SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
หลักเศรษฐศาสตร์
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน
และประโยชน์ของการนาความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจ
Hi!
Hello!
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
(Price Elasticity of Demand)
หมายถึง % การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ของสินค้าหนึ่ง เมื่อราคาสินค้านั้นเปลี่ยนแปลงไป 1%
𝐸 𝑑=
%∆𝑄
%∆𝑃
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
- จะมีค่าเป็นลบเสมอ เช่น 𝐸 𝑑 = -2 หมายความว่า
- ถ้าราคา A เพิ่ม 1% ปริมาณซื้อจะลด 2%
- ถ้าราคา A ลด 1% ปริมาณซื้อจะเพิ่ม 2%
- อุปสงค์ความยืดหยุ่นมาก = ค่าไม่คิดเครื่องหมายของ มีค่ามากกว่า 1 คือ
- ราคาเปลี่ยนไป 1% ปริมาณซื้อเปลี่ยนไปมากกว่า 1% (เช่น 𝐸 𝑑 = -2 คือ
ปริมาณซื้อเปลี่ยนไป 2% ในทิศทางตรงกันข้ามกับการเปลี่ยนของราคา)
- อุปสงค์ยืดหยุ่นน้อย = ค่าไม่คิดเครื่องหมายของ มีค่าน้อยกว่า 1 คือ
- ราคาเปลี่ยนไป 1% ปริมาณซื้อเปลี่ยนไปน้อยกว่า 1% (เช่น 𝐸 𝑑 = -0.5
คือปริมาณซื้อเปลี่ยนไป 0.5% ในทิศทางตรงกันข้ามกับการเปลี่ยนแปลง
ของราคา)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
- ค่า 𝐸 𝑑 ทาให้ทราบว่า ถ้าราคาเปลี่ยนแปลง ปริมาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงตอบสนองมาก /
น้อย เพียงใด
- สูตรคานวณ 𝐸 𝑑
- 𝐸 𝑑 เฉพาะจุด
𝐸 𝑑 =
𝑄2− 𝑄1
𝑃2−𝑃1
×
𝑃1
𝑄1
- 𝐸 𝑑 แบบช่วง
𝐸 𝑑 =
𝑄2− 𝑄1
𝑃2−𝑃1
×
𝑃2+𝑃1
𝑄2+𝑄1
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
โดยที่ 𝑃1 = ราคาเดิม 𝑃2 = ราคาใหม่
𝑄1 = ปริมาณซื้อเดิม 𝑄2 = ปริมาณซื้อใหม่
- ตัวอย่าง ถ้าน้าอัดลมราคาลดลงจากขวดละ 10 บ. เป็น 8 บ. ทาให้ปริมาณซื้อ
เพิ่มขึ้นจาก 100 ขวด/วัน เป็น 140 ขวด/วัน ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาใน
กรณีนี้เป็นเท่าใด
- จากตัวอย่าง 𝑃1=10 𝑃2=8 𝑄1=100 𝑄2=140
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุ่นที่จุด A =
140−100
8−10
-
10
100
= -2
ความยืดหยุ่นของช่วง AB =
140−100
8−10
×
8+10
140+100
= -1.5
การพิจารณาค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา
จากลักษณะเส้นอุปสงค์
แยกพิจารณาได้ 5 กรณี คือ
1. ไม่ยืดหยุ่นเลย (Perfectly Inelastic) 𝐸 𝑑=0
- เส้นอุปสงค์เป็นเส้นตั้งฉากกับแกนนอน
- ราคาจะเปลี่ยนไปอย่างไร ก็ไม่มีผลต่อปริมาณซื้อ
2. ยืดหยุ่นน้อย (Inelastic) 𝐸 𝑑 น้อยกว่า 1
- ปริมาณซื้อเปลี่ยนไปเล็กน้อยเมื่อเทียบกับราคา
3. ยืดหยุ่นเท่ากับ 1 (Unitary Elastic) 𝐸 𝑑= 1
- ปริมาณซื้อเปลี่ยนไปเป็นเปอร์เซ็นต์เท่ากับราคา
4. ยืดหยุ่นมาก (Elastic) 𝐸 𝑑 มากกว่า 1
- ปริมาณซื้อเปลี่ยนไปมากเมื่อเทียบกับราคา
