula2014
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนSaran Yuwanna
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
Teeranan
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
Natda Wanatda
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
Teeranan
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanamon Bannarat
 
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์Fearn_clash
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 NIMT
 

What's hot (18)

โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
 
Asean course
Asean courseAsean course
Asean course
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 

Similar to 91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑

อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Silpakorn University
 
58210401122 งาน2ss
58210401122 งาน2ss58210401122 งาน2ss
58210401122 งาน2ss
kanjana wongprajan
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3sompriaw aums
 
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาบทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
Prachoom Rangkasikorn
 
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec  จุดอ่อนจุดแข็ง asianAec  จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asianApiradee Ae
 
ประเทศใน Asian
ประเทศใน Asianประเทศใน Asian
ประเทศใน AsianWeang Chai
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
Yaowaluk Chaobanpho
 
Spirit of asean (chantra chaiyaporn)
Spirit of asean (chantra chaiyaporn)Spirit of asean (chantra chaiyaporn)
Spirit of asean (chantra chaiyaporn)
Prachoom Rangkasikorn
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนJar 'zzJuratip
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
solarcell2
 
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียวอาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
Totsaporn Inthanin
 

Similar to 91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑ (20)

อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 
58210401122 งาน2ss
58210401122 งาน2ss58210401122 งาน2ss
58210401122 งาน2ss
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
 
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาบทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
 
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec  จุดอ่อนจุดแข็ง asianAec  จุดอ่อนจุดแข็ง asian
Aec จุดอ่อนจุดแข็ง asian
 
ประเทศใน Asian
ประเทศใน Asianประเทศใน Asian
ประเทศใน Asian
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
 
Spirit of asean (chantra chaiyaporn)
Spirit of asean (chantra chaiyaporn)Spirit of asean (chantra chaiyaporn)
Spirit of asean (chantra chaiyaporn)
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
 
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียวอาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
 

More from Kruthai Kidsdee

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
Kruthai Kidsdee
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
Kruthai Kidsdee
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
Kruthai Kidsdee
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
Kruthai Kidsdee
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sitesKruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
Kruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
Kruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
Kruthai Kidsdee
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
Kruthai Kidsdee
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
Kruthai Kidsdee
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
Kruthai Kidsdee
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
Kruthai Kidsdee
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
Kruthai Kidsdee
 

