SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว กมลานันท์ คลองดี เลขที่ 1 ชั้น 6 ห้อง 13
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม
1 นางสาวกมลานันท์ คลองดี เลขที่ 1
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมในเมือง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Environmental problems
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว กมลานันท์ คลองดี
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
คาว่าสิ่งแวดล้อม ถ้าให้แต่ละคนนึก
บางคนก็อาจจะนึกถึงสภาพสิ่งแวดล้อมที่ แตกต่างกันออกไป เช่น
บางคนอาจจะนึกถึงน้าในแม่น้าลาคลองที่เน่าเสีย
น้าขุ่นข้นด้วยโคลนตมและขยะมากมาย จะใช้อาบหรือใช้ดื่มกินเหมือนแต่
ก่อนนั้นไม่ได้ บางคนอาจจะบอกว่า ปัจจุบันดินที่ใช้ปลูกพืชนั้นเสีย
เพาะปลูกพืชก็ไม่เจริญเติบโต บางคนอาจจะนึกถึงอากาศที่หายใจในชุมชน ที่แออัด
ไม่สดชื่นเหมือนในชนบทในที่ที่มีทุ่งนา ป่า เขาโล่งกว้าง ที่มีผู้คน อยู่กันไม่มากนัก
เพราะกลิ่นที่ไม่สดชื่นนั้น รูปชุมชนแออัดมีกลิ่นเหม็นของ
ขยะที่มนุษย์นามากองสุมกันไว้ และยังมีกลิ่นเหม็นจากควันรถยนต์และ
จักรยานยนต์ นอกจากนั้นก็มีเขม่าและควันไฟจากปล่องของโรงงาน
อุตสาหกรรมอีกมากมาย เหล่านี้เป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเรา
คงยังจากันได้ถึงน้าท่วมและลมพายุในภาคใต้ ซึ่งทาให้ผู้คนตลอดจนวัว ควาย
สัตว์เลี้ยง ล้มหายตายจากเป็นจานวนมาก แท่นขุดเจาะน้ามันในอ่าว ไทยพลิกคว่า
และเรือกสวนไร่นาล่มเสียหาย ครั้น พ.ศ. 2533 น้าไหลบ่ามา
ท่วมภาคกลางเป็นเวลานาน ท าลายบ้านเรือน ถนนหนทาง สะพาน และ พืชผัก
ตลอดจนข้าวปลาอาหาร น้ามากมายมหาศาลนี้มาจากไหน ทาไมจึง เกิดขึ้นบ่อยครั้ง
และลมพายุแรงที่ไม่เคยพบเคยเห็นอีกเล่า หรือเป็นเพราะเรา
ช่วยกันตัดไม้ทาลายป่า และทาให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษคนละไม้คนละมือ ค
าตอบก็ถือว่า ป่าไม้ที่หายไป และพิษภัยในสิ่งแวดล้อมเริ่มแสดงผล เป็น
3
ปัญหาในวงกว้างเกินกว่าที่เคยคิดกันไว้ ไกลจากตัวเราออกไป กระทบต่อ
เพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมโลก แล้วย้อนกลับมากระทบตัวเราด้วยในที่สุด
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง
2.เพื่อศึกษาวิธีการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง
3.สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.เข้าใจปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง
2.สามารถพัฒนาชุมชนเมืองได้
3.ลดภาวะโลกร้อน
4.ปลูกสร้างจิตสานึกที่ดีต่อคนในชุมชน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง ๑. ภาวะมลพิษ ก. อากาศเสีย อากาศเสีย หมายถึง
สภาวะอากาศที่มีสารมลพิษเจือปนอยู่ในปริมาณมาก จนเป็นอันตรายต่อชีวิตผู้คน
สัตว์ พืช ตลอดจนทาความเสียหายให้เกิด ขึ้นกับสภาพบ้านเรือน และทรัพย์สิน
