SlideShare a Scribd company logo
เฟซบุ๊ก (อังกฤษ: Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมและเว็บไซต์ เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ดาเนินงานและ
มีเจ้าของคือ บริษท เฟซบุ๊ก (Facebook, Inc.) [1] จากข้อมูลเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2010 เฟซบุ๊กมีผู้ใช้ประจา 500 ล้านบัญชี
                      ั
[2][3][N 1]
            ผู้ใช้สามารถสร้างข้อมูลส่วนตัว เพิ่มรายชื่อผู้ใช้อื่นในฐานะเพื่อนและแลกเปลี่ยนข้อความ รวมถึงได้รับแจ้งโดย
ทันทีเมื่อพวกเขาปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว นอกจากนั้นผู้ใช้ยังสามารถร่วมกลุ่มความสนใจส่วนตัว จัดระบบตาม สถานที่
ทางาน โรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือ อื่น ๆ ชื่อของเฟซบุ๊กนันมาจากชื่อเรียกภาษาปากของสมุดทีให้กบนักเรียนเมื่อ เริ่มเแร
                                                                 ้                              ่ ั
กเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ที่มอบให้โดยคณะบริหารมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถรู้จักผู้อื่น
ได้ดีมากขึ้น เฟซบุ๊กอนุญาตให้ใครก็ได้เข้าสมัครลงทะเบียนกับเฟซบุ๊ก โดยต้องมีอายุมากกว่า 13 ปีขึ้นไป

เฟซบุ๊กก่อตั้งขึ้นโดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ร่วมกับเพื่อนร่วมห้องในวิทยาลัยของเขาและเป็นนักเรียนวิทยาศาสตร์
คอมพิวเตอร์ที่ชื่อ เอ็ดวาร์โด ซาเวริน, ดิสติน มอสโควิตซ์ และคริส ฮิวส์[4] เดิมทีสมาชิกของเว็บไซต์จะจากัดเฉพาะกลุ่มผู้
ก่อตั้งและนักเรียนมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด แต่ต่อมาขยับขยายไปสู่มหาวิทยาลัยอื่นในแถบบอสตัน, กลุ่มไอวีลีก, และ
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด แล้วค่อย ๆ เพิ่มนักเรียนจากมหาวิทยาลับอื่น จนกระทั่งเปิดให้กบนักเรียนระดับไฮสคูล จนใน
                                                                                       ั
ที่สุดทุกคนก็สามารถเข้าสมัครได้โดยอายุมากกว่า 13 ปีขึ้นไป

สาหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย
ฮาร์เวิร์ด ในช่วงแรกนั้นเฟซบุ๊กเปิดให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ซึ่งต่อมาได้ขยายตัวออกไปสาหรับ
มหาวิทยาลัยทั่วสหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสาหรับผูใช้ทั่วไปทุกคนเหมือนในปัจจุบน
                                                                                ้                            ั

จากการศึกษาของเว็บ คอมพีต.คอม ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2009 เฟซบุ๊กถือเป็นบริการเครือข่ายสังคมที่มคนใช้มากที่สุด
                                                                                                        ี
เมื่อดูจากผูใช้ประจารายเดือน รองลงมาคือ มายสเปซ[5] เอ็นเตอร์เทนเมนต์วีกลี ให้อยู่ในรายชื่อ สิ่งที่ดีที่สุดในสิ้นทศวรรษ[6]
            ้
และควอนต์แคสต์ ประเมินว่า เฟซบุ๊ก มีผู้ใช้ต่อเดือนราว 135.1 ล้านคน นับเฉพาะในสหรัฐอเมริกา[7]

ข้อมูล ณ วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2554 จากเฟซบุ๊กมีจานวนสมาชิกทั้งหมด 584,628,480 สมาชิกทั้วโลก โดยเป็นสมาชิกจาก
ประเทศไทย รวม 6,914,800 สมาชิก [8]

ประวัติ
มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ได้เริ่มเขียนเว็บไซต์ เฟซแมช ขึ้นมาก่อนที่จะเป็นเฟซบุ๊ก เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 2003 ขณะที่กาลัง
ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 2 ของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด โดยเป็นเว็บไซต์ทเี่ ปรียบเสมือนเว็บ ฮอตออร์น็อต ของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด[9]
และจากข้อมูลของหนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ชื่อ The Harvard Crimson เฟซแมชใช้ภาพที่ได้จาก เฟซบุ๊ก หนังสือแจก
สาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยที่มรูปนักศึกษา จากบ้าน 9 หลัง โดยจะมีรูป 2 รูปให้คนเลือกว่า ใครร้อนแรงกว่ากัน[10]
                                   ี
มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ผู้ก่อตั้งเฟซบุก
                                    ๊

เพื่อทาให้ได้สาเร็จ ซักเคอร์เบิร์กได้แฮกเข้าไปในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของฮาวาร์ดในพื้นที่ ป้องกัน และได้คัดลอกภาพ
ส่วนตัวประจาหอพัก ซึ่งในขณะนั้นฮาวาร์ดยังไม่มีสารบัญรูปภาพและข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษา และเฟซแมชได้ทาให้มีผู้
เข้าเยี่ยมชม 450 คน และดูรปภาพ 22,000 ครั้งใน 4 ชั่วโมงแรกที่ออนไลน์[10] และเว็บไซต์นี้ได้จาลองสังคมกายภาพของคน
                           ู
ด้วยอัตลักษณ์จริง เป็นตัวแทนของกุญแจสาคัญด้านมุมมอง ที่ต่อมาได้กลายมาเป็น เฟซบุ๊ก[11]

เว็บไซต์ได้ก้าวไกลไปในหลายเซิร์ฟเวอร์ของกลุ่มในมหาวิทยาลัย แต่ก็ปิดตัวไปในอีกไม่กี่วันโดยคณะบริหารฮาวาร์ด
ซักเคอร์เบิร์กถูกกล่าวโทษว่าทาผิดต่อระบบรักษาความปลอดภัย การละเมิดลิขสิทธิ์ และการละเมิดความเป็นส่วนตัว และ
ยังถูกไล่ออก แต่ท้ายที่สุดแล้วข้อกล่าวหาก็ยกเลิกไป[12] ต่อมาซักเคอร์เบิร์กได้ขยับขยายโครงการในเทอมนั้นเอง โดยได้
คิดค้นเครื่องมือการศึกษาทางสังคมที่ก้าวหน้า ของการสอบวิชาประวัติศาสตร์ โดยการอัปโหลดรูปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์
โรม 500 รูป โดยมี 1 รูปกับอีก 1 ส่วนที่ให้แสดงความเห็น[11] เขาเปิดกับเพื่อนร่วมชั้นของเขา และคนเริ่มที่จะแบ่งปัน
ข้อความกัน

ในเทอมต่อมาซักเคอร์เบิร์กเริ่มเขียนโค้ดในเว็บไซต์ใหม่ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2004 เขาได้รับแรงกระตุ้นให้ทา เขาพูดไว้
ใน The Harvard Crimson เกี่ยวกับเรื่อง เฟซแมช[13] และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ซักเกอร์เบิร์กได้เปิดตัวเว็บไซต์
‚เดอะเฟซบุก‛ ในยูอาร์แอล thefacebook.com[14]

6 วันหลังจากเปิดเว็บไซต์ รุ่นพี่ 3 คน คือ แคเมรอน วิงก์เลวอส, ไทเลอร์ วิงก์เลวอส และดิฟยา นาเรนดรา ได้ฟ้องร้องซัก
เกอร์เบิร์กที่หลอกลวงพวกเขาให้เชื่อว่า เขาได้ช่วยทีจะช่วยสร้างเครือข่ายสังคมที่ชื่อว่า HarvardConnection.com ขณะทีเ่ ขา
                                                   ่
ใช้แนวคิดพวกเขาในการสร้างเว็บไซต์เพื่อแข่งขัน[15] ทั้ง 3 คนได้บ่นในหนังสือพิมพ์ Harvard Crimson โดยทาง
หนังสือพิมพ์เริ่มทาการสอบสวน ต่อมาทั้ง 3 คนได้ยื่นฟ้องทางกฎหมายต่อซักเกอร์เบิร์กในภายหลัง[16]

แต่เดิม สมาชิกจะจากัดเฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด และภายในเดือนแรก มากกว่าครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่กาลัง
ศึกษาอยู่ได้ลงทะเบียนใช้บริการ[17] เอ็ดวาร์โด ซาเวริน (ดูแลเรื่องธุรกิจ), ดิสติน มอสโควิตซ์ (โปรแกรเมอร์), แอนดรูว์ แม็ก
คอลลัม (กราฟิก) และคริส ฮิวส์ ที่ต่อมาได้ร่วมกับซักเกอร์เบิร์กเพื่อประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ และในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2004
เฟซบุ๊กได้ขยับขยายสู่มหาวิทยาลัยอื่นอย่าง สแตนฟอร์ด, โคลัมเบีย, และเยล[18] และยังคงขยับขยายต่อสู่กลุ่มไอวีลีกทั้งหมด
และมหาวิทยาลัยบอสตัน, มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก, เอ็มไอที และสู่มหาวิทยาลัยอื่นในแคนาดาและสหรัฐอเมริกาไปทีละน้อย
[19][20]



เฟซบุ๊กได้เป็นบริษัทในฤดูร้อนปี ค.ศ. 2004 และได้นักธุรกิจ ฌอน พาร์กเกอร์ ที่ได้เคยแนะนาซักเกอร์เบิร์กอย่างเป็นกันเอง
ก็ได้ก้าวมาเป็นประธานของบริษท.[21] ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2004 เฟซบุ๊กได้ย้ายฐานปฏิบติงานมาอยู่ที่ แพโลอัลโต รัฐ
                              ั                                                           ั
             [18]                                                                    [22]
แคลิฟอร์เนีย และได้รับเงินทุนในเดือนนั้นจากผู้ร่วมก่อตั้ง เพย์พาล ที่ชื่อ ปีเตอร์ ธีล บริษทได้เปลี่ยนชื่อ โดยลดคาว่า
                                                                                            ั
เดอะ ออกไป และซื้อโดเมนเนมใหม่ในชื่อ เฟซบุ๊ก.คอม ในปี ค.ศ. 2005 ด้วยเงิน 2 แสนเหรียญสหรัฐ[23]

เฟซบุ๊กได้เปิดตัวในรูปแบบของโรงเรียนไฮสคูล ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2005 ที่ซักเกอร์เบิร์กเรียกว่า ก้าวต่อไปที่มีเหตุผล[24]
ณ เวลานั้นในเครือข่ายไฮสคูล ต้องการการรับเชิญเท่านันเพื่อร่วมเว็บไซต์[25] ต่อมาเฟซบุ๊กได้ขยับขยายให้กับลูกจ้างบริษท
                                                   ้                                                              ั
ที่คัดสรรอย่าง แอปเปิล และ ไมโครซอฟท์[26] เฟซบุ๊กได้เปิดตัวเมื่อวันที่ 26 กันยายน ค.ศ. 2006 ให้ทกคนได้ใช้กัน โดยต้อง
                                                                                                ุ
                                       [27][28]
มีอายุมากกว่า 13 ปี และมีอีเมล์ทแท้จริง
                                ี่

ในวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 2007 ไมโครซอฟท์ประกาศว่าได้ซื้อหุ้นของเฟซบุ๊กเป็นจานวน 1.6% ด้วยเงิน 240 ล้านเหรียญ
สหรัฐ ทาให้เฟซบุกมีมูลค่าราว 15 พันล้านเหรียญสหรัฐ[29] และทาให้ไมโครซอฟท์มีสทธิ์ที่จะแขวนป้ายโฆษณาบนเฟซบุ๊ก
                                                                             ิ
ได้ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2008 เฟซบุกประกาศว่าจะตั้งสานักงานใหญ่ระดับนานาชาติในดับลิน ประเทศไอร์แลนด์[31]
  [30]



ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2009 เฟซบุ๊กได้กล่าวว่า สถานะการเงินเริ่มเป็นตัวเลขบวกเป็นครั้งแรก [32] ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.
2010 จากข้อมูลของ เซคันด์มาร์เก็ต ระบุว่าเฟซบุกมีมูลค่า 41 พันล้านเหรียญสหรัฐ (แซงหน้าอีเบย์ไปเล็กน้อย) และถือเป็น
บริษทเว็บไซต์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับ 3 รองจากกูเกิลและแอมะซอน[33] สถิติผู้เข้าชมในเฟซบุ๊กหลังปี ค.ศ.
    ั
2009 ผู้ชมเฟซบุ๊กมากกว่ากูเกิลในปลายสัปดาห์ของสัปดาห์ 13 มีนาคม ค.ศ. 2010 [34]

ข้อพิพาทและการวิจารณ์
เฟซบุ๊กประสบกับข้อพิพาทหลายเรื่อง เฟซบุ๊กถูกปิดกั้นการเข้าถึงเป็นช่วง ๆ ในหลายประเทศ อย่างเช่นใน ประเทศจีน,[35]
เวียดนาม[36] อิหร่าน[37] อุซเบกิสถาน[38] ปากีสถาน[39] ซีเรีย[40] และบังคลาเทศ[41] ในเหตุผลที่แตกต่างกันไป ตัวอย่างเช่น
เนื้อหาการต่อต้านอิสลามและการแบ่งแยกทางศาสนาในเฟซบุ๊ก และยังถูกห้ามใช้จากหลายประเทศ และยังถูกห้ามใช้ใน
สถานที่ทางานหลายทีเ่ พื่อป้องกันพนักงานเสียเวลาในการทา งาน[42] และนโยบายความเป็นส่วนตัวก็เป็นประเด็น และความ
ปลอดภัยของบัญชีผู้ใช้ก็มีการไกล่เกลี่ยกันหลายต่อหลายครัง เฟซบุ๊กได้ลงมือแก้ปัญหาคดีความที่เกี่ยวกับซอร์ซโคดและ
                                                               ้
                     [43]
ทรัพย์สินทางปัญญา

บริษัท
รายได้ส่วนมากของเฟซบุ๊กมาจากการโฆษณา โดยไมโครซอฟท์เป็นผู้ร่วมหุ้นพิเศษในด้านการบริการแบนเนอร์โฆษณา[44]
และเฟซบุ๊กให้มีการโฆษณาเฉพาะที่อยู่ในรายการลูกค้าของไมโครซอฟท์ และจากข้อมูลของคอมสกอร์ บริษัทสารวจ
การตลาดทางอินเทอร์เน็ต ระบุว่า เฟซบุ๊กได้รวบรวมข้อมูลเข้าเว็บไซต์มากกว่า กูเกิลและไมโครซอฟท์ แต่น้อยกว่า ยาฮู![45]
ในปี ค.ศ. 2010 ทีมระบบความปลอดภัยได้เพิ่มประโยชน์จากการต่อต้านภัยคุกคามและก่อการร้ายจากผู้ใช้[46] เมื่อวันที่ 6
พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 เฟซบุ๊กได้เปิดตัว เฟซบุ๊กบีคอน เป็นการพยายามในการโฆษณาให้เหล่าเพื่อน โดยใช้ประโยชน์จาก
สิ่งที่เพื่อนซื้อ แต่เฟซบุ๊กบีคอนก็เกิดความล้มเหลว

โดยปกติแล้ว เฟซบุ๊กจะมีอตราการคลิกโฆษณาต่อการการแสดงโฆษณา (clickthrough rate) ต่ากว่าเว็บไซต์ใหญ่ ๆ อืน ที่
                             ั                                                                                 ่
ในแบนเนอร์โฆษณา เฟซบุ๊กจะมีอัตราการคลิ๊ก 1 ต่อ 5 เทียบกับเว็บไซต์อื่น[47] นั่นหมายถึงว่ามีเปอร์เซ็นต์ทน้อยกว่า ที่ผู้ใช้
                                                                                                      ี่
เฟซบุ๊กจะกดคลิกโฆษณา ตัวอย่างเช่น ผู้ใช้กูเกิลคลิกโฆษณาแรกในการค้นหาเฉลี่ย 8% (80,000 คลิกในทุก 1 ล้านการ
ค้นหา) [48] แต่ผู้ใช้เฟซบุ๊กจะคลิกโฆษณาในอัตรา 0.04% (400 คลิกในทุก 1 ล้านหน้า) [49]

แซราห์ สมิท ผู้จัดการบริการงานขายออนไลน์ของเฟซบุ๊ก ยืนยันว่า การรณรงค์โฆษณาประสบความสาเร็จ สามารถมีอัตรา
การคลิกโฆษณาต่อการการแสดงโฆษณา (CTR) ต่าอยู่ราว 0.05% ถึง 0.04% แต่อัตราการคลิกโฆษณาต่อการการแสดง
โฆษณาสาหรับโฆษณามีแนวโน้มจะตกลงภายใน 2 อาทิตย์[50] เมือเปรียบเทียบ CTR กับมายสเปซแล้ว มียอดประมาณ
                                                                 ่
0.1% ซึ่งเป็น 2.5 เท่าของเฟซบุ๊ก และต่ากว่านี้เมื่อเทียบกับเว็บไซต์อื่น คาอธิบายเรื่อง CTR สาหรับโฆษณาที่ต่าในเฟซบุ๊ก
เนื่องจาก ข้อเท็จจริงทีผู้ใช้เฟซบุกเป็นผู้รอบรูทางเทคโนโลยีและใช้ซอฟต์แวร์ ป้องกันและซ้อนโฆษณา ผู้ใช้มักเป็นคน
                       ่          ๊            ้
หนุ่มสาวกว่าและชอบที่จะหลีกเลี่ยงข้อความโฆษณา ที่ในมายสเปซแล้วผู้ใช้จะเข้าถึเนื้อหามากกว่า ในขณะทีผู้ใช้เฟซบุ๊ก
                                                                                                          ่
                                                                       [51]
จะใช้เวลาในการสื่อสารกับเพื่อน เป็นเหตุให้พวกเขาไปสนใจโฆษณา

ในหน้าของตราสินค้าและผลิตภัณฑ์ ในบางบริษัทมีรายงานว่า มี CTR สูงถึง 6.49% ในหน้าวอล[52] อินโวลเวอร์ ซึ่งเป็น
แพลตฟอร์มการตลาดสังคม ประกาศว่า ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2009 ว่าสามารถบรรลุเป้า CTR ที่ 0.7% ในเฟซบุ๊ก (เป็น
10 เท่าของ CTR การโฆษณาในเฟซบุ๊ก) กับลูกค้าคือ เซเรนาซอฟต์แวร์ ถือเป็นลูกค้ารายแรกของอินโวเวอร์ ที่สามารถมี
ผู้ชม 1.1 ล้านครั้งจากผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ 8,000 คน[53] จากการศึกษาพบว่า วิดีโอโฆษณาในเฟซบุ๊กนัน ผู้ใช้ 40% ดูวิดีโอ
                                                                                              ้
                                                                                     [54]
ทั้งหมดของวิดโอ ขณะทีค่าเฉลี่ยมาตรฐานอยู่ที่ 25% ของโฆษณาแบบแบนเนอร์ในวิดีโอ
               ี             ่