More from Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑

  • 1. “การเตรียมความพร้ อมด้ านการศึกษา กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑” นางศรีวการ์ เมฆธวัชชัยกุล (อดีตรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ) ิ อนุกรรมาธิการพิจารณาและติดตามการเตรี ยมความพร้อมด้านการศึกษาสู่ ประชาคมอาเซียน วุฒิสภา อนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจ ด้านจัดการศึกษาสู่ ประชาคมอาเซียน ที่ปรึ กษาคณะกรรมการส่ งเสริ มสังคมแห่งการเรี ยนรู ้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ” ที่ปรึ กษาด้านยุทธศาสตร์เศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ โ มือถือ 081-9851973 L/O/G/Osivikamek@yahoo.com
  • 2. ประเด็นหลักในการบรรยาย 1 การศึกษาในศตวรรษที่21 2 ความรู้ เกียวกับอาเซียน ่ 3 นโยบายและยุทธศาสตร์ 4 การเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
  • 3. ประชาคมอาเซียน: ความท้ าทายของประเทศไทย AEC ASEAN AEC ASEAN ASEAN อาจารย์ ชัยวัฒน์ มีสันฐาน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 4. " Ready for ASEAN Community " การแข่ งขัน คู่เจรจา ความเป็ นไทย ประชาคมโลก Pradap Pibulsonggram, Amb, May 28, 2012
  • 5.
  • 6. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 7. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 8. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 9. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 10. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 11. Learn ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 12. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 13. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 14.
  • 15. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 16. ปฏิญญาว่ าด้ วยการจัดการศึกษาของ UNESCO Learning to know Learning to do Learning to live with the others Learning to be
  • 18.
  • 19. ที่มำ : 21st Century Skills partnership
  • 20. วิชาแกนและแนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ 21 core subjects& 21 st Century skills  วิชาแกน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้  แนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ 21 -จิตสานึกต่ อโลกGlobal Awareness -ความรู้ พนฐานด้ านการเงิน เศรษฐศาสตร์ การทาธุรกิจและ ื้ การเป็ นผู้ประกอบการ Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy -ความรู้ พนฐานความเป็ นพลเมือง Civic Literacy ื้ -ความรู้ พนฐานด้ านสุ ขอนามัย Health Literacy ื้ ทีมา : ่ 21st Century Skills partnership
  • 21. ทักษะชีวตและการทางาน ิ Life and career skills ความยืดหยุ่นและการปรับตัว Flexibility and Adaptability ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ และการชี้นาตนเอง Initiative and Self- Direction ทักษะทางสั งคมและการเรียนรู้ ข้ามวัฒนธรรมSocial and Cross-Cultural Skills การเพิมผลผลิตและความรู้ รับผิด Productivity and Accountability ่ ความเป็ นผู้นาและความรับผิดชอบ Leadership and Responsibility
  • 22. ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม ( learning and innovation skills ) ความคิดสร้ างสรรค์ และนวัตกรรม Creativity and Innovation ความคิดเชิงวิพากษ์ และการแก้ ไขปัญหาCritical Thinking and Problem Solving การสื่ อสาร Communication การร่ วมมือกันCollaboration
  • 23. ทักษะด้ านสาระสนเทศ สื่ อ และเทคโนโลยี Information, media and technology skills ความรู้ พนฐานด้ านสารสนเทศ Information Literacy ื้ ความรู้ พนฐานด้ านสื่ อ Media Literacy ื้ ความรู้ พนฐานด้ าน ไอซีที ICT (Information, ื้ Communications and Technology) Literacy ที่มา : 21st Century Skills partnership
  • 24. ระบบสนับสนุนการศึกษาของศตวรรษที21 ่ 21st century support systems  มาตรฐานและการประเมิน Standards & Assessments of 21st Century Skills  หลักสู ตรและการสอน 21st Century Curriculum and Instruction  การพัฒนาวิชาชีพ 21st Century Professional Development  สภาพแวดล้ อมการเรียนรู้ 21st Century Learning Environments
  • 25. อาเซยน (ASEAN) Association for South East Asian Nations สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
  • 26. ASIAN: ASEAN หลายคนยังสั บสนกับการออกเสี ยงภาษาอังกฤษ ASEAN และ ASIAN L/O/G/O
