SlideShare a Scribd company logo
ความสาคัญของการคิด
ED487104 กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวศิริพร ภูยอดตา รหัส 635050125-3
สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เอกการสอนเคมี
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความสาคัญของการคิด
2
1. การคิดเชิงวิเคราะห์
2. การคิดอย่างมีวิจารญาณ
3.การคิดสร้างสรรค์
4.การคิดแก้ปัญหา
5.การคิดเชิงคานวณ
1.การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
ความหมาย
ความสาคัญ
เป็นการใคร่ครวญ ตรึกตรองอย่างละเอียดรอบคอบแยกเป็นส่วน ๆ ในเรื่องราวต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล
โดยหาจุดเด่น จุดด้อยของเรื่องนั้น ๆ และเสนอแนะสิ่งที่เหมาะสมอย่างมีความเป็นธรรมและ
เป็นไปได้ ราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 251, 1071)
ช่วยให้เรารู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องหลังของสิ่งที่เกิดขึ้น
เข้าใจความเป็นมาเป็นไปของเหตุการณ์ต่าง ๆ
เป็นฐานความรู้ในการนาไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหา
ช่วยให้เราหาเหตุผลที่สมเหตุสมผลให้กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
ช่วยประมาณความน่าจะเป็น
4
5 ขั้นตอนการคิดเชิงวิเคราะห์
1. ระบุปัญหาหรือข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์ให้ชัดเจน
2. รวบรวมและประมวลผลข้อมูล
3. พัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้
4. นาแนวทางการแก้ปัญหาไปทดสอบ
5. เลือกแนวทางที่ดีที่สุดไปดาเนินการใช้
การนาไปใช้ในการเรียน
ระบุปัญหาหรือวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลองได้ชัดเจน
ทาการทดลองซ้าเมื่อผลการทดลองตัวนั้นให้ค่าแตกต่างกัน
วิเคราะห์หาปริมาณสารที่แน่นอนก่อนเตรียมการสังเคราะห์สารได้
1.การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
5
2.การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking )
ความหมาย
ความสาคัญ
มีความมั่นใจในการเผชิญต่อปัญหาและแก้ไขปัญหานั้น ๆ ได้ถูกทาง
สามารถตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล
วิเคราะห์ด้วยเหตุผลก่อนตัดสินใจ
มีระบบความคิดอย่างเป็นขั้นตอน
 มีทักษะในการสื่อสารกับผู้อื่นได้ดี
การพัฒนาวิธีคิดอย่างมีวิจารณญาณอยู่เสมอ
เป็นผู้มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย
เป็นผู้ปฏิบัติงานอยู่บนหลักการและเหตุผล
สุคนธ์ สินธพานนท์และคณะ (2552 : 72-73)
การรู้จักใช้ความคิดพิจารณาวิเคราะห์สังเคราะห์ และประเมินผลในเนื้อหาหรือเหตุการณ์ที่เป็น
ปัญหาหรือข้อขัดแย้งโดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์ของตนเพื่อนาไปสู่การตัดสินใน
การปฏิบัติด้วยความเหมาะสมอันสอดคล้องกับหลักการ และเหตุผล
6
6 ขั้นตอนการคิดอย่างมีวิจารญาณ
1. การนิยามปัญหา หมายถึงการกาหนดประเด็นปัญหา
2. การรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับประเด็นปัญหาข้อโต้แย้งที่คลุมเครือ
3. การจัดระบบข้อมูล หมายถึงการพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล
4. การตั้งสมมติฐาน หมายถึงการนาข้อมูลที่จัดระบบแล้วมาเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์
5.การสรุปอ้างอิงโดยใช้หลักตรรกศาสตร์
6. การประเมินสรุปอ้างอิง หมายถึงการประเมินความสมเหตุสมผลของการสรุปอ้างอิง
การนาไปใช้ในการเรียน
สามารถหาข้อมูลหรืองานวิจัยจากแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือได้เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิง
เปรียบเทียบผลการทดลองกับข้อมูลที่ใช้เป็นตัวอ้างอิงว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่
พิจารณาปัญหาที่พบในการทดลองว่าเกิดจากอะไร พร้อมหาทางแก้ไขปัญหา
2.การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking )
7
3.ความคิดสร้างสรรค์ ( Creative Thinking )
ความหมาย
o เป็นความสามารถด้านสมองที่จะคิดได้หลายแนวทางหรือคิดได้หลายคาตอบ เรียกว่า การคิด
แบบอเนกนัย (Guilford (1956 : 128) )
o เป็นกระบวนการทางสมองที่คิดในลักษณะอเนกนัย อันนาไปสู่การคิดพบสิ่งแปลกใหม่ด้วย
การคิดดัดแปลง ปรุงแต่งจากความคิดเดิมผสมผสานกันให้เกิดสิ่งใหม่ ซึ่งรวมทั้งการประดิษฐ์
คิดค้นพบสิ่งต่างๆ ตลอดจนวิธีการคิด ทฤษฎีหลักการได้สาเร็จ (อารี พันธ์มณี (2537 : 25) )
ความสาคัญ
ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดแนวทางใหม่ๆ ในการดาเนินชีวิต
ก่อให้เกิดความสนุก
พัฒนาสมองของคนให้มีความฉลาดเฉียบคม
สร้างความเชื่อมั่น ความน่านับถือและความพอใจในตัวเองขึ้นมา
พัฒนาขีดความสามารถในการคิดสร้างสรรค์จนสามารถเผชิญหน้าและ
แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างราบรื่น
8
ความคิดสร้างสรรค์ประกอบด้วย
1. ความคล่องแคล่วในการคิด รวดเร็ว และมีคาตอบในปริมาณที่มากในเวลาจากัด
2. ความคิดยืดหยุ่นในการคิด คิดหาคาตอบได้หลายประเภทและหลายทิศทาง
3. ความคิดริเริ่ม คิดหาสิ่งแปลกใหม่และเป็นคาตอบที่ไม่ซ้ากับผู้อื่น
4. ความคิดละเอียดลออ กาหนดรายละเอียดของความคิดเพื่อบ่งบอกถึงวิธีสร้างและการนาไปใช้
การนาไปใช้ในการเรียน
สามารถอธิบายแบบจาลองทางเคมี
คาดการณ์โครงสร้างของสารที่สังเคราะห์ได้หลังจากนาไปพิสูจน์เอกลักษณ์
อธิบายกลไกที่มองไม่เห็นออกมาเป็นรูปภาพหรือกราฟได้
3.ความคิดสร้างสรรค์ ( Creative Thinking )
9
4.การคิดแก้ปัญหา (problem solving thinking)
ความหมาย
ความสามารถทางสมองในการขจัดสภาวะความไม่สมดุลที่เกิดขึ้น โดยพยายาม ปรับตัวเองและ
สิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกลับเข้าสู่สภาวะสมดุลหรือสภาวะที่เราคาดหวัง
ความสาคัญ
 ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบ
 ฝึกการหาคาตอบอย่างมีเหตุผล
 แก้ปัญหาได้โดยมีข้อบกพร่องน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย
 เป็นที่น่าเชื่อถือและยอมรับจากบุคคลทั่วไป เมื่อสามารถแก้ปัญหาได้
ด้วยตนเอง โดยใช้หลักเหตุและผล
10
5 ขั้นตอนการคิดแก้ปัญหา
1. การประเมินสถานการณ์ เป็นการวิเคราะห์ถึงสภาพ ขอบเขต ขนาดของปัญหา
2. การค้นหาต้นเหตุของปัญหา เป็นการศึกษาถึงต้นเหตุ หรือปัจจัยของปัญหา
3. การค้นหาวิธีการแก้ปัญหา เป็นการแสวงหาแนวทาง และทางเลือกที่เหมาะสมในการ
แก้ปัญหานั้นๆ เพื่อการประเมินหาทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
4. การดาเนินการแก้ปัญหา เป็นการเลือกโดยการประเมินวิธีการเพื่อทาให้เกิดประโยชน์สูงสุด
5. การควบคุมกากับการดาเนินการ เป็นการติดตามผลการปฏิบัติเป็นระยะ ๆ เพื่อให้สามารถ
แก้ไขปัญหาที่เกิดได้
การนาไปใช้ในการเรียน
การคิดแก้ปัญหา (problem solving thinking)
หาต้นเหตุของปัญหาจากการทดลองและหาวิธีการแก้ไขอย่างเหมาะสม
สามารถประยุกต์ใช้สารเคมีหรืออุปกรณ์ที่ใช้แทนกันได้ เมื่อไม่มีสารหรืออุปกรณ์ชนิดนั้น
มีการตรวจวัดสารซ้าหลายครั้งเพื่อเป็นการเปรียบเทียบข้อมูลในแต่ละครั้ง เมื่อผลไม่ได้
ตามที่ต้องการหรือมีคลาดเคลื่อนมากต้องมีการทดลองใหม่
4.การคิดแก้ปัญหา (problem solving thinking)
11
5.การคิดเชิงคานวณ (Computational thinking)
ความหมาย
กระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ เช่น การจัดลาดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูล
และการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละขั้นตอน (หรือที่เรียกวว่า อัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหาที่
ช่วยให้รับมือกับปัญหาที่ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดได้
ความสาคัญ
สร้างความชานาญ เป็นการฝึกทักษะผ่านการเล่น การสารวจ
สร้างความสามัคคี ทางานร่วมกัน เป็นการทางานร่วมกับผู้อื่น
สร้างความคิดสร้างสรรค์เป็นการคิดค้นสิ่งที่เป็นต้นแบบ หรือสร้างสรรค์คุณค่าให้กับกิจกรรมใด ๆ
สร้างวิธีการแก้ไขจุดบกพร่อง เป็นการเรียนรู้ที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
สร้างความอดทน ความพยายาม เป็นการเผชิญหน้ากับความท้าทายในการทากิจกรรมที่ยากและ
ซับซ้อน
12
4 แนวคิดย่อย
1. Decomposition(การย่อยปัญหา) หมายถึงการย่อยปัญหาหรือระบบที่ซับซ้อนออกเป็นส่วนเล็กๆ
2. Pattern Recognition(การจดจารูปแบบ) คือการหารูปแบบหรือลักษณะที่เหมือนกันของปัญหา
เล็กๆ ที่ถูกย่อยออกมา
3. Abstraction (ความคิดด้านนามธรรม) คือการมุ่งความคิดไปที่ข้อมูลสาคัญ และคัดกรองส่วนที่ไม่
เกี่ยวข้องออกไป
4. Algorithm Design (การออกแบบอัลกอริทึ่ม) คือการพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
หรือสร้างหลักเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อดาเนินตามทีละขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา
การนาไปใช้ในการเรียน
คานวณโดยใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สร้างกราฟหรือไดอะแกรมด้วยโปรแกรมในคอมพิวเตอร์
มีการจาแนกระบบในการสกัดแยกสารได้เป็นส่วนๆ อย่างชัดเจนและไม่ซับซ้อน
5.การคิดเชิงคานวณ (Computational thinking)
Concept map
13
1. การคิดเชิงวิเคราะห์
2. การคิดอย่างมีวิจารญาณ
3.การคิดสร้างสรรค์
4.การคิดแก้ปัญหา
5.การคิดเชิงคานวณ
1.การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
14
15
2.การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking )
16
3.ความคิดสร้างสรรค์ ( Creative Thinking )
17
4.การคิดแก้ปัญหา (problem solving thinking)
18
5.การคิดเชิงคานวณ (Computational thinking)
19https://youtu.be/UlxdHVNQQKU
การจัดทานโยบายเกี่ยวกับการคิดเพื่อบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
เอกสารอ้างอิง
http://tishafan-analysisthinking.blogspot.com/p/blog-page.html
https://www.sasimasuk.com
https://sites.google.com/site/nightbutterflyfor/home/kar-khid-xyang-mi-wicarnyan-laea-kar-kae-payha
https://www.winnews.tv/news/14622
https://sites.google.com/site/edtechsukm/kar-cadkar-reiyn-kar-sxn-cheing-srangsrrkh/khwamkhidsrangsrrkhkabkarreiynru
http://www.nana-bio.com/Research/image%20research/research%20work/ceative%20thinking/creative%20thinking01.html
https://prawprawn2.wixsite.com/01-/about2-cph5
http://somokarofanclub.blogspot.com/2012/11/blog-post_22.html
https://school.dekd.com
https://blog.nsru.ac.th/60111806058/4999
https://www.patanasongsivilai.com/blog/computational-thinking/
https://www.eef.or.th/425/
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

Similar to ความสำคัญของการคิด

ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
ThanatchaphornMusika
 
ความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิดความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิด
Aun Natthida
 
กระบวนการคิดและแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการคิดและแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระบวนการคิดและแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการคิดและแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ChananyalakNuchit
 
ED487104 :: กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ED487104 :: กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีED487104 :: กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ED487104 :: กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
PiyawadeeSompong1
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
ศุภกร หาญกุล
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
Pitanya Candy
 
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
KevalinManwong
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
ED-TA-ro
 
Thinking skills
Thinking skillsThinking skills
Thinking skills
TipsudaSingkhot
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
เชียร์ นะมาตย์
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
0819741995
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
rubtumproject.com
 

Similar to ความสำคัญของการคิด (20)

ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
ความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิดความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิด
 
กระบวนการคิดและแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการคิดและแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระบวนการคิดและแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการคิดและแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
ED487104 :: กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ED487104 :: กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีED487104 :: กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ED487104 :: กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
Rpg thesis
Rpg thesisRpg thesis
Rpg thesis
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Thinking skills
Thinking skillsThinking skills
Thinking skills
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
Teerapong3
Teerapong3Teerapong3
Teerapong3
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

ความสำคัญของการคิด

  • 1. ความสาคัญของการคิด ED487104 กระบวนการคิดและการแก้ปัญหาทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวศิริพร ภูยอดตา รหัส 635050125-3 สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เอกการสอนเคมี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 3. 1.การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) ความหมาย ความสาคัญ เป็นการใคร่ครวญ ตรึกตรองอย่างละเอียดรอบคอบแยกเป็นส่วน ๆ ในเรื่องราวต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล โดยหาจุดเด่น จุดด้อยของเรื่องนั้น ๆ และเสนอแนะสิ่งที่เหมาะสมอย่างมีความเป็นธรรมและ เป็นไปได้ ราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 251, 1071) ช่วยให้เรารู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องหลังของสิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาเป็นไปของเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นฐานความรู้ในการนาไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหา ช่วยให้เราหาเหตุผลที่สมเหตุสมผลให้กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ช่วยประมาณความน่าจะเป็น