5. ยืดหยุ่นโดยสมบูรณ์ (Perfectly Elastic) 𝐸 𝑑= ∞
- เส้นอุปสงค์เป็นเส้นขนานกับแกนนอน
- ราคาสูงขึ้นเพียงเล็กน้อยจะไม่มีการซื้อเลย
ความสัมพันธ์ระหว่าง 𝐸 𝑑 กับรายจ่ายผู้บริโภค
• รายจ่ายของผู้บริโภค (Total Expenditure : TE) 𝑃 × 𝑄
• ถ้าอุปสงค์ยืดหยุ่นน้อย
- ราคาลด คนซื้อเพิ่มไม่มาก → รายจ่ายผู้บริโภคลดลง
- ราคาขึ้น คนซื้อลดลงไม่มาก → รายจ่ายเพิ่มขึ้น
• ถ้าอุปสงค์ยืดหยุ่นมาก
- ราคาลด คนซื้อเพิ่มขึ้นมาก → รายจ่ายเพิ่มขึ้น
-ราคาเพิ่ม คนซื้อลดลงมาก → รายจ่ายลดลง
ปัจจัยกาหนดค่าความยืดหยุ่นของ
อุปสงค์ต่อราคา
สินค้าที่มีความยืดหยุ่นสูง มักมีลักษณะดังนี้
- มีสินค้าอื่นใช้ทดแทนได้มาก
- เป็นสินค้าคงทน
- เป็นสินค้าราคาแพง หรือสินค้าฟุ่มเฟือย
- ระยะเวลาที่พิจารณาค่าความยืดหยุ่นนาน
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
(Elasticity of Supply)
หมายถึง % การเปลี่ยนแปลงปริมาณขายของสินค้าหนึ่ง เมื่อราคาสินค้านั้นเปลี่ยนไป 1%
𝐸𝑠=
%∆𝑄
%∆𝑃
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
จะมีค่าเป็นบวกเสมอ เช่น 𝐸𝑠 = 1.2 หมายความว่า
- ถ้าราคา A เพิ่มขึ้น 1% ปริมาณขายจะเพิ่มขึ้น 1.2%
- ถ้าราคา A ลด 1% ปริมาณขายจะลดลง 1.2%
- ดังนั้น ถ้าราคา A เพิ่มขึ้น 5% ปริมาณซื้อจะเพิ่ม 5×1.2 = 6%
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
● อุปทานยืดหยุ่นมาก (Elastic) = ค่า 𝐸𝑠 มีค่ามากกว่า 1 คือ
- ราคาเปลี่ยนไป 1% ปริมาณขายเปลี่ยนไปมากกว่า 1% (เช่น 𝐸𝑠 = 1.2 คือปริมาณขาย
เปลี่ยนไป 1.2% ในทิศทางเดียวกันกับราคา)
● อุปทานยืดหยุ่นน้อย (Inelastic) = ค่า 𝐸𝑠 มีค่าน้อยกว่า 1 คือ
- ราคาเปลี่ยนไป 1% ปริมาณขายเปลี่ยนไปน้อยกว่า 1% (เช่น 𝐸𝑠 = 0.5 คือปริมาณขาย
เปลี่ยนไป 0.5% ในทิศทางเดียวกันกับราคา)
ค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
- ค่า 𝐸𝑠 ทาให้ทราบว่า ถ้าราคาเปลี่ยนแปลง ผู้ผลิตจะเปลี่ยนแปลงการผลิตตอบสนอง
มาก/น้อยเพียงใด
- สูตรคานวณค่า 𝐸𝑠
- 𝐸𝑠 เฉพาะจุด
𝐸𝑠 =
𝑄2− 𝑄1
𝑃2−𝑃1
×
𝑃1
𝑄1
- 𝐸𝑠 แบบช่วง
𝐸 𝑑 =
𝑄2− 𝑄1
𝑃2−𝑃1
×
𝑃2+𝑃1
𝑄2+𝑄1
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
โดยที่ 𝑃1 = ราคาเดิม 𝑃2 = ราคาใหม่
𝑄1 = ปริมาณขายเดิม 𝑄2 = ปริมาณขายใหม่
- ตัวอย่าง ถ้าส้มราคาสูงขึ้นจาก กก. ละ 8 บาท เป็น 9 บาท ทาให้ปริมาณเสนอขายขาย
เพิ่มขึ้นจาก 7 กก./วัน เป็น 8 กก./วัน ความยืดหยุ่นของอุปทานในกรณีนี้เป็นเท่าใด
- จากตัวอย่าง 𝑃1= 8 𝑃2= 9 𝑄1= 7 𝑄2= 8
ความยืดหยุ่นของอุปทาน
ความยืดหยุ่นที่จุด A =
8−7
9−8
-
8
7
= 1.14
ความยืดหยุ่นของช่วง AB =
8−7
9−8
×
9+8
8+7
= 1.13
การพิจารณาค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา
จากลักษณะเส้นอุปสงค์