  • 27. Asian :ประชากรในภูมภาคเอเชย ิ Southeast Asian: ประชากรในภูมภาค ิ ี เอเชยตะว ันออกเฉียงใต้ ASEAN: Association of Southeast Asian Nations: สมาคมประชาชาติแห่ง ี เอเชยตะว ันออกเฉียงใต้
  • 28. เลขาธิ การอาเซี ยนคนใหม่ นำยเลอ เลือง มินห์ อดีตรมช.กระทรวงต่างประเทศเวียตนาม เข้ารับตาแหน่งในวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็ นเวลาห้าปี (2556-2561) ต่อจาก ดร.สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ
  • 29. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2015 สมาชิ กผู้ก่อตั้ง 8 สิ งหาคมปี 2510 ประชาคม • ไทย ASEAN+6 +ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย ความมันคง ่ • มาเลเซีย อาเซียน (ASC) • อินโดนีเซีย • ฟิ ลิปปิ นส์ • สิ งคโปร์ สมาชิกเพิมเติม ่ + บรู ไน ดารุสซาลาม ปี 2527 + เวียดนาม ปี 2538 + ลาว ปี 2540 ประชาคม ASEAN CHARTER + พม่ า ปี 2540 สั งคม-วัฒนธรรม กฎบัติอาเซียน ประชาคม + กัมพูชา ปี 2542 อาเซียน เศรษฐกิจ (ASCC) อาเซียน (AEC) One Vision One Identity One Community
  • 30. กฎบัตรอาเซียน ลงนามเมื่อ 20 พ.ย. 2550 เพื่อเป็ นธรรมนูญของอาเซียนและมีผล บังคับใช้ตงแต่ 15 ธ.ค. 2551 ั้ - มีกฎกติกาในการทางาน - มีประสิทธิภาพมากขึ้น - มีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง - เป็ นการวางรากฐานสาหรับการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
  • 31. ความสาคัญของอาเซียน อาเซียนเป็ นวาระแห่งชาติ ก่อตังที่ประเทศไทย เลขาธิการอาเซียนปัจจุบนเป็ นคนไทย ้ ั ผลประโยชน์ และกิจกรรมสะท้อนผลประโยชน์ ของไทย สร้างประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 เสริ มสร้างบทบาทของไทย ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
  • 32. ความสาคัญของอาเซียนต่อไทย อาเซียนเป็ นตลาดส่ งออกอันดับ 1 ของไทยตังแต่ 2545 และเป็ นแหล่ ง ้ นาเข้ าอันดับที่ 2 ตังแต่ ปี 2540 จนถึงปั จจุบัน ้ ปั จจุบัน มีมูลค่ าการค้ าระหว่ างกัน คิดเป็ นร้ อยละ 24.3 ของมูลค่ าการค้ า ทังหมดของไทยและไทยได้ เปรี ยบดุลการค้ าถึง 1 หมื่นล้ านดอลลาร์ ้ สหรั ฐฯ สมาชิกอาเซียนเข้ ามาลงทุนในไทย ประมาณ 20% ของการลงทุนจาก ต่ างประเทศทังหมด ้ นักท่ องเที่ยว 4 ล้ านคน คิดเป็ นร้ อยละ 30% ของนักท่ องเที่ยวต่ างชาติ ทังหมด (มาเลเซียมาไทยมากที่สุด) ้ ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
  • 33.
  • 34. แผนแม่ บทว่ าด้ วยความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน
  • 35.
  • 36. สิ่ งทีกาลังเกิดขึนจากการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ่ ้
  • 37. เส้ นทางการคมนาคมอย่ างไร้ พรมแดน เส้ นทางขนถ่ ายสิ นค้ า และการคมนาคม  สะดวก รวดเร็ว ประหยัด ประเทศไทยตั้งอยุ่ศุนย์กลาง ของอาเซียน
  • 38. ภาพรวมโอกาสประชาคมอาเซียน โอกาสของประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน เปรี ยบเทียบกับ... ประชากร 580 ล้ าน > สหภาพยุโรป GDP ขนาด 1.5 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรั ฐ = เกาหลีใต้ การค้ าระหว่ างประเทศ 1.61 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรั ฐ = 6 เท่ าของไทย การลงทุนโดยตรง 50 พันล้ านเหรี ยญสหรั ฐ = 60% ของจีน การท่ องเที่ยวระหว่ างประเทศ 65 ล้ านคน = อันดับ 2 ของโลก รองจากฝรั่ งเศส ที่มา บทวิเคราะห์ จากศูนย์ วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ ASEAN 10 : 583 Millions of Pop. ( 9 % of the world's population) GDP 1,275 Billions USD (2% of the world’s GDP) ASEAN+3 : 2,068 Millions of Pop. (31 % of the ASEAN+6 : 3,284 Millions of Pop. ( 50 % of the world's population) GDP 9,901 Billions USD world's population) (18% of the world’s GDP) GDP 12,250 Billions USD (22% of the world’s GDP) 38
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42. การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝมืออย่างเสรี 8 สาขาอาชีพ ี อานวยความสะดวกในการเข้ ามาทางานและพักอาศัย โดยยอมรับวุฒการศึกษาและประสบการณ์ ทางาน ิ แพทย์ ทันตแพทย์ ปั จจุบันลงนาม ข้ อตกลงยอมรับร่ วม ในสาขาวิชาชีพ (Mutual Recognition Arrangement; MRA) ใน 8 สาขาอาชีพ พยาบาล นักบัญชี ช่ างสารวจ วิศวกร สถาปนิก แรงงานไร้ ฝีมือต้ องยื่นขออนุญาต ตามที่กฎหมายกาหนด
  • 43. 8.การท่ องเทียวและการบริการ ่ 32 ตาแหน่ งงานในสาขาการเดินทางและที่พก ั