เฟซบุ๊กมีลูกจ้างมากกว่า 1,700 คน และมีสานักงานใน 12 ประเทศ[55] โดยมาร์ก ซักเคอร์เบิร์กถือหุนของบริษัท 24% แอ็
                                                                                                 ้
                                                                     [56]
กเซล พาร์ตเนอร์ถือหุ้น 10% ดิจตอลสกายเทคโนโลยีส์ถือหุน 10% ดัสติน มอสโควิตซ์ถือหุ้น 6% เอ็ดวาร์โด ซาเวรินถือ
                                ิ                            ้
หุ้น 5% ฌอน พาร์กเกอร์ถือหุ้น 4% ปีเตอร์ ธีลถือหุ้น 3% เกรย์ล็อกพาร์ตเนอร์สและเมริเทคแคพิทอลพาร์ตเนอร์ส ถือหุ้น
ระหว่าง 1 ถึง 2% แต่ละบริษท ไมโครซอฟท์ถือหุน 1.3% ลิ คา-ชิงถือหุ้น 0.75% อินเตอร์พับลิกกรุปถือหุ้นน้อยกว่า 0.5%
                            ั                  ้
นอกจากนั้นยังมีลูกจ้างปัจจุบันและอดีตลูกจ้างรวมถึงผู้มีชื่อเสียงอื่นถือ หุ้นอีกน้อยกว่า 1% เช่น แมต โคห์เลอร์, เจฟฟ์
รอทส์ไชลด์, วุฒิสมาชิกรัฐแคลิฟอร์เนีย บาร์บารา บอกเซอร์, คริส ฮิวส์ และโอเวน แวน แนตตา ขณะที่รีด ฮอฟแมนและ
มาร์ก พินคัสเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษท และที่เหลืออีก 30% ถือหุนโดยลูกจ้าง ผู้มีชื่อเสียงไม่เปิดเผยชื่ออีกจานวนหนึ่ง
                                     ั                             ้
                    [57]
รวมถึงนักลงทุนอื่น แอดัม ดี’แองเจโล ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ายเทคโนโลยีและเพื่อนของซักเคอร์เบิร์กได้ลาออกไปใน
                                                           ่
เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 มีรายงานอ้างว่าเขาและซักเคอร์เบิร์กเริมไม่ลงรอยกัน และเป็นเหตุให้เขาไม่มีความสนใจในการ
                                                                 ่
เป็นหุ้นส่วนของบริษัท[58]