1. ไม่ยืดหยุ่นเลย (Perfectly Inelastic) 𝐸𝑠=0
- เส้นอุปทานเป็นเส้นตั้งฉากกับแกนนอน
- ราคาจะเปลี่ยนอย่างไรก็ไม่มีผลต่อปริมาณ
เสนอขาย
2. ยืดหยุ่นน้อย (Inelastic) 𝐸𝑠 น้อยกว่า 1
- ปลายหนึ่งจะตัดกับแกนนอน
- ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนไปน้อย เมื่อเทียบ
กับราคา
แยกพิจารณาได้ 5 กรณี คือ
3. ยืดหยุ่นเท่ากับ 1 (Unitary Elastic) 𝐸𝑠= 1
- เส้นอุปทานเป็นเส้นออกจากจุด origin
- ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนไปเป็นเปอร์เซ็นต์เท่ากับราคา
4. ยืดหยุ่นมาก (Elastic) 𝐸𝑠 มากกว่า 1
- ปลายหนึ่งจะตัดกับแกนตั้ง
- ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนไปมากเมื่อเทียบกับราคา
5. ยืดหยุ่นโดยสมบูรณ์ (Perfectly Elastic) 𝐸𝑠= ∞
- เส้นอุปทานเป็นเส้นขนานกับแกนนอน
ปัจจัยกาหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
• ประเภทของสินค้า
- สินค้าอุตสาหกรรมยืดหยุ่นสูง
- สินค้าเกษตรยืดหยุ่นต่า
• ค่าใช้จ่าย
- ค่าใช้จ่ายต่ายืดหยุ่นสูง
- ค่าใช้จ่ายสูงยืดหยุ่นต่า
• เวลาที่ใช้ในการผลิต
- ใช้เวลาในการผลิตน้อย ยืดหยุ่นสูง
- ใช้เวลาในการผลิตนาน ยืดหยุ่นต่า
• ระยะเวลาที่พิจารณาค่าความยืดหยุ่น
- ระยะยาว ยืดหยุ่นสูง
- ระยะสั้น ยืดหยุ่นต่า
การแทรกแซงราคา
● รัฐบาลอาจะเข้าไปแทรกแซงตลาด ทาให้กลไกราคาไม่อาจทาหน้าที่ได้เต็มประสิทธิภาพ
ตลาดจึงไม่สามารถปรับเข้าสู่ดุลยภาพได้
● การแทรกแซงราคาโดยทั่งไปมี 2 มาตรการ
- การประกันราคาขั้นต่า (Price Support)
- การกาหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling)
การประกันราคาขั้นต่า (Price Support)
• ทาเมื่อราคาดุลยภาพต่าเกินไป ผู้ผลิตเดือดร้อน เช่น เกษตรกรขายผลไม้ได้ในราคาต่า
• รัฐบาลเข้ามาช่วย โดยกาหนดราคาประกันให้สูงกว่าราคาดุลยภาพ
การกาหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling)
• ทาเมื่อราคาดุลยภาพสูงเกินไป ผู้บริโภคเดือดร้อน เช่น ราคายาแพงมาก
• รัฐบาลเข้ามาช่วยโดยกาหนดราคาขั้นสูงให้ต่ากว่าราคาดุลยภาพ
• ราคาขั้นสูง หมายถึง ราคาสูงสุดที่จะยอมให้ซื้อขายกันได้ รัฐจะไม่ยอมให้ราคาสูงกว่านั้น
การกาหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling)
• สินค้ามีไม่พอต่อความต้องการ ทาให้เกิด
- เข้าคิวยาว
- ผู้ผลิตลดดุลยภาพ
- ลักลอบซื้อขายในราคาสูงในตลาดมืด
• รัฐบาลจะต้องมีมาตรการอื่นควบคู่ไปด้วย เช่น ปันส่วน
การเก็บภาษีสินค้า
• การที่รัฐบาลจัดเก็บภาษีจากผู้ขาย โดยทั่วไปผู้ขายจะสามารถผลักภาระบางส่วน
ไปสู่ผู้บริโภคได้ เพราะภาษีมักทาให้ราคาขายแพงขึ้น
• การจะผลักภาษีของสินค้าใดได้มากน้อยเพียงใดจะขึ้นกับคสามยืดหยุ่นของอุปสงค์
ต่อราคาของสินค้านั้น
การเก็บภาษีจากผู้ขาย
• การเก็บภาษีจากผู้ขาย มีได้ 2 ลักษณะ