  • 45. ตารางเปรียบเทียบการพัฒนาและความสามารถการแข่ งขัน ประเทศ อันดับการพัฒนา เทียบในกลุ่ม อันดับความ เทียบในกลุ่มอาเซียน คน อาเซียน สามารถแข่งขัน สิงคโปร์ 26 1 4 1 บรูไน 33 2 na na มาเลเซีย 61 3 14 2 ไทย 103 4 30 3 อินโดนีเซีย 124 6 42 4 เวียตนาม 128 7 na na ฟิลปปินส์ ิ 112 5 43 5 ลาว 138 8 na na กัมพูชา 139 9 na na เมียนม่า 149 10 na na ทีมา: อันดับการพัฒนาคน (UNDP, 2011) อันดับการแข่งขัน (IMD, 2011) ่
  • 46. ึ สถานการณ์ดานการศกษาและการเรียนรูในปัจจุบ ัน ้ ภาพรวม คนไทยได้ รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ มากขึน ้  จานวนปี การศึ กษาเฉลี่ ยเพิ่มขึ้ นจาก 8.7-9.0 (ปี 2550-2553)  ผู้เรียนนอกระบบโรงเรียนเพิ่มขึนจาก 5.3 – 5.6 ล้ านคน(ปี 2548-2553) ้  การเข้ าถึงบริการแหล่ งเรียนรู้ มีความหลากหลาย และส่ งเสริมการอ่ านอย่ าง เป็ นรูปธรรม คนไทยได้ รับการพัฒนาศักยภาพในทุกช่ วงวัย แต่ ยงคงมีปัญหาด้ านคุณภาพการศึกษา สติปัญญาของเด็ก ั กาลังคนในวัย เรียน  คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักตากว่าร้อยละ 50 ่  ปั ญหามาตรฐานความสามารถผูเ้ รียนด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจารณญาณ ปัญหาคุณภาพผู้เรียน ความคิดสร้ างสรรค์พฒนาการด้ านอารมณ์ และสังคม ั  สมรรถนะผูสาเร็ จการศึ กษาระดับอาชี วศึ กษาและอุดมศึ กษาไม่สอดคล้องกับ ้ การเปลียนแปลงในยุคโลกาภิวตน์ ่ ั 46
  • 47. ปัญหาคุณภาพการศึกษา  ผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึ กษา พบว่ า มีสถานศึกษาได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ ในสั ดส่ วนค่ อนข้ างต่า ที่ไม่ ผ่านการประเมินในระดับการศึ กษาขั้นพืนฐาน ส่ วนใหญ่ เป็ นโรงเรี ยนขนาดเล็ก ส่ วนระดับอาชี วศึ กษาและ ้ อุดมศึกษา มีความขาดแคลนครู ท้ังในเชิงคุณภาพและคุณวุฒิ • จานวนผู้เรียนระดับอุดมศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาเพิมขึน แต่มช่องว่ างระหว่ างคุณภาพและปริมาณ ่ ้ ี ของบัณฑิต และโอกาสในการเข้ าถึงสถาบันอุดมศึกษาของไทยยังไม่ เท่ าเทียมกัน รวมถึงปัญหาความไม่ สมดุลระหว่ างนักศึกษาปริญญาตรีและปริญญาโท/เอก • การลงทุนในการค้ นคว้ าวิจัย มีสัดส่ วนเพียงร้ อยละ 0.24 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (GDP) • จากการจัดอันดับความสามารถทางการศึกษาในระดับนานาชาติ โดย IMD ขีดความสามารถด้ าน การศึกษาของประเทศไทย อยู่ในลาดับที่ 51 จาก 59 ประเทศ (ปี 2554) และลดลงอยู่ในลาดับที่ 52 ในปี 2555  ผลการประเมินนักเรี ยนไทย ภายใต้ โครงการประเมินผลนักเรี ยนนานาชาติ (Programme for International Student Assessment: PISA) พบว่ าอยู่ในกลุ่มต่า และมีคะแนนต่ากว่ า OECD ที่ กาหนดไว้ 500 คะแนน โดยมีคะแนนเฉลี่ยการอ่ าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เท่ ากับ 421 419 และ 425 คะแนนตามลาดับ (2552) 47
  • 48. ทักษะเด็กและเยาวชนไทยในอาเซียน  TOEFL บัณฑิตไทยเฉลี่ย 450 คะแนน ซึ่งตากว่าบัณฑิตสิงคโปร์และฟิลิปปินส์ที่มี ่ คะแนนเฉลี่ยเกิน 550 คะแนน และมาเลเซีย อินโดนี เซีย พม่า เวียดนาม และกัมพูชามี คะแนนเฉลี่ยเกิน 500 คะแนน  PISA เด็กไทยสูงกว่าอินโดนี เซียเล็กน้ อย แต่ตากว่าสิงคโปร์มาก ่  เด็กไทยรู้สึกว่าตนเองเป็ นประชาชนอาเซียนเพียงร้อยละ 67 (อันดับ 8) และยังมี ความรู้เรื่องอาเซียนน้ อยที่สดเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน (อันดับที่ 10) อีกทังยังมี ุ ้ ความใฝ่ รู้เรื่องประเทศอื่นๆ ในอาเซียนค่อนข้างตา (อันดับที่ 7) ่  การสารวจและงานวิจยระบุไทยจัดอยู่ในกลุ่มที่ใช้ภาษาอังกฤษได้ very low ั proficiency (ข้อมูลจาก: The EF English Proficiency Index (EPI) ในอันดับที่ 42 จาก ่ ประเทศทังหมด 44 ประเทศ เป็ นรองเพื่อนบ้าน 4 ประเทศในอาเซียนที่รวมทดสอบคือ ้ มาเลเซียอันดับ 9 อินโดนี เซีย 34 เวียดนาม 39 และ กัมพูชา 41
  • 49. IPST PISA 2000- PISA 2009 คณิตศาสตร์ อ่าน วิทยาศาสตร์ 440 435 430 425 420 415 410 405 PISA 2000 PISA 2003 PISA 2006 PISA 2009
  • 51.
  • 52.
  • 53. ผลกระทบจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ผลกระทบเชิงบวก ผลกระทบเชิงลบ • ตลาดขยายกว้าง การ • ต้ องเผชิญกับการแข่ งขัน คมนาคมสะดวกมากขึน ้ สู งขึน ้ • แรงงานฝี มือเคลือนย้ าย ่ ไทย • ผู้ที่ไม่ มีความพร้ อมจะถูก สะดวกในอาเซียน ในกระแส กดดันให้ ต้องเร่ งปรับตัว • มีอาชีพหลากหลายและเพิม ่ มากขึน ้ อาเซียน •เกิดเครือข่ ายบริษทใน ั อาเซียน • นายจ้ างและลูกจ้ างมีโอกาส เลือกมากยิงขึน ่ ้ ปรับตัวและ เตรียมความพร้ อม