สารมลพิษเหล่านี้ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอน มอนนอกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์
คาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ละอองตะกั่ว ไฮโดรคาร์บอน ฝุ่นละออง
และเขม่าควัน เป็นต้น ปัญหาอากาศเสียในประเทศไทย
ส่วนใหญ่เกิดในเขตชุมชนเมือง โดยมี สาเหตุมาจากยานพาหนะต่างๆ
ที่ใช้น้ามันเป็นเชื้อเพลิง เช่น รถยนต์ รถบรรทุก รถจักรยานยนต์
การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจะทาให้สารพิษหลาย ชนิดถูกปล่อยออกมาทางท่อไอเสีย
โดยจะมีปริมาณสารมลพิษออกมามาก ที่สุดในขณะที่เครื่องยนต์เดินในเกียร์ว่าง
ซึ่งมักเกิดในช่วงการจราจรติดขัด นอกจากนี้ โรงงานอุตสาหกรรรม
ก็เป็นแหล่งสาคัญอีกแห่งหนึ่งที่ทาให้เกิด อากาศเสียสาหรับกรุงเทพมหานคร
ซึ่งเป็นเมืองที่มีปัญหาด้านการจราจร มาก
รวมทั้งมีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่โดยรอบ พบว่าในพื้นที่หลายแห่งมี
ค่าปริมาณสารพิษในอากาศสูงมาก ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย
ของประชาชนที่อาศัยในบริเวณนั้นๆ ได้ ข. น้าเสีย
การตั้งถิ่นฐานของชุมชนเมืองในประเทศไทย จะมีการพัฒนาอยู่ในพื้นที่ริม
แม่น้าลาคลอง โดยอาศัยน้าในแหล่งน้า ทั้งในการอุปโภค บริโภค การ คมนาคม
ตลอดจนใช้เป็นแหล่งรองรับน้าเสียด้วย ในอดีตที่ผ่านมา
4
ประชาชนมีจานวนไม่มากนัก ปริมาณความสกปรกที่เกิดจากน้าเสียจึงมี
ปริมาณน้อย แหล่งน้าต่างๆ จึงสามารถรองรับน้าเสียที่ปล่อยทิ้งลงไปได้ ไม่ 5
เกิดการเน่าเสีย แต่เมื่อประชากรมีจานวนมากขึ้น ทาให้มีการปล่อยน้าทิ้งลง
สู่แม่น้าลาคลองมากขึ้น จนถึงระดับเกินกว่าที่แหล่งน้ามันจะรองรับต่อไปได้
น้าจึงได้เกิดการเน่าเสียไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ดังเดิม เช่นที่กาลัง
เกิดขึ้นในแม่น้าลาคลองหลายสายในประเทศไทย
การระบายน้าทิ้งจากบ้านเรือนที่พักอาศัย โรงงานอุตสาหกรรม และการ
เกษตรกรรม เช่น ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ลงสู่แม่น้าลาคลอง โดยไม่มีการบาบัด
หรือลดความสกปรกของน้าทิ้งเสียก่อน เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาดังกล่าว
ดังเช่นปัญหาน้าเสียในแม่น้าเจ้าพระยา พบว่า ความสกปรกที่ระบายลงสู่
แม่น้าเจ้าพระยานั้น ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๗๐ เป็นน้าเสียที่มา จาก
กิจกรรมในชุมชนเมืองต่างๆ ของลุ่มแม่น้า เจ้าพระยา ที่เหลือประมาณร้อย ละ ๒๕
เป็น น้าเสียที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม และร้อยละ ๕ มาจากพื้นที่
เกษตรกรรมและกิจกรรมอื่นๆ ค. มูลฝอย
มูลฝอยเป็นสิ่งของที่เหลือทิ้งจากการอุปโภค บริโภค ของมนุษย์เรา ซึ่งใน อดีตนั้น
การทิ้งขยะมูลฝอย โดยไม่มีการจัดการใดๆ ไม่ได้ก่อให้เกิดปัญหา
ต่อสังคมเท่าใดนัก เนื่องจากจานวนประชากรยังมีน้อย และการตั้งบ้านเรือน
ยังไม่หนาแน่น พื้นที่ดินยังมีมากพอให้นามูลฝอยไปทิ้งและปล่อยให้ย่อย