- Specific Tax เก็บภาษีต่อหน่วยสินค้า เช่น ภาษี 10 บาท ต่อกล่อง ต่อขวด เป็นต้น
- Ad Valorem Tax เก็บภาษีตามมูลค่า โดยคิดเป็นร้อยละของราคาสินค้านั้น เช่น
ร้อยละ 7 ของราคา เป็นต้น
• ผลของการเก็บภาษีจะทาให้เส้นอุปทานเลื่อนขึ้นจากเส้นเดิม
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรู้ค่าความยืดหยุ่น
- รัฐต้องการเก็บภาษีต่อหน่วยของสินค้าเพื่อจัดหารายได้
- การเก็บภาษีจะทาให้ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น และส่งผลให้ปริมาณเสนอซื้อลดลง
- 𝐸 𝑑 สูง จะเก็บภาษีได้น้อย และ 𝐸 𝑑ต่า จะเก็บภาษีได้มากเนื่องจาก
- 𝐸 𝑑 สูง : อัตราการเพิ่มของ P น้อยกว่าอัตราการลดของ Q
- 𝐸 𝑑 ต่า : อัตราการเพิ่มของ P มากกว่าอัตราการลดของ Q
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรู้ค่าความยืดหยุ่น
การขอขึ้นค่าแรงของสหภาพแรงงาน
- การขึ้นค่าแรง จะส่งผลให้ผู้จ้างลดการจ้างงานลง
- พิจารณาอานาจการต่อรองของสหภาพแรงงาน จะเห็นว่า
- 𝐸 𝑑 สูง สหภาพแรงงานจะมีอานาจการต่อรองต่า
- 𝐸 𝑑 ต่า สหภาพแรงงานจะมีอานาจการต่อรองสูง
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรู้ค่าความยืดหยุ่น
การขอขึ้นค่าแรงของสหภาพแรงงาน(ต่อ)
- เนื่องจาก
- 𝐸 𝑑 สูง : อัตราการเพิ่มของ W น้อยกว่าอัตราการลดจานวนการจ้างงาน
- 𝐸 𝑑 ต่า : อัตราการเพิ่มของ W มากกว่าอัตราการลดจานวนการจ้างงาน

More Related Content

What's hot

Powerpoint อุปสงค์ อุปทาน
Powerpoint อุปสงค์  อุปทานPowerpoint อุปสงค์  อุปทาน
Powerpoint อุปสงค์ อุปทานwarinda_lorsawat
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supplybnongluk
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานVolunteerCharmSchool
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคVolunteerCharmSchool
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticitybnongluk
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติBangon Suyana
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3Nitinop Tongwassanasong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 

What's hot (20)

Powerpoint อุปสงค์ อุปทาน
Powerpoint อุปสงค์  อุปทานPowerpoint อุปสงค์  อุปทาน
Powerpoint อุปสงค์ อุปทาน
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticity
 
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติหน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
 
อธิบาย Precision vs Recall แบบง่ายๆ
อธิบาย Precision vs Recall แบบง่ายๆอธิบาย Precision vs Recall แบบง่ายๆ
อธิบาย Precision vs Recall แบบง่ายๆ
 

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจ