SlideShare a Scribd company logo
การทางานของเซลล์
ประสาท
การแบ่งเซลล์
ประสาทตาม
ตาแหน่ง
• 1. เซลล์ประสาทก่อนจุดประสานประสาท (Presynaptic neuron)
เป็ นเซลล์ประสาทที่ส่งสัญญาณไปยัง Synapse
• 2. เซลล์ประสาทหลังจุดประสานประสาท (Postsynaptic neuron)
เซลล์ประสาทที่รับสัญญาณ
• การส่งประแสประสาทภายในเซลล์ประสาท โดยมีการส่งกระแสประสาทในรูป
คลื่นไฟฟ้ า เรียก action potential
• การส่งกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท
การทางานของเซลล์ประสาท
กระแสประสาทมีกลไกการเกิดและวิธีวัดอย่างไร
• A.L. Hodgkin และ A.F. Huxley ได้ทดลองวัดค่าความต่างศักย์ ไฟฟ้ าในแอก
ซอนของเซลล์ประสาทหมึก โดยใช้เครื่องมือ ที่เรียกว่า ไมโครอิเล็กโทรด
(microelectrode) พบว่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างภายในและภายนอกของ
เซลล์ประสาทได้ โดยในภาวะปกติ (resting potential) ได้ค่าเป็น -70 mV แต่
ในสภาวะที่มีการกระตุ้น (action potential) ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง
ภายในกับภายนอกจะกลับเป็นบวกและมีค่าประมาณ 40 mV แล้วค่าจะ
เปลี่ยนกลับมาเป็น -70 mV ตามเดิม
1. การส่งกระแสประสาทภายในเซลล์ประสาท
1. ระยะพักที่เซลล์ประสาทไม่ถูกกระตุ้น Resting stage /Polarlization
• เยื่อหุ้มเซลล์ประสาทมีโปรตีนแทรก
อยู่ ทาให้ควบคุมการผ่านเข้าออก
ของอิออนธาตุโลหะได้
• ในสภาพปกติที่เซลล์ประสาทไม่ได้ถูก
กระตุ้น พบว่า
• ภายนอกเซลล์มี Na+ และ Cl- อยู่มาก
แต่มี K+ น้อย ประจุสุทธิภายนอก
เซลล์เป็น บวก
• ภายในเซลล์มี K+ มาก แต่มี Na+ และ
Cl- น้อย นอกจากนี้ยังมีโปรตีนและ
กรดนิวคลีอิก ซึ่งมีประจุลบ ทาให้
ประจุสุทธิภายในเซลล์เป็นลบ
Resting stage
1. ระยะพักที่เซลล์ประสาทไม่ถูกกระตุ้น Resting stage /Polarlization
• ในระยะนี้มีการนา 3Na+ ที่ค้างภายในเซลล์ออกสู่ภายนอก แลกกับ 2K+ ที่ค้างอยู่
ภายนอกกลับเข้าสู่ภายในเซลล์ดังเดิม เรียกกระบวนการนี้ว่า Sodium-Potassium
pump เป็นกระบวนการ Active Transport ต้องอาศัยพลังงานจานวนมากเพื่อขับ
Na+ ออก และดึง K+ เข้าเซลล์
Resting stage
2. ระยะที่เซลล์ประสาทถูกกระตุ้น เกิดเหตุการณ์
ต่อเนื่อง 3 ระยะ คือ
1). ระยะ Depolarization
• เมื่อเซลล์ได้รับการกระตุ้นโดยสิ่งเร้า โดยเยื่อหุ้มเซลล์จะยอมให้ Na+ จากนอกเซลล์
เข้าสู่ภายในเซลล์ ทาให้ผิวภายในเซลล์ประสาทตรงที่ Na+ ผ่านเข้าไปเกิดการ
เปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้ าจากประจุลบเป็นประจุบวก และผิวภายนอกเซลล์ที่สูญเสีย
Na+ จะเปลี่ยนจากประจุบวกเป็นประจุลบ ซึ่งระยะนี้ถือเป็นระยะที่มีการกลับขั้ว
Depolarization
2. ระยะที่เซลล์ประสาทถูกกระตุ้น เกิดเหตุการณ์
ต่อเนื่อง 3 ระยะ คือ
2). ระยะ Repolarization
• ระยะนี้เยื่อหุ้มเซลล์จะยอมให้ K+ จากในเซลล์ออกสู่ภายนอกเซลล์ ทาให้ประจุ
ภายในเซลล์ประสาทกลับไปเป็นลบดังเดิม (เหมือนในระยะพัก)
Repolarization
2. ระยะที่เซลล์ประสาทถูกกระตุ้น เกิดเหตุการณ์ต่อเนื่อง 3 ระยะ คือ
3). ระยะดื้อ (refractory period) มี K+ ออกจากเซลล์ ทาให้เซลล์ถูก
กระตุ้นยากกว่าปกติ เมื่อเวลาผ่านไปเยื่อหุ้มเซลล์จะฟื้นตัวพร้อมที่จะเกิด
กระแสไฟฟ้ าใหม่ได้
ความแรงๆ ของการกระตุ้น มีผล
ต่อความเร็วของการส่งกระแส
ประสาทหรือไม่???
Action potential
-action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของเซลล์
ประสาทเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ
threshold potential
-เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none (กฎทั้งหมดหรือไม่เลย) หมายถึง
ถ้ากระตุ้นแรงพอ ก็จะทาให้เกิดการนากระแสประสาทไปโดยตลอด แต่ถ้าไม่แรง
ถึงระดับ Threshold potential จะไม่มีการนากระแสประสาทเกิดขึ้นเลย
Core conduction
ชนิดของไซแนปส์ (Synapse)2.การส่งกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท
Electrical synapse
-บริเวณ presynatic neuron และ postsynaptic neuron เชื่อมต่อกันด้วย gap
junction ดังนั้นอิออนธาตุโลหะ (เช่น Na+ ,K+) จาก action potential จึงสามารถ
เคลื่อนจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งได้โดยตรง
Presynaptic membrane
Postsynaptic membrane
• ปลายของแอกซอนของเซลล์ประสาทจะพองออก ภายในมี Synaptic vesicle ซึ่ง
ภายในจะบรรจุ สารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
• เมื่อกระแสประสาทเคลื่อนมายังปลายแอกซอน Synaptic vesicle จะไปรวมกับเยื่อหุ้ม
เซลล์ แล้วปล่อยสารสื่อกระสาทออกมา โดยวิธีการ Exocytosis สู่ร่องรอยต่อระหว่าง
เซลล์ (Synaptic cleft) และเคลื่อนไปจับกับตัวรับที่ postsynatic membrane
• การจับทาให้ ion channel (เช่น Na+) เปิด, Na+ เคลื่อนเข้าในเซลล์ เกิด depolarization
ต่อไป
Chemical synapse
Acetylcholine ถูก
ทาลายโดยเอนไซม์
Cholinesterase
ภายหลังอาจมีการ
นามาสร้างสารสื่อ
ประสาทใหม่อีก
สารสื่อประสาทที่สาคัญ ได้แก่
Acetylcholine
Norepinephrine
Endorphine
ปัจจัยที่มีผลต่อความเร็วในการนากระแสประสาท
• จานวนเยื่อไมอิลิน
• ระยะห่างระหว่างโนดออฟแรนเวียร์
• จานวนไซแนปส์ (Synapse)
• ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเซลล์ประสาท
ยาที่มีผลต่อการทางานของ Synapse
• ยาระงับประสาท ทาให้สารสื่อประสาทถูกปล่อยออกมา
น้อย กระแสประสาทจึงส่งไปยังสมองน้อยลง ทาให้มี
อาการสงบไม่วิตกกังวล
• สารพวกนิโคติน คาเฟอีน และแอมเฟตามีนจะไปกระตุ้นให้
แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาทออกมามาก ทาให้เกิดการ
ตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว
• สารกาจัดแมลงบางชนิดยังสามารถยับยั้งการทางานของ
เอนไซม์ AcetylCholinesterase ที่จะมาทาลายสารสื่อประสาท