สลายไปได้เองตามธรรมชาติ แต่เมื่อจานวนประชากรมีมากขึ้นและมีการตั้ง
บ้านเรือนหนาแน่นขึ้น ปริมาณมูลฝอยก็จะเพิ่มมากขึ้นไปด้วย ในขณะที่ที่ดิน
ที่จะรับมูลฝอยมีน้อยลง จึงจาเป็นต้องมีการจัดการกับมูลฝอยที่เกิดขึ้นให้เป็น
ที่เรียบร้อย ในชุมชนที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว มักจะมีปัญหาปริมาณมูลฝอยที่
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เกินกว่าขีดความสามารถของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ในการเก็บและกาจัดจะดาเนินการได้ทัน ทาให้ชุมชนขาดความสะอาด และ
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และยังก่อให้เกิดปัญหา อื่นๆ ตามมาอีกหลาย ประการ
เช่น ปัญหา น้าเสีย อากาศเสีย เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และ แพร่กระจายของเชื้อโรค
เป็นต้น ชุมชนที่มี ปัญหามูลฝอยอย่างเด่นชัดใน ขณะนี้ ได้แก่
ชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น และเป็นเมือง ศูนย์กลาง
ความเจริญหรือเป็นเมืองท่องเที่ยว เช่น กรุงเทพมหานคร เมืองเชียงใหม่ เมือง
หาดใหญ่ เมืองภูเก็ต และเมืองพัทยา เป็นต้น ชุมชนแออัด
เป็นปัญหาสังคมเมืองที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ชุมชนแออัด
เป็นปัญหาสังคมเมืองที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ๒. ปัญหาทางสังคม ก. ชุมชนแออัด 6
ชุมชนแออัดเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนเมือง มีการสร้างบ้านพักอาศัย
รวมกันอยู่อย่างแออัด ส่วนใหญ่สร้างจากเศษวัสดุที่หาได้ง่าย และตั้งหลัก
แหล่งใกล้แหล่งงาน ที่มีการคมนาคมขนส่งสะดวก หรือในบริเวณที่ไม่มีใคร
แสดงตนเป็นเจ้าของที่ดินอย่างเด่นชัด เมื่อเพิ่งพักหลังแรกถูกสร้างขึ้น หลัง ต่อๆ
ไป ก็เกิดตามขึ้นมาในเวลาอันรวดเร็ว ลักษณะทางกายภาพที่เห็นได้ชัด
ของชุมชนแออัดคือ บ้านเรือนที่อยู่อาศัยปลูกติดกัน หนาแน่นแออัด ไม่ถูก
สุขลักษณะ ทางเท้าหรือทางเดินจะมีลักษณะแคบส่วนใหญ่เป็ นไม้ หากได้รับ
การปรับปรุงแล้วก็จะเป็นคอนกรีต ขาดแคลนท่อระบายน้า สาหรับไฟฟ้าและ
5
ประปาก็เป็นปัญหาเช่นเดียวกัน เนื่องจากส่วนใหญ่จะไม่มีทะเบียนบ้าน ท า
ให้ไม่มีการจ่ายน้าให้อย่างเป็นทางการ นอกจากนั้นลักษณะที่เด่นชัดอีก
อย่างหนึ่งคือ ขยะมูลฝอย เนื่องจากผู้คนในชุมชนแออัดมักจะไม่มีที่ทิ้งขยะ
เป็นสัดส่วน ทาให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมปัญหาสุขภาพอนามัย ปัญหา
ทางด้านสังคม เช่น ความมั่นคงในการทางาน ความไม่ปลอดภัยในทรัพย์สิน
และเด็กขาดการศึกษา เป็นต้น ข.
การขาดแคลนพื้นที่สีเขียวและพื้นที่เพื่อการนันทนาการ สาหรับพื้นที่ในเมืองนั้น
จะมีประชาชนอยู่กันอย่างหนาแน่นแออัด ที่ดินส่วน ใหญ่ใช้ประโยชน์
เพื่อการอยู่อาศัย และการประกอบอาชีพ ฉะนั้น พื้นที่สี เขียว
และพื้นที่เพื่อการนันทนาการ อันได้แก่ สวนหย่อม สนามเด็กเล่น สนามหญ้า
สวนสาธารณะ และสนามกีฬา จึงมีน้อย ไม่เพียงพอต่อความ