  • 4. 4 5 ขั้นตอนการคิดเชิงวิเคราะห์ 1. ระบุปัญหาหรือข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์ให้ชัดเจน 2. รวบรวมและประมวลผลข้อมูล 3. พัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ 4. นาแนวทางการแก้ปัญหาไปทดสอบ 5. เลือกแนวทางที่ดีที่สุดไปดาเนินการใช้ การนาไปใช้ในการเรียน ระบุปัญหาหรือวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลองได้ชัดเจน ทาการทดลองซ้าเมื่อผลการทดลองตัวนั้นให้ค่าแตกต่างกัน วิเคราะห์หาปริมาณสารที่แน่นอนก่อนเตรียมการสังเคราะห์สารได้ 1.การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
  • 5. 5 2.การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking ) ความหมาย ความสาคัญ มีความมั่นใจในการเผชิญต่อปัญหาและแก้ไขปัญหานั้น ๆ ได้ถูกทาง สามารถตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล วิเคราะห์ด้วยเหตุผลก่อนตัดสินใจ มีระบบความคิดอย่างเป็นขั้นตอน  มีทักษะในการสื่อสารกับผู้อื่นได้ดี การพัฒนาวิธีคิดอย่างมีวิจารณญาณอยู่เสมอ เป็นผู้มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย เป็นผู้ปฏิบัติงานอยู่บนหลักการและเหตุผล สุคนธ์ สินธพานนท์และคณะ (2552 : 72-73) การรู้จักใช้ความคิดพิจารณาวิเคราะห์สังเคราะห์ และประเมินผลในเนื้อหาหรือเหตุการณ์ที่เป็น ปัญหาหรือข้อขัดแย้งโดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์ของตนเพื่อนาไปสู่การตัดสินใน การปฏิบัติด้วยความเหมาะสมอันสอดคล้องกับหลักการ และเหตุผล
  • 6. 6 6 ขั้นตอนการคิดอย่างมีวิจารญาณ 1. การนิยามปัญหา หมายถึงการกาหนดประเด็นปัญหา 2. การรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับประเด็นปัญหาข้อโต้แย้งที่คลุมเครือ 3. การจัดระบบข้อมูล หมายถึงการพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล 4. การตั้งสมมติฐาน หมายถึงการนาข้อมูลที่จัดระบบแล้วมาเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ 5.การสรุปอ้างอิงโดยใช้หลักตรรกศาสตร์ 6. การประเมินสรุปอ้างอิง หมายถึงการประเมินความสมเหตุสมผลของการสรุปอ้างอิง การนาไปใช้ในการเรียน สามารถหาข้อมูลหรืองานวิจัยจากแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือได้เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิง เปรียบเทียบผลการทดลองกับข้อมูลที่ใช้เป็นตัวอ้างอิงว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่ พิจารณาปัญหาที่พบในการทดลองว่าเกิดจากอะไร พร้อมหาทางแก้ไขปัญหา 2.การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking )
  • 7. 7 3.ความคิดสร้างสรรค์ ( Creative Thinking ) ความหมาย o เป็นความสามารถด้านสมองที่จะคิดได้หลายแนวทางหรือคิดได้หลายคาตอบ เรียกว่า การคิด แบบอเนกนัย (Guilford (1956 : 128) ) o เป็นกระบวนการทางสมองที่คิดในลักษณะอเนกนัย อันนาไปสู่การคิดพบสิ่งแปลกใหม่ด้วย การคิดดัดแปลง ปรุงแต่งจากความคิดเดิมผสมผสานกันให้เกิดสิ่งใหม่ ซึ่งรวมทั้งการประดิษฐ์ คิดค้นพบสิ่งต่างๆ ตลอดจนวิธีการคิด ทฤษฎีหลักการได้สาเร็จ (อารี พันธ์มณี (2537 : 25) ) ความสาคัญ ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดแนวทางใหม่ๆ ในการดาเนินชีวิต ก่อให้เกิดความสนุก พัฒนาสมองของคนให้มีความฉลาดเฉียบคม สร้างความเชื่อมั่น ความน่านับถือและความพอใจในตัวเองขึ้นมา พัฒนาขีดความสามารถในการคิดสร้างสรรค์จนสามารถเผชิญหน้าและ แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างราบรื่น
  • 8. 8 ความคิดสร้างสรรค์ประกอบด้วย 1. ความคล่องแคล่วในการคิด รวดเร็ว และมีคาตอบในปริมาณที่มากในเวลาจากัด 2. ความคิดยืดหยุ่นในการคิด คิดหาคาตอบได้หลายประเภทและหลายทิศทาง 3. ความคิดริเริ่ม คิดหาสิ่งแปลกใหม่และเป็นคาตอบที่ไม่ซ้ากับผู้อื่น 4. ความคิดละเอียดลออ กาหนดรายละเอียดของความคิดเพื่อบ่งบอกถึงวิธีสร้างและการนาไปใช้ การนาไปใช้ในการเรียน สามารถอธิบายแบบจาลองทางเคมี คาดการณ์โครงสร้างของสารที่สังเคราะห์ได้หลังจากนาไปพิสูจน์เอกลักษณ์ อธิบายกลไกที่มองไม่เห็นออกมาเป็นรูปภาพหรือกราฟได้ 3.ความคิดสร้างสรรค์ ( Creative Thinking )