หมายเหตุ
    1. ^ ผู้ใช้ประจาในเฟซบุ๊กหมายถึง บัญชีรายชื่อของผู้ใช้ที่เยี่ยมเข้าเว็บไซต์ใน 30 วันที่ผ่านมา
อ้างอิง
    1. ^ Eldon, Eric. (2008-12-18). ‚2008 Growth Puts Facebook In Better Position to Make Money‛. VentureBeat.
        http://venturebeat.com/2008/12/18/2008-growth-puts-facebook-in-better-position-to-make-money/. เรียกข้อมูล
        เมื่อ 2008-12-19.
    2. ^ Sengupta, Somini. ‚Facebook’s Prospects May Rest on Trove of Data‚, The New York Times, May 14, 2012.
        สืบค้นวันที่ May 15, 2012
    3. ^ ‚Facebook Statistics‛. http://www.facebook.com/press/info.php?statistics. เรียกข้อมูลเมื่อ July 21, 2010.
    4. ^ Carlson, Nicholas (2010-03-05). ‚At Last – The Full Story Of How Facebook Was Founded‛. Business
        Insider. http://www.businessinsider.com/how-facebook-was-founded-2010-3#we-can-talk-about-that-after-i-
        get-all-the-basic-functionality-up-tomorrow-night-1.
    5. ^ Kazeniac, Andy. ‚Social Networks: Facebook Takes Over Top Spot, Twitter Climbs‚, Compete.com, 2009-
        02-09. สืบค้นวันที่ 2009-02-17
    6. ^ Geier, Thom, Jensen, Jeff; Jordan, Tina; Lyons, Margaret; Markovitz, Adam; Nashawaty, Chris; Pastorek,
        Whitney; Rice, Lynette; Rottenberg, Josh; Schwartz, Missy; Slezak, Michael; Snierson, Dan; Stack, Tim;
        Stroup, Kate; Tucker, Ken; Vary, Adam B.; Vozick-Levinson, Simon; Ward, Kate. ‚THE 100 Greatest Movies,
        TV Shows, Albums, Books, Characters, Scenes, Episodes, Songs, Dresses, Music Videos, and Trends that
        entertained us over the 10 Years‛, Entertainment Weekly, December 11, 2009)
    7. ^ ‚facebook.com — Quantcast Audience Profile‛. Quantcast.com. 2010-10-27.
        http://www.quantcast.com/facebook.com. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-11-07.
    8. ^ ‚Facebook Statistics by country‛. socialbakers.com/. 2011-1-04. http://www.socialbakers.com/facebook-
        statistics/?interval=last-6-months. เรียกข้อมูลเมื่อ 2011-1-07.
    9. ^ Tabak, Alan J.. ‚Hundreds Register for New Facebook Website‚, Harvard Crimson, February 9, 2004. สืบค้น
        วันที่ 2008-11-07
    10. ^ 10.0 10.1 Locke, Laura. ‚The Future of Facebook‛, Time Magazine, July 17, 2007. Retrieved November 13,
        2009.
    11. ^ 11.0 11.1 McGirt, Ellen. ‚Facebook’s Mark Zuckerberg: Hacker. Dropout. CEO. ‚, Fast Company, May 1, 2007.
        Retrieved November 5, 2009.
    12. ^ Kaplan, Katherine (2003-11-19). ‚Facemash Creator Survives Ad Board‛. The Harvard Crimson.
        http://www.thecrimson.com/article.aspx?ref=350143. เรียกข้อมูลเมื่อ 2009-02-05.
    13. ^ Hoffman, Claire (2008-06-28). ‚The Battle for Facebook‛. Rolling Stone. Archived from the original on July
        3, 2008.
        http://web.archive.org/web/20080703220456/http://www.rollingstone.com/news/story/21129674/the_battle_for
        _facebook/. เรียกข้อมูลเมื่อ 2009-02-05.
    14. ^ Seward, Zachary M.. ‚Judge Expresses Skepticism About Facebook Lawsuit‚, The Wall Street Journal, 2007-
        07-25. สืบค้นวันที่ 2008-04-30
15. ^ Carlson, Nicolas. ‚In 2004, Mark Zuckerberg Broke Into A Facebook User’s Private Email Account‚,
    Business Insider, 2010-03-05. สืบค้นวันที่ 2010-03-05
16. ^ Brad Stone. ‚Judge Ends Facebook’s Feud With ConnectU‚, The New York Times, 2008-06-28
17. ^ Phillips, Sarah. ‚A brief history of Facebook‚, The Guardian, 2007-07-25. สืบค้นวันที่ 2008-03-07
18. ^ 18.0 18.1 ‚Press Room‛. Facebook. 2007-01-01. http://www.facebook.com/press/info.php?timeline. เรียกข้อมูล
    เมื่อ 2008-03-05.
19. ^ Rosmarin, Rachel (2006-09-11). ‚Open Facebook‛. Forbes. http://www.forbes.com/2006/09/11/facebook-
    opens-up-cx_rr_0911facebook.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-06-13.
20. ^ ‚Online network created by Harvard students flourishes‛. The Tufts Daily.
    http://www.tuftsdaily.com/2.5541/1.600318. เรียกข้อมูลเมื่อ 2009-08-21.
21. ^ Rosen, Ellen. ‚Student’s Start-Up Draws Attention and $13 Million‚, The New York Times, 2005-05-26.
    สืบค้นวันที่ 2009-05-18
22. ^ ‚Why you should beware of Facebook‚, The Age, 2008-01-20. สืบค้นวันที่ 2008-04-30