ต้องการของประชาชนยกตัวอย่าง กรุงเทพมหานครในปัจจุบันมีพื้นที่สีเขียว
ประมาณ ๖,๒๑๓ ไร่ หรือ ประมาณ ๑.๑ ไร่ต่อประชากรจานวน ๑,๐๐๐ คน
ซึ่งนับว่าเป็นสัดส่วนที่ต่ามากเมื่อเทียบกับมาตรฐานที่ตั้งไว้ว่าควรจะมีพื้นที่ ๑๐
ไร่ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน นับเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญปัญหาหนึ่ง
ในเขตเมือง ค. แผ่นดินทรุด น้าท่วม การสูบน้าบาดาลขึ้นมาใช้
เพื่อการอุปโภคบริโภคในปริมาณมาก จะทาให้ เกิดปัญหาการทรุดตัวของพื้นดิน
เนื่องจากน้าบาดาลตามธรรมชาติ ไม่
สามารถไหลทดแทนเข้าไปในชั้นดินที่ถูกนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้ได้ทัน ซึ่งจะ
ทาให้ระดับและแรงดันของน้าบาดาลในชั้นนั้นๆ ลดลง เมื่อแรงดันน้าบาดาล
ที่อยู่ใต้พื้นดินลดลงน้าหนักของดินส่วนบนและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ จะสามารถ
กดอัดชั้นดินระดับล่างให้แน่นขึ้นและมีช่องว่างลดลง ทาให้ชั้นดินส่วนบน
ทรุดตัวตามลงไปด้วย 7 เมืองขนาดใหญ่ หรือพื้นที่อุตสาหกรรม
ที่มีการสูบน้าบาดาลขึ้นมาใช้ ทดแทนน้าประปา มักจะพบว่า
มีการทรุดตัวของพื้นดิน เนื่องจากสาเหตุ ดังกล่าวข้างต้น
ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาใหญ่ตามมาคือ ปัญหาน้าท่วม เนื่องจาก
บริเวณที่ตั้งของเมืองจมต่าลงไปเมืองเปรียบเทียบกับระดับน้าทะเล ตลอดจน
ทาให้เกิดปัญหาระดับน้าบาดาลลดลงอย่างรวดเร็วจนไม่สามารถสูบน้าขึ้นมา ใช้ได้
หรือที่สูบมาได้ก็มีคุณภาพต่า จนไม่สามารถนาไปใช้ในการอุปโภค และบริโภคได้
ในเขตวิกฤติการณ์น้าบาดาลและแผ่นดินทรุดของ กรุงเทพมหานคร
และจังหวัดใกล้เคียงบางแห่ง เช่น เขตพระโขนง เขตบาง กะปิ อาเภอพระประแดง
และอาเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ อาจจะมีระดับ
ของพื้นดินอยู่ต่ากว่าระดับน้าทะเลในอ่าวไทย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ปรึกษาเลือกหัวข้อที่จะศึกษา
2.นาเสนอหัวข้อให้กับครูผู้สอน
3.ศึกษารวบรวมข้อมูล
4.จัดทารายงาน
6
5.นาเสนอรายงานให้ครู
งบประมาณ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน /
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ
มูล
/ /
3 จัดทาโครงร่างงาน /
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
/
5 ปรับปรุงทดสอบ /
6 การทาเอกสารรายงา
น
/ /
7 ประเมินผลงาน /
8 นาเสนอโครงงาน /
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้
3.สามารถเผยแพร่ให้เพื่อน นักเรียน ครูหรือคนในชุมชนได้
4.ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างดี
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
3.ชุมชนละแวกโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK17/chapter6/t17-6-l3.htm
http://www.bangkok.go.th/upload/user/00000112/News/TRM/document%20TRM2/clean/1/9.pdf
http://office.dpt.go.th/csp/images/stories/pdf/disaster/UrbanEnvironment.pdf