  • 54. ประเทศไทยมีแผนการขับเคลือนเข้ าสู่ ประชาคม ่ อาเซียนทุกระดับ นโยบายของรัฐบาลมีจดมุ่งหมาย๓ ประการ ุ นาประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิ จที่สมดุล นาประเทศไทยสู่สงคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ ั นโยบายรัฐบาล นาประเทศไทยไปสู่การเป็ นประชาคมอาเซียนในปี 2558สมบูรณ์ โดยสร้าง ความพร้อมและความเข้มแข็งทังทางด้านเศรษฐกิ จ สังคมและวัฒนธรรม และ ้ การเมืองและความมันคง่ “เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนให้มีมาตรฐาน เป็ นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนการยกระดับทักษะฝี มือแรงงานและ แผนพัฒนาฯ ฉบับ ทักษะด้านภาษาเพื่อเตรียมความพร้อมของแรงงานไทยเข้าสู่ตลาดแรงงาน ที่ 11 ในภูมิภาคอาเซียน โดยไทยมีบทบาทนาในอาเซียนร่วมกับประเทศอื่นที่มี ศักยภาพ” แผนกำรบริหำรรำชกำร เร่ งดำเนินกำรตำมข้ อผูกพันในกำรรวมตัวเป็ น แผ่นดิน พ.ศ. 2555-2558 ประชำคมอำเซียนในปี 2558 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สั งคม และควำมมันคง ตลอดจนกำรเชื่อมโยงเส้ นทำง ่ คมนำคมขนส่ ง ภำยในและภำยนอกภูมภำค ิ
  • 55. ยุทธศาสตร์ ประเทศ และยุทธศาสตร์ การเข้ าสู่ ประชาคม Growth อาเซี ยน & Competitiveness การเสริมสร้าง การเสริมสร้าง ความสามารถในการ แข่งขันของสินค้า ความมั่นคง บริการ การค้าและ การลงทุน กำรพัฒนำ การพัฒนา โครงสร้ำง กฎหมาย กฎ พื้นฐำนและ คน / คุ ณภำพชี วิต / ควำมรู้ / ยุ ติธ รรม และระเบียบ โลจิสติกส์ โครงสร้ ำ งพื้ น ฐำน / ผลิ ตภำพ / วิจั ย และพั ฒนำ ปรับ กำรพัฒนำ Internal กำรเพิ่มศักยภำพ ของเมืองเพื่อ ทรัพยำกร Process เชื่อมโยงโอกำส มนุษย์ จำกอำเซียน ระบบ/กำลั ง คน/ งบประมำณ Inclusive กำรพัฒนำ กำรสร้ำงควำมรู้ Green คุณภำพชีวิต ควำมเข้ำใจ และ Growth และกำร คุ้มครองทำง สังคม ควำมตระหนักถึง ประชำคม อำเซียน Growth กฎระเบี ย บ NESDB
  • 56. กำรบู ร ณำกำรยุ ท ธศำสตร์ ป ระเทศกั บ ยุ ท ธศำสตร์ ก ำรเข้ ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น ก่อนบูรณาการ หลังบูรณาการ ยุทธศำสตร์ประเทศ ยุทธศำสตร์กำรเข้ำสู่ประชำคมอำเซียน ยุทธศำสตร์ประเทศ (Country Strategy) (ASEAN Strategy) (Country Strategy) 4 ยุทธศำสตร์ 8 ยุทธศำสตร์ 4 ยุทธศำสตร์ 1. Growth & Competitiveness 1. การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้า และการลงทุน (ผนวกรวมประเด็นอาเซียนแล้ว) 2. Inclusive Growth 2. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม 1. Growth & Competitiveness 3. Green Growth 4. Internal Process 3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ 2. Inclusive Growth โลจิสติกส์  28 ประเด็นหลัก 4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3. Green Growth  56 แนวทำงกำรดำเนินกำร 5. การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ 4. Internal Process 6. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงการเป็น  30 ประเด็นหลัก ประชาคมอาเซียน  80 แนวทำงกำรดำเนินกำร 7. การเสริมสร้างความมั่นคง 8. การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน NESDB
  • 58. NESDB ประเด็น ยุทธศำสตร์ประเทศ 1. Growth & Competitiveness 2. Inclusive Growth กำรปรับโครงสร้ำงภำคกำรผลิตและบริกำร - พัฒนำกำรศึกษำ สร้ำงโอกำสและรำยได้แก่ - พัฒนำทักษะแรงงำน - ส่งเสริมกำรเข้ำถึง SMEs และเศรษฐกิจ ยุติธรรมของ ปชช. ภำคเกษตร ภำคอุตสำหกรรม ท่องเที่ยว/บริกำร ชุมชน - สร้ำงธรรมำภิบำล Competitiveness เชื่อมโยง ศก. ภูมิภำค Development พัฒนำพื้นที/เมือง - พัฒนำคุณภำพชีวิต/บริกำร ่ ลดควำม เหลื่อมล้ำใน สร้ำงองค์ควำมรู้เรื่อง สำธำรณสุข อำเซียน - พัฒนำระบบสวัสดิกำร สังคม โครงสร้ำงพื้นฐำน พลังงำน วิจัยและพัฒนำ ปรับ กำรเติบโตที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม ่ ปฏิรูป โครงสร้ำง พัฒนำ ปรับ กำลังคน โครงสร้ำง กฎหมำย ระบบ ภำครัฐ ภำษี รำชกำร ลด เมือง นโยบำย บริหำร กำร พัฒนา กำรปล่อย พัฒนำ อุตสำห- กำรคลัง จัดกำร เปลี่ยน สินทรัพย์ ก๊ำซเรือน กระบวน เสริมสร้ำง ปฏิรูป กรรมเชิง เพื่อสิ่ง ทรัพยำกร แปลง ราชการที่ กระจก กำรจัดสรร ควำมมั่นคง กำรเมือง นิเวศ แวดล้อม ธรรมขำติ ภูมิอำกำศ ไม่ได้ใช้ (GHG) งบประมำณ ประโยชน์ 3. Green Growth 4. Internal Process