More Related Content

What's hot

การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
Thitaree Samphao
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานพัน พัน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
Natthaya Khaothong
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
kasidid20309
 

What's hot (20)

การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 

Viewers also liked

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
Retina physiology
Retina physiologyRetina physiology
Retina physiology
azizkhan1995
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
Wichai Likitponrak
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Physiology retina
Physiology retinaPhysiology retina
Physiology retina
Samten Dorji
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
kasidid20309
 
RETINA - anatomy & physiology
RETINA - anatomy & physiologyRETINA - anatomy & physiology
RETINA - anatomy & physiology
monika pallan
 
Retina and layers
Retina and layersRetina and layers
Retina and layers
Lhacha
 

Viewers also liked (9)

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
Retina physiology
Retina physiologyRetina physiology
Retina physiology
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
Physiology retina
Physiology retinaPhysiology retina
Physiology retina
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
RETINA - anatomy & physiology
RETINA - anatomy & physiologyRETINA - anatomy & physiology
RETINA - anatomy & physiology
 
Retina and layers
Retina and layersRetina and layers
Retina and layers
 
Visual pathway
Visual pathwayVisual pathway
Visual pathway
 

Similar to การทำงานระบบประสาท

การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012Namthip Theangtrong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
kalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
kruchanon2555
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
kasidid20309
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cellBiobiome
 

Similar to การทำงานระบบประสาท (18)

การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cell
 
nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 

การทำงานระบบประสาท