More Related Content

Similar to กิจกรรมที่1

2562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-322562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-32ssuser8b25961
 
2562 final-project -1-23
2562 final-project -1-232562 final-project -1-23
2562 final-project -1-23Mai Lovelove
 
มะพร้าวววววว
มะพร้าววววววมะพร้าวววววว
มะพร้าววววววWi Nit
 
งานคอมเมษ
งานคอมเมษงานคอมเมษ
งานคอมเมษGunyanut Chairum
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะWuttiphong Kompow
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้Nattarika Pijan
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์praewaphrueksawan
 
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงานSalisa Koonyotying
 
มะมะมะมะมะมะ
มะมะมะมะมะมะมะมะมะมะมะมะ
มะมะมะมะมะมะWi Nit
 

Similar to กิจกรรมที่1 (20)

Thitiporn
ThitipornThitiporn
Thitiporn
 
Thitiporn (2)
Thitiporn (2)Thitiporn (2)
Thitiporn (2)
 
Thitiporn
ThitipornThitiporn
Thitiporn
 
2562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-322562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-32
 
Electronoc waste
Electronoc wasteElectronoc waste
Electronoc waste
 
work1
work1work1
work1
 
2562 final-project -1-23
2562 final-project -1-232562 final-project -1-23
2562 final-project -1-23
 
Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602
 
มะพร้าวววววว
มะพร้าววววววมะพร้าวววววว
มะพร้าวววววว
 
LGBTQ
LGBTQLGBTQ
LGBTQ
 
งานคอมเมษ
งานคอมเมษงานคอมเมษ
งานคอมเมษ
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้
 
2560 project 34
2560 project 342560 project 34
2560 project 34
 
Titirat 43
Titirat  43Titirat  43
Titirat 43
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
607 NO.8
607 NO.8607 NO.8
607 NO.8
 
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
 
มะมะมะมะมะมะ
มะมะมะมะมะมะมะมะมะมะมะมะ
มะมะมะมะมะมะ
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 

More from AntoineYRC04

โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด AntoineYRC04
 
ปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกAntoineYRC04
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2AntoineYRC04
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1AntoineYRC04
 
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติดกิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติดAntoineYRC04
 

More from AntoineYRC04 (6)

โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
 
ปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออก
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติดกิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
 