  • 9. 9 4.การคิดแก้ปัญหา (problem solving thinking) ความหมาย ความสามารถทางสมองในการขจัดสภาวะความไม่สมดุลที่เกิดขึ้น โดยพยายาม ปรับตัวเองและ สิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกลับเข้าสู่สภาวะสมดุลหรือสภาวะที่เราคาดหวัง ความสาคัญ  ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบ  ฝึกการหาคาตอบอย่างมีเหตุผล  แก้ปัญหาได้โดยมีข้อบกพร่องน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย  เป็นที่น่าเชื่อถือและยอมรับจากบุคคลทั่วไป เมื่อสามารถแก้ปัญหาได้ ด้วยตนเอง โดยใช้หลักเหตุและผล
  • 10. 10 5 ขั้นตอนการคิดแก้ปัญหา 1. การประเมินสถานการณ์ เป็นการวิเคราะห์ถึงสภาพ ขอบเขต ขนาดของปัญหา 2. การค้นหาต้นเหตุของปัญหา เป็นการศึกษาถึงต้นเหตุ หรือปัจจัยของปัญหา 3. การค้นหาวิธีการแก้ปัญหา เป็นการแสวงหาแนวทาง และทางเลือกที่เหมาะสมในการ แก้ปัญหานั้นๆ เพื่อการประเมินหาทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด 4. การดาเนินการแก้ปัญหา เป็นการเลือกโดยการประเมินวิธีการเพื่อทาให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5. การควบคุมกากับการดาเนินการ เป็นการติดตามผลการปฏิบัติเป็นระยะ ๆ เพื่อให้สามารถ แก้ไขปัญหาที่เกิดได้ การนาไปใช้ในการเรียน การคิดแก้ปัญหา (problem solving thinking) หาต้นเหตุของปัญหาจากการทดลองและหาวิธีการแก้ไขอย่างเหมาะสม สามารถประยุกต์ใช้สารเคมีหรืออุปกรณ์ที่ใช้แทนกันได้ เมื่อไม่มีสารหรืออุปกรณ์ชนิดนั้น มีการตรวจวัดสารซ้าหลายครั้งเพื่อเป็นการเปรียบเทียบข้อมูลในแต่ละครั้ง เมื่อผลไม่ได้ ตามที่ต้องการหรือมีคลาดเคลื่อนมากต้องมีการทดลองใหม่ 4.การคิดแก้ปัญหา (problem solving thinking)
  • 11. 11 5.การคิดเชิงคานวณ (Computational thinking) ความหมาย กระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ เช่น การจัดลาดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละขั้นตอน (หรือที่เรียกวว่า อัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหาที่ ช่วยให้รับมือกับปัญหาที่ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดได้ ความสาคัญ สร้างความชานาญ เป็นการฝึกทักษะผ่านการเล่น การสารวจ สร้างความสามัคคี ทางานร่วมกัน เป็นการทางานร่วมกับผู้อื่น สร้างความคิดสร้างสรรค์เป็นการคิดค้นสิ่งที่เป็นต้นแบบ หรือสร้างสรรค์คุณค่าให้กับกิจกรรมใด ๆ สร้างวิธีการแก้ไขจุดบกพร่อง เป็นการเรียนรู้ที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น สร้างความอดทน ความพยายาม เป็นการเผชิญหน้ากับความท้าทายในการทากิจกรรมที่ยากและ ซับซ้อน
  • 12. 12 4 แนวคิดย่อย 1. Decomposition(การย่อยปัญหา) หมายถึงการย่อยปัญหาหรือระบบที่ซับซ้อนออกเป็นส่วนเล็กๆ 2. Pattern Recognition(การจดจารูปแบบ) คือการหารูปแบบหรือลักษณะที่เหมือนกันของปัญหา เล็กๆ ที่ถูกย่อยออกมา 3. Abstraction (ความคิดด้านนามธรรม) คือการมุ่งความคิดไปที่ข้อมูลสาคัญ และคัดกรองส่วนที่ไม่ เกี่ยวข้องออกไป 4. Algorithm Design (การออกแบบอัลกอริทึ่ม) คือการพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน หรือสร้างหลักเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อดาเนินตามทีละขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา การนาไปใช้ในการเรียน คานวณโดยใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างกราฟหรือไดอะแกรมด้วยโปรแกรมในคอมพิวเตอร์ มีการจาแนกระบบในการสกัดแยกสารได้เป็นส่วนๆ อย่างชัดเจนและไม่ซับซ้อน 5.การคิดเชิงคานวณ (Computational thinking)
  • 13. Concept map 13 1. การคิดเชิงวิเคราะห์ 2. การคิดอย่างมีวิจารญาณ 3.การคิดสร้างสรรค์ 4.การคิดแก้ปัญหา 5.การคิดเชิงคานวณ