  • 59. ประเด็ น ที่ ต้ อ งเร่ ง ดำเนิ น กำรก่ อ นกำรเข้ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น ปี 2558 เสำหลัก ประเด็นเร่งด่วน ประชำคมอำเซียน ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 กำรเมือง 1.ระบบยุติธรรม กาหนดแนวทางที่ชัดเจนในการเข้าถึงระบบยุตธรรมของประชาชน ิ และควำม 2. ธรรมำภิบำล ส่งเสริมธรรมาภิบาลในภาครัฐและเอกชน โดยการดาเนินการนาร่องในปี 2556 คือการใช้แนว ปฏิบัติ ASEAN CG ในบริษัทที่จดทะเบียนใน ตลท. ซึ่งรวมถึงการต่อต้านการฟอกเงิน มั่นคง 3.ยำเสพติด จัดตั้งและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายอาเซียนต่อต้านยาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม APSC 4. กำรก่อกำรร้ำยและอำชญำกรรมข้ำมชำติ ร่วมกับประเทศภาคีสมาชิก ARF (ASEAN+16+EU) ใน การต่อต้านการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ รวมถึงการค้ามนุษย์ 5. กำรลักลอบเข้ำเมือง ควบคุมการลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมายอย่างเข้มงวดร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน 6. ภัยพิบัติ เชื่อมโยงข้อมูลและฝึกซ้อมร่วมด้านการป้องกันภัยพิบัติกบประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างเต็มรูปแบบ ั NESDB
  • 60. ประเด็ น ที่ ต้ อ งเร่ ง ดำเนิ น กำรก่ อ นกำรเข้ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น ปี 2558 เสำหลัก ประเด็นเร่งด่วน ประชำคมอำเซียน 2556 2557 2558 เศรษฐกิจ 1.กฎหมำย ผลักดันการออก/ปรับปรุง กม. AEC 1.1 CBTA 3+2 ฉบับ 1.2 การแข่งขันทางการค้า 1.3 หลักประกันทางธุรกิจ 1.4 สัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ 1.5 อนุสัญญาภาษีซ้อนกับกัมพูชาและ บรูไน กฎหมำย (ต่อ) 1.6 ทรัพย์สินทางปัญญา เช่น เครื่องหมายทางการค้า สิทธิบัตรการออกแบบ 1.7 กฎหมายกากับดูแลธุรกิจบริการที่มขอจากัดด้านสัดส่วนผู้ถอหุ้นของต่างชาติ เช่น ธุรกิจโทรคมนาคม โรงเรียน ี้ ื เอกชน 2.ด่ำน (1) พัฒนาประสิทธิภาพด่านที่เป็น 2. ด่ำน เร่งรัดการเปิดด่าน 2. ด่ำน เร่งรัดการเปิดด่าน ประตูเชื่อมโยงการค้าอาเซียน 8 ด่าน (แม่ ถาวรที่มีศักยภาพในอนาคต ถาวรที่มีศักยภาพในอนาคต (บ้าน สาย แม่สอด เชียงของ หนองคาย (บ้านพุน้าร้อน) National พุน้าร้อน) NESDB มุกดาหาร อรัญประเทศ ปาดังเบซาร์ และ Single Window เชื่อมโยง National Single Window สะเดา) (2) เร่งรัดการจัดทาความตกลง ข้อมูลระหว่าง NSW กับระบบ เชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง NSW กับ การขนส่งสินค้าข้ามแดน (นครพนม) ภายในของหน่วยงานราชการ ระบบภายในของหน่วยงาน
  • 61. ประเด็ น ที่ ต้ อ งเร่ ง ดำเนิ น กำรก่ อ นกำรเข้ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น ปี 2558 เสำหลัก ประเด็นเร่งด่วน ประชำคม ปี 2556 2557 2558 อำเซียน เศรษฐกิจ 4. โครงข่ำยคมนำคม 3.1 พัฒนาระบบทางหลวงภายในเชื่อมโยงกับทางหลวงอาเซียนผ่าน 8 ด่านสาคัญ และด่านที่มศกยภาพอีก 3 ีั AEC ด่าน (นครพนม ช่องจอม บ้านพุน้าร้อน) 3.2 พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิระยะที่ 2 3.3 ก่อสร้างถนนมอเตอร์เวย์บางใหญ่-กาญจนบุรี เพื่อรองรับการเชื่อมโยงท่าเรือทวาย 3.4 เปิดประมูลรถไฟความเร็วสูง 4 เส้นทาง 3.5 พัฒนาระบบรถไฟทางคู่ 6 เส้นทาง 3.6 ฝึกอบรมพนักงานขับรถโดยสารและรถบรรทุกข้ามแดน 5. สินค้ำและบริกำร เร่งขยายการจัดทา MRA ด้านการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน 6. SMEs พัฒนาทักษะการประกอบธุรกิจร่วมกับชาติอาเซียน และพัฒนาฝีมือแรงงาน 7. แรงงำนฝีมือ 8 สำขำ จัดทาแผนพัฒนากาลังคนให้เพียงพอในการให้บริการในประเทศ และการรองรับ แรงงานฝีมือ 8 สาขาจากประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งจัดทามาตรฐานวิชาชีพ MRA บุคลากรด้านการท่องเทียว ่ NESDB 8. ข้อมูลธุรกิจอำเซียน 8.1 จัดตั้งศูนย์บริการข้อมูลและให้คาปรึกษาด้านธุรกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนแบบเบ็ดเสร็จ ทั้งในส่วนกลาง
  • 62. ประเด็ น ที่ ต้ อ งเร่ ง ดำเนิ น กำรก่ อ นกำรเข้ ำ สู่ ป ระชำคมอำเซี ย น ปี 2558 เสำหลัก ประเด็นเร่งด่วน ประชำคม ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 อำเซียน สังคมและ 1.ภำษำ จัดทาการสอนและโปรแกรมสอนภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาในอาเซียนให้บุคลากรภาครัฐ SMEs และ ประชาชนทั่วไป วัฒนธรรม 2. ควำมตระหนักรู้เรื่องอำเซียน ฝึกอบรมและใช้สื่อประชาสัมพันธ์แยกตามกลุ่มเป้าหมาย ASCC 3. กำรศึกษำ 3. กำรศึกษำ 3. กำรศึกษำ 3.1 ปรับเวลาเปิดปิดภาคเรียน 3.1 ขยายผลการปรับเวลาเปิดปิดภาค 3.1 ขยายผลการปรับเวลาเปิดปิดภาค ของสถาบันอุดมศึกษาให้ตรง เรียนของสถาบันอุดมศึกษาให้ตรงกับ เรียนของสถาบันอุดมศึกษาให้ตรง กับอาเซียนให้ได้ร้อยละ 25 อาเซียนให้ได้ร้อยละ 50 กับอาเซียนให้ได้ครบทุกแห่ง 3.2 จัดทาแผนการผลิตบุคลากร 3.2 นาร่องการยอมรับมาตรฐานหลักสูตร 3.2 ขยายผลการยอมรับมาตรฐาน เพื่อตอบสนองตลาดแรงงาน ร่วมกันกับประเทศอาเซียน หลักสูตรร่วมกันกับประเทศอาเซียน อาเซียน 4. ASEAN Unit จัดตั้งหน่วยงานภายในระดับกรมและกระทรวงเพื่อประสานงานเรื่องอาเซียนโดยเฉพาะ 5. บุคลำกรภูมิภำค จัด 5. บุคลำกรภูมิภำค จัดอัตรากาลัง 5. บุคลำกรอำเซียน นาร่อง NESDB อัตรา กาลังนักวิเทศสัมพันธ์ นักวิเทศสัมพันธ์ประจาสานักงานจังหวัด โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรภาครัฐกับ ประจาสานักงานจังหวัดทีมเี ขต ่ ทุกจังหวัด ประเทศสมาชิกอาเซียน ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน
  • 63. ความสาคัญของการศึกษา การศึกษาเป็ นรากฐานการพัฒนา สร้ างอาเซียนสู่ การเป็ นประชาคมทีมีความมั่นคงทั้งทางด้ าน ่ เศรษฐกิจ การเมืองและสั งคม กระทรวงศึกษาธิการ มีบทบาทในการขับเคลือนและ ่ พัฒนาความร่ วมมือด้ านการศึกษาเพือนาอาเซียน ่ ก้าวสู่ การเป็ นประชาคมทีเ่ ข้ มแข็ง ในสั งคมแห่ ง ความเอืออาทร สมานฉันท์ รักใคร่ ผูกพัน และร่ วม ้ ตระหนักถึงการมีอตลักษณ์ อาเซียน ท่ ามกลางความ ั หลากหลายทางด้ านเชื้อชาติ ประวัตศาสตร์ และ ิ วัฒนธรรม
  • 64. แผนปฏิบติการด้านการศึกษา ๕ ปี ของASEAN ั ๑. การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน ๒. การเข้าถึงการศึกษาที่มีคณภาพ โดยเฉพาะประชาชนที่อยู่บริเวณ ุ ชายแดน การจัดการศึกษาตลอดชีวิต ๓. การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้านการศึกษา เพื่อสนับสนุนการแบ่งปันในภูมิภาค การสร้าง เอกลักษณ์และความเป็ นเลิศของภูมิภาค ๔. การสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรรายสาขาอื่นๆเพื่อพัฒนา การศึกษา เช่น การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วม ของนักเรียน การส่งเสริมสิทธิมนุษยชนศึกษา เป็ นต้น
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 69. 1. Knowing ASEAN ี ความรูเกียวก ับอาเซยน ้ ่ 2. Valuing Identity and Diversity การเห็นคุณค่าความเปนหนึงและความ ็ ่ หลากหลาย 3. Connecting Global and Local ื่ การเชอมโยงโลกและท้องถิน ่ 4. Promoting Equity and Justice ่ การสงเสริมความเสมอภาคและความยุตธรรม ิ 5. Working Together for a Sustainable Future การทางานร่วมก ันเพือ ่ 69 อนาคตทียงยืน ่ ่ั
  • 70.
  • 71. การเตรียมพร้อมเข้าสู่ ประชาคม อาเซียน
  • 73. กาหนดภาพเด็กไทย ใน ASEAN World Class Schools (500 โรง) -ASEAN Focus School (14 โรง) -Education Hub school (14 โรง) Spirit Of ASEAN - Sister/partner school (30 โรง) - Buffer school (24 โรง) Connecting classroom : พัฒนาการเรียนการสอนร่ วมกับประเทศอาเซียน และ ประเทศอืนๆ่
  • 74. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 75.
  • 76. สถิตินักเรียน สั งกัด สพฐ. ที่เรียนภาษาต่ างประเทศ Khmer Vietnamese Burmese Russian Spanish German French Korean Japanese Chinese 0 20000 40000 60000 80000 100000 120000 140000 160000 180000 200000 Chinese Japanese Korean French German Spanish Russian Burmese Vietnamese Khmer จานวนนักเรียน มัธยมปลาย 120287 33800 5318 50190 5160 150 89 6426 2473 519 จานวนนักเรียน มัธยมต้ น 199140 16200 4712 5322 945 3990 2254 1357 ข้ อมูลจาก OBEC ณ วันที่ 7 กันยายน 2555
  • 77. สถิติโรงเรียนในสั งกัด สพฐ.ที่มีการเรียนการสอน ภาษาต่ างประเทศในโรงเรียน 400 350 300 250 จานวนโรงเรียน (โรง) 200 150 100 50 0 Chinese Japanese Korean French German Spanish Russian Burmese Vietnamese Khmer จานวนโรงเรี ยน มัธยมต้น 340 74 29 57 3 20 5 จานวนโรงเรี ยน มัธยมปลาย 389 230 45 262 30 2 5 35 21 4 ข้ อมูลจาก OBEC ณ วันที่ 7 กันยายน 2555
  • 78. สถิตจานวนครู ในโรงเรียนสั งกัด สพฐ.ทีสอนภาษาต่ างประเทศ ิ ่ 600 500 400 จานวนครู (คน) 300 200 100 0 Chinese Japanes Korean French German Spanish Russian Burmes Vietnam Khmer e e ese วิชาหลัก 350 30 15 502 24 2 0 2 3 2 ไม่ใช่วชาหลัก ิ 100 150 29 18 0 0 13 5 2 ครู เจ้าของภาษา 600 50 43 15 11 1 0 19 5 4 ข้ อมูลจาก OBEC ณ วันที่ 7 กันยายน 2555
  • 79. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 80. ดร.เบญจลักษณ์ น ้ำฟำ รองเลขำธิกำร สพฐ. ้
  • 81. ประเด็นท้ าทายของอาเซียน (กรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ) ความแตกต่ าง ความแตกต่ าง การแข่ งขันของมหาอานาจ ด้ านเชือชาติ ศาสนา ้ สถาบันการเมือง สหรัฐ รัสเซีย จีน ระดับการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม อินเดีย ญี่ปน ุ่ ประชาคมอาเซียน การแข่ งขันเพื่อแย่ งชิง ผลประโยชน์ แห่ งชาติ ทรัพยากร แรงงาน ความผันผวนของ VS ตลาด เงินทุน ระบบการเงินและ ศก. ภูมภาค ิ และการจัดทา FTA การแข่ งขัน ขาดความไว้ ใจ
  • 82. การปรั บตัวของภาคราชการไทย เพื่อเตรี ยมความพร้ อมสู่ประชาคมอาเซียน Structural Change Mindset Learning Change ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
  • 83. การปรั บตัวของภาคราชการไทย เพื่อเตรี ยมความพร้ อมสู่ประชาคมอาเซียน Structural Change Mindset Change Learning ส่ งเสริมการเรี ยนรู้ และ ปรั บโครงสร้ าง เปลี่ยนมุมมองเป็ น พัฒนาทักษะที่จาเป็ น ส่ วนราชการเพื่อ “เราจะสร้ างประโยชน์ สาหรั บการปฏิบัตงานของิ รองรั บการรวมตัว อะไรให้ กับอาเซียน” ข้ าราชการ รวมทังเพี่อสร้ าง ้ เป็ นประชาคม รวมทังขยายขอบเขต ้ เครื อข่ ายกับประชาชนใน อาเซียน การคิด การขับเคลื่อนการเป็ น ประชาคมอาเซียน ข้ อมูลกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ 83
  • 84. ท ัศนคติ สมรรถนะใหม่ของบุคลากรภาคร ัฐ/เอกชน รอบรู้ และรอบตัว เรียนรู้อย่ างต่ อเนื่อง ตื่นตัว สามารถคาดการณ์ สถานการณ์ และพร้ อมรับการเปลียนแปลง่ อย่ างยืดหยุ่น มุ่งมั่น รับผิดชอบต่ องานและมีคุณธรรม เปิ ดกว้ างและให้ ความสาคัญต่ อความเข้ มแข็งของภาคส่ วนต่ างๆ มีทักษะทางภาษาต่ างประเทศ ภาษาไอทีและการสื่ อสาร มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติทจะช่ วยบริหารความขัดแย้ งในระดับต่ างๆ ี่ มีวัฒนธรรมการทางานทีเ่ น้ นการแลกเปลียนความเห็น ยอมรับใน ่ ความหลากหลาย
  • 85. การขับเคลือนสู่ .....ASEAN ่ เน้ นพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มากกว่ าการพัฒนาองค์ กร การคิดก้ าวไกล (Thinking beyond borders) บทบาทของคณาจารย์ /บุคลากร/เจ้ าหน้ าทีในฐานะผู้สร้ าง ่ อนาคตของอาเซียน การเป็ นพลโลก(global citizen)/พลเมืองอาเซียน(ASEAN citizen)แต่ คงความเป็ นไทย (Thai citizen)
  • 86. การเตรียมความพร้ อมด้ านทักษะ ทักษะด้ านภาษา (ภาษาอังกฤษ ภาษาอาเซียน) ทักษะชีวต ความรู้ เรื่องอาเซียน และประเทศสมาชิก (ปรับทัศนคติ) ิ ทักษะวิชาชีพ ทีได้ มาตรฐานอาเซียนและมาตรฐานสากล ่ ทักษะการสื่ อสาร เพือความเป็ นสากล (internationalization) ่
  • 87. ความพร้ อมด้ านทัศนคติ  มองให้ไกลกว่าประเทศไทย  ทัศนคติเชิงบวกต่อการเป็ นประชาคมอาเซียน  การทางานเป็ นทีม การทางานข้ามวันนธรรม  การมองประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ในเชิงเท่า เทียมกันและเป็ นสมาชิกร่ วมประชาคมเดียวกัน
  • 88. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การเตรียมความพร้ อมด้ านการศึกษาของประเทศไทยเพือก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๘” ่ ดร.สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน อาเซี ยนเป็ นเพียงบ้านพักริ มทาง เราสามารถที่จะแข่งขันและก้าวไปสู่ โลกกว้างได้ ซึ่ งในความเป็ นจริ งในโลกกว้าง ไม่สามารถมีใครมายับยั้งเราได้ ่ แต่หากเรายังพอใจอยูแต่ในบ้านที่มนคงและไม่ตองการที่จะออกไปไหน ั่ ้ เมื่อมีการเปิ ดโลก เราจะหลงทิศทาง เพราะมีความกดดันมากเกินไป ่ ่ ดังนั้น จึงต้องมีสติ เมื่อเราอยูรอดในอาเซี ยนได้ โอกาสที่จะอยูรอดในการ แข่งขันกับโลกที่กว้างขึ้นก็จะมากขึ้น เยาวชนต้องพร้อมที่จะเดินหน้าต่อไปในอนาคตเพราะอาเซี ยนสร้างไว้เพื่ออนาคต แต่หากพ่อ แม่ ผูปกครอง ครู อาจารย์ ไม่เห็นความสาคัญ ้ อาเซี ยนก็จะเป็ นของคนอื่น ถึงเวลานั้นผูให้กาเนิดอาเซี ยน...ซึ่ งคือประเทศไทย ก็จะได้เพียงเฝ้ าดูและเสี ยใจ ้ ดังนั้น จึงต้องการที่จะเตือนสติเรื่ องนี้วา “อาเซี ยนเป็ นเรื่ องของคุณในอนาคต” ่
  • 89. โจทย์ สาหรับการเตรียมพร้ อมเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน ประเทศไทยมีจุดเด่ นอะไร ทุกภาคส่ วนจะร่ วมกันพัฒนาคนเพือรับมือ”ประชาคมอาเซียน” ่ อย่ างไร จะสร้ างความรู้ ความข้ าใจเรื่องอาเซียน ในสั งคมอย่ างไร ด้ วย วิธีการใด โรงเรียนจะมีบทบาทสนับสนุนท้ องถิน ชุมชน สั งคมในการเตรียม ่ ความพร้ อมอย่ างไร
  • 90. โจทย์ อภิปราย 1.นักเรียนควรมีคุณลักษณะและสมรรถนะ อย่ างไร?  2สถานศึกษาควรปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย อย่ างไรเพือให้ นักเรียนมีความพร้ อมเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียนและเป็ นพล ่ โลก? 3.ผู้ บริหาร/อาจารย์ ควรจะมีบทบาทอย่ างไรในการออกแบบระบบการ เรียนการสอนให้ นักเรียนมีสมรรถนะพร้ อมทีจะเข้ าสู่ ตลาดแรงงานอย่ าง ่ มีคุณภาพ? 4.ผู้ ปกครอง/ชุ มชน/ท้ องถิ่น ควรมีบทบาทสนับสนุนการเตรียมพร้ อม อย่ างไร 4.ทาอย่ างไรทีจะสร้ างเครือข่ ายสถานศึกษาเพือการพัฒนาทุกระดับ เพือ ่ ่ ่ สร้ างสั งคมแห่ งการเอืออาทร/สมานฉันท์ ? ้
  • 91. Thank You! L/O/G/O