กิจกรรมที่1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปี การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว กมลานันท์ คลองดี เลขที่ 1 ชั้น 6 ห้อง 13 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาวกมลานันท์ คลองดี เลขที่ 1 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาสิ่งแวดล้อมในเมือง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Environmental problems ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว กมลานันท์ คลองดี ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) คาว่าสิ่งแวดล้อม ถ้าให้แต่ละคนนึก บางคนก็อาจจะนึกถึงสภาพสิ่งแวดล้อมที่ แตกต่างกันออกไป เช่น บางคนอาจจะนึกถึงน้าในแม่น้าลาคลองที่เน่าเสีย น้าขุ่นข้นด้วยโคลนตมและขยะมากมาย จะใช้อาบหรือใช้ดื่มกินเหมือนแต่ ก่อนนั้นไม่ได้ บางคนอาจจะบอกว่า ปัจจุบันดินที่ใช้ปลูกพืชนั้นเสีย เพาะปลูกพืชก็ไม่เจริญเติบโต บางคนอาจจะนึกถึงอากาศที่หายใจในชุมชน ที่แออัด ไม่สดชื่นเหมือนในชนบทในที่ที่มีทุ่งนา ป่า เขาโล่งกว้าง ที่มีผู้คน อยู่กันไม่มากนัก เพราะกลิ่นที่ไม่สดชื่นนั้น รูปชุมชนแออัดมีกลิ่นเหม็นของ ขยะที่มนุษย์นามากองสุมกันไว้ และยังมีกลิ่นเหม็นจากควันรถยนต์และ จักรยานยนต์ นอกจากนั้นก็มีเขม่าและควันไฟจากปล่องของโรงงาน อุตสาหกรรมอีกมากมาย เหล่านี้เป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเรา คงยังจากันได้ถึงน้าท่วมและลมพายุในภาคใต้ ซึ่งทาให้ผู้คนตลอดจนวัว ควาย สัตว์เลี้ยง ล้มหายตายจากเป็นจานวนมาก แท่นขุดเจาะน้ามันในอ่าว ไทยพลิกคว่า และเรือกสวนไร่นาล่มเสียหาย ครั้น พ.ศ. 2533 น้าไหลบ่ามา ท่วมภาคกลางเป็นเวลานาน ท าลายบ้านเรือน ถนนหนทาง สะพาน และ พืชผัก ตลอดจนข้าวปลาอาหาร น้ามากมายมหาศาลนี้มาจากไหน ทาไมจึง เกิดขึ้นบ่อยครั้ง และลมพายุแรงที่ไม่เคยพบเคยเห็นอีกเล่า หรือเป็นเพราะเรา ช่วยกันตัดไม้ทาลายป่า และทาให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษคนละไม้คนละมือ ค าตอบก็ถือว่า ป่าไม้ที่หายไป และพิษภัยในสิ่งแวดล้อมเริ่มแสดงผล เป็น
  • 3. 3 ปัญหาในวงกว้างเกินกว่าที่เคยคิดกันไว้ ไกลจากตัวเราออกไป กระทบต่อ เพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมโลก แล้วย้อนกลับมากระทบตัวเราด้วยในที่สุด วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง 2.เพื่อศึกษาวิธีการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง 3.สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.เข้าใจปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง 2.สามารถพัฒนาชุมชนเมืองได้ 3.ลดภาวะโลกร้อน 4.ปลูกสร้างจิตสานึกที่ดีต่อคนในชุมชน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ปัญหาสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง ๑. ภาวะมลพิษ ก. อากาศเสีย อากาศเสีย หมายถึง สภาวะอากาศที่มีสารมลพิษเจือปนอยู่ในปริมาณมาก จนเป็นอันตรายต่อชีวิตผู้คน สัตว์ พืช ตลอดจนทาความเสียหายให้เกิด ขึ้นกับสภาพบ้านเรือน และทรัพย์สิน สารมลพิษเหล่านี้ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอน มอนนอกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ละอองตะกั่ว ไฮโดรคาร์บอน ฝุ่นละออง และเขม่าควัน เป็นต้น ปัญหาอากาศเสียในประเทศไทย ส่วนใหญ่เกิดในเขตชุมชนเมือง โดยมี สาเหตุมาจากยานพาหนะต่างๆ ที่ใช้น้ามันเป็นเชื้อเพลิง เช่น รถยนต์ รถบรรทุก รถจักรยานยนต์ การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจะทาให้สารพิษหลาย ชนิดถูกปล่อยออกมาทางท่อไอเสีย โดยจะมีปริมาณสารมลพิษออกมามาก ที่สุดในขณะที่เครื่องยนต์เดินในเกียร์ว่าง ซึ่งมักเกิดในช่วงการจราจรติดขัด นอกจากนี้ โรงงานอุตสาหกรรรม ก็เป็นแหล่งสาคัญอีกแห่งหนึ่งที่ทาให้เกิด อากาศเสียสาหรับกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเมืองที่มีปัญหาด้านการจราจร มาก รวมทั้งมีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่โดยรอบ พบว่าในพื้นที่หลายแห่งมี ค่าปริมาณสารพิษในอากาศสูงมาก ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ของประชาชนที่อาศัยในบริเวณนั้นๆ ได้ ข. น้าเสีย การตั้งถิ่นฐานของชุมชนเมืองในประเทศไทย จะมีการพัฒนาอยู่ในพื้นที่ริม แม่น้าลาคลอง โดยอาศัยน้าในแหล่งน้า ทั้งในการอุปโภค บริโภค การ คมนาคม ตลอดจนใช้เป็นแหล่งรองรับน้าเสียด้วย ในอดีตที่ผ่านมา
  • 4. 4 ประชาชนมีจานวนไม่มากนัก ปริมาณความสกปรกที่เกิดจากน้าเสียจึงมี ปริมาณน้อย แหล่งน้าต่างๆ จึงสามารถรองรับน้าเสียที่ปล่อยทิ้งลงไปได้ ไม่ 5 เกิดการเน่าเสีย แต่เมื่อประชากรมีจานวนมากขึ้น ทาให้มีการปล่อยน้าทิ้งลง สู่แม่น้าลาคลองมากขึ้น จนถึงระดับเกินกว่าที่แหล่งน้ามันจะรองรับต่อไปได้ น้าจึงได้เกิดการเน่าเสียไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ดังเดิม เช่นที่กาลัง เกิดขึ้นในแม่น้าลาคลองหลายสายในประเทศไทย การระบายน้าทิ้งจากบ้านเรือนที่พักอาศัย โรงงานอุตสาหกรรม และการ เกษตรกรรม เช่น ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ลงสู่แม่น้าลาคลอง โดยไม่มีการบาบัด หรือลดความสกปรกของน้าทิ้งเสียก่อน เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาดังกล่าว ดังเช่นปัญหาน้าเสียในแม่น้าเจ้าพระยา พบว่า ความสกปรกที่ระบายลงสู่ แม่น้าเจ้าพระยานั้น ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๗๐ เป็นน้าเสียที่มา จาก กิจกรรมในชุมชนเมืองต่างๆ ของลุ่มแม่น้า เจ้าพระยา ที่เหลือประมาณร้อย ละ ๒๕ เป็น น้าเสียที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม และร้อยละ ๕ มาจากพื้นที่ เกษตรกรรมและกิจกรรมอื่นๆ ค. มูลฝอย มูลฝอยเป็นสิ่งของที่เหลือทิ้งจากการอุปโภค บริโภค ของมนุษย์เรา ซึ่งใน อดีตนั้น การทิ้งขยะมูลฝอย โดยไม่มีการจัดการใดๆ ไม่ได้ก่อให้เกิดปัญหา ต่อสังคมเท่าใดนัก เนื่องจากจานวนประชากรยังมีน้อย และการตั้งบ้านเรือน ยังไม่หนาแน่น พื้นที่ดินยังมีมากพอให้นามูลฝอยไปทิ้งและปล่อยให้ย่อย สลายไปได้เองตามธรรมชาติ แต่เมื่อจานวนประชากรมีมากขึ้นและมีการตั้ง บ้านเรือนหนาแน่นขึ้น ปริมาณมูลฝอยก็จะเพิ่มมากขึ้นไปด้วย ในขณะที่ที่ดิน ที่จะรับมูลฝอยมีน้อยลง จึงจาเป็นต้องมีการจัดการกับมูลฝอยที่เกิดขึ้นให้เป็น ที่เรียบร้อย ในชุมชนที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว มักจะมีปัญหาปริมาณมูลฝอยที่ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เกินกว่าขีดความสามารถของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการเก็บและกาจัดจะดาเนินการได้ทัน ทาให้ชุมชนขาดความสะอาด และ ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และยังก่อให้เกิดปัญหา อื่นๆ ตามมาอีกหลาย ประการ เช่น ปัญหา น้าเสีย อากาศเสีย เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และ แพร่กระจายของเชื้อโรค เป็นต้น ชุมชนที่มี ปัญหามูลฝอยอย่างเด่นชัดใน ขณะนี้ ได้แก่ ชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น และเป็นเมือง ศูนย์กลาง ความเจริญหรือเป็นเมืองท่องเที่ยว เช่น กรุงเทพมหานคร เมืองเชียงใหม่ เมือง หาดใหญ่ เมืองภูเก็ต และเมืองพัทยา เป็นต้น ชุมชนแออัด เป็นปัญหาสังคมเมืองที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ชุมชนแออัด เป็นปัญหาสังคมเมืองที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ๒. ปัญหาทางสังคม ก. ชุมชนแออัด 6 ชุมชนแออัดเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนเมือง มีการสร้างบ้านพักอาศัย รวมกันอยู่อย่างแออัด ส่วนใหญ่สร้างจากเศษวัสดุที่หาได้ง่าย และตั้งหลัก แหล่งใกล้แหล่งงาน ที่มีการคมนาคมขนส่งสะดวก หรือในบริเวณที่ไม่มีใคร แสดงตนเป็นเจ้าของที่ดินอย่างเด่นชัด เมื่อเพิ่งพักหลังแรกถูกสร้างขึ้น หลัง ต่อๆ ไป ก็เกิดตามขึ้นมาในเวลาอันรวดเร็ว ลักษณะทางกายภาพที่เห็นได้ชัด ของชุมชนแออัดคือ บ้านเรือนที่อยู่อาศัยปลูกติดกัน หนาแน่นแออัด ไม่ถูก สุขลักษณะ ทางเท้าหรือทางเดินจะมีลักษณะแคบส่วนใหญ่เป็ นไม้ หากได้รับ การปรับปรุงแล้วก็จะเป็นคอนกรีต ขาดแคลนท่อระบายน้า สาหรับไฟฟ้าและ
  • 5. 5 ประปาก็เป็นปัญหาเช่นเดียวกัน เนื่องจากส่วนใหญ่จะไม่มีทะเบียนบ้าน ท า ให้ไม่มีการจ่ายน้าให้อย่างเป็นทางการ นอกจากนั้นลักษณะที่เด่นชัดอีก อย่างหนึ่งคือ ขยะมูลฝอย เนื่องจากผู้คนในชุมชนแออัดมักจะไม่มีที่ทิ้งขยะ เป็นสัดส่วน ทาให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมปัญหาสุขภาพอนามัย ปัญหา ทางด้านสังคม เช่น ความมั่นคงในการทางาน ความไม่ปลอดภัยในทรัพย์สิน และเด็กขาดการศึกษา เป็นต้น ข. การขาดแคลนพื้นที่สีเขียวและพื้นที่เพื่อการนันทนาการ สาหรับพื้นที่ในเมืองนั้น จะมีประชาชนอยู่กันอย่างหนาแน่นแออัด ที่ดินส่วน ใหญ่ใช้ประโยชน์ เพื่อการอยู่อาศัย และการประกอบอาชีพ ฉะนั้น พื้นที่สี เขียว และพื้นที่เพื่อการนันทนาการ อันได้แก่ สวนหย่อม สนามเด็กเล่น สนามหญ้า สวนสาธารณะ และสนามกีฬา จึงมีน้อย ไม่เพียงพอต่อความ ต้องการของประชาชนยกตัวอย่าง กรุงเทพมหานครในปัจจุบันมีพื้นที่สีเขียว ประมาณ ๖,๒๑๓ ไร่ หรือ ประมาณ ๑.๑ ไร่ต่อประชากรจานวน ๑,๐๐๐ คน ซึ่งนับว่าเป็นสัดส่วนที่ต่ามากเมื่อเทียบกับมาตรฐานที่ตั้งไว้ว่าควรจะมีพื้นที่ ๑๐ ไร่ต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน นับเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญปัญหาหนึ่ง ในเขตเมือง ค. แผ่นดินทรุด น้าท่วม การสูบน้าบาดาลขึ้นมาใช้ เพื่อการอุปโภคบริโภคในปริมาณมาก จะทาให้ เกิดปัญหาการทรุดตัวของพื้นดิน เนื่องจากน้าบาดาลตามธรรมชาติ ไม่ สามารถไหลทดแทนเข้าไปในชั้นดินที่ถูกนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้ได้ทัน ซึ่งจะ ทาให้ระดับและแรงดันของน้าบาดาลในชั้นนั้นๆ ลดลง เมื่อแรงดันน้าบาดาล ที่อยู่ใต้พื้นดินลดลงน้าหนักของดินส่วนบนและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ จะสามารถ กดอัดชั้นดินระดับล่างให้แน่นขึ้นและมีช่องว่างลดลง ทาให้ชั้นดินส่วนบน ทรุดตัวตามลงไปด้วย 7 เมืองขนาดใหญ่ หรือพื้นที่อุตสาหกรรม ที่มีการสูบน้าบาดาลขึ้นมาใช้ ทดแทนน้าประปา มักจะพบว่า มีการทรุดตัวของพื้นดิน เนื่องจากสาเหตุ ดังกล่าวข้างต้น ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาใหญ่ตามมาคือ ปัญหาน้าท่วม เนื่องจาก บริเวณที่ตั้งของเมืองจมต่าลงไปเมืองเปรียบเทียบกับระดับน้าทะเล ตลอดจน ทาให้เกิดปัญหาระดับน้าบาดาลลดลงอย่างรวดเร็วจนไม่สามารถสูบน้าขึ้นมา ใช้ได้ หรือที่สูบมาได้ก็มีคุณภาพต่า จนไม่สามารถนาไปใช้ในการอุปโภค และบริโภคได้ ในเขตวิกฤติการณ์น้าบาดาลและแผ่นดินทรุดของ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกล้เคียงบางแห่ง เช่น เขตพระโขนง เขตบาง กะปิ อาเภอพระประแดง และอาเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ อาจจะมีระดับ ของพื้นดินอยู่ต่ากว่าระดับน้าทะเลในอ่าวไทย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ปรึกษาเลือกหัวข้อที่จะศึกษา 2.นาเสนอหัวข้อให้กับครูผู้สอน 3.ศึกษารวบรวมข้อมูล 4.จัดทารายงาน
  • 6. 6 5.นาเสนอรายงานให้ครู งบประมาณ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ มูล / / 3 จัดทาโครงร่างงาน / 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน / 5 ปรับปรุงทดสอบ / 6 การทาเอกสารรายงา น / / 7 ประเมินผลงาน / 8 นาเสนอโครงงาน / ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ 3.สามารถเผยแพร่ให้เพื่อน นักเรียน ครูหรือคนในชุมชนได้ 4.ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างดี สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 3.ชุมชนละแวกโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK17/chapter6/t17-6-l3.htm http://www.bangkok.go.th/upload/user/00000112/News/TRM/document%20TRM2/clean/1/9.pdf http://office.dpt.go.th/csp/images/stories/pdf/disaster/UrbanEnvironment.pdf