23. ^ Williams, Chris (2007-10-01). ‚Facebook wins Manx battle for face-book.com‛. The Register.
    http://www.theregister.co.uk/2007/10/01/facebook_domain_dispute/. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-06-13.|
24. ^ Dempsey, Laura. ‚Facebook is the go-to Web site for students looking to hook up‛, Dayton Daily News,
    2006-08-03
25. ^ Lerer, Lisa (2007-01-25). ‚Why MySpace Doesn’t Card‛. Forbes.
    http://www.forbes.com/security/2007/01/25/myspace-security-identity-tech-security-
    cx_ll_0124myspaceage.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-06-13.
26. ^ Lacy, Sarah (2006-09-12). ‚Facebook: Opening the Doors Wider‛. BusinessWeek.
    http://www.businessweek.com/technology/content/sep2006/tc20060912_682123.htm?chan=top+news_top+new
    s+index_technology. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-03-09.
27. ^ Abram, Carolyn. ‚Welcome to Facebook, everyone‚, Facebook, 2006-09-26. สืบค้นวันที่ 2008-03-08
28. ^ ‚Terms of Use‛. Facebook. 2007-11-15. http://www.facebook.com/terms.php. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-03-05.
29. ^ ‚Facebook and Microsoft Expand Strategic Alliance‛. Microsoft. 2007-10-24.
    http://www.microsoft.com/Presspass/press/2007/oct07/10-24FacebookPR.mspx. เรียกข้อมูลเมื่อ 2007-11-08.
30. ^ ‚Facebook Stock For Sale‛. BusinessWeek.
    http://www.businessweek.com/magazine/content/08_33/b4096000952343.htm?chan=rss_topEmailedStories_ssi
    _5. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-08-06.
31. ^ ‚Press Releases‛. Facebook. 2008-11-30. http://www.facebook.com/press/releases.php?p=59042. เรียกข้อมูล
    เมื่อ 2008-11-30.
32. ^ ‚Facebook ‘cash flow positive,’ signs 300M users‚, Cbc.ca, 2009-09-16. สืบค้นวันที่ 2010-03-23
33. ^ Facebook Becomes Third Biggest US Web Company http://www.thejakartaglobe.com/technology/facebook-
    becomes-third-biggest-us-web-company/406751
34. ^ ‚Facebook Reaches Top Ranking in US‛. http://weblogs.hitwise.com/heather-
    dougherty/2010/03/facebook_reaches_top_ranking_i.html.
35. ^ ‚Uzbek authorities have blocked access to Facebook‛.
    http://www.ferghana.ru/news.php?id=15794&mode=snews. เรียกข้อมูลเมื่อ 21 October 2010. ‚China’s
    Facebook Status: Blocked‛. ABC News. July 8, 2009.
    http://blogs.abcnews.com/theworldnewser/2009/07/chinas-facebook-status-blocked.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 13
    July 2009.
36. ^ Ben Stocking. ‚Vietnam Internet users fear Facebook blackout‚, The San Francisco Chronicle, 2009-11-17.
    สืบค้นวันที่ 2009-11-17[ลิงก์เสีย]
37. ^ Shahi, Afshin. (July 27, 2008). ‚Iran’s Digital War‛. Daily News Egypt.
    http://dailystaregypt.com/article.aspx?ArticleID=15313. เรียกข้อมูลเมื่อ August 16, 2008.
38. ^ (รัสเซีย)
39. ^ Cooper, Charles. ‚Pakistan Bans Facebook Over Muhammad Caricature Row – Tech Talk‚, CBS News,
    2010-05-19. สืบค้นวันที่ 2010-06-26
40. ^ ‚Red lines that cannot be crossed‚, The Economist, July 24, 2008. สืบค้นวันที่ August 17, 2008
41. ^ Ben Escurado (2010-11-14). ‚Saudi Arabia blocks Facebook‛. TechViewz.Org.
    http://techviewz.org/2010/11/saudi-arabia-blocks-facebook.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-11-16.
42. ^ Benzie, Robert. ‚Facebook banned for Ontario staffers‚, TheStar.com, May 3, 2007. สืบค้นวันที่ August 16,
    2008
43. ^ Stone, Brad. ‚Facebook to Settle Thorny Lawsuit Over Its Origins‚, The New York Times (blog), April 7,
    2008. สืบค้นวันที่ November 5, 2009
44. ^ ‚Product Overview FAQ: Facebook Ads‛. Facebook.
    http://www.facebook.com/press/faq.php#Facebook+Ads. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-03-10.[ลิงก์เสีย]
45. ^ Story, Louise. ‚To Aim Ads, Web Is Keeping Closer Eye on You‚, The New York Times, 2008-03-10. สืบค้น
    วันที่ 2008-03-09
46. ^ Cluley, Graham (February 1, 2010). ‚Revealed: Which social networks pose the biggest risk?‛. Sophos.
    http://www.sophos.com/blogs/gc/g/2010/02/01/revealed-social-networks-pose-biggest-risk/. เรียกข้อมูลเมื่อ July
    12, 2010.
47. ^ ‚Facebook May Revamp Beacon‛. BusinessWeek. 2007-11-28.
    http://www.businessweek.com/technology/content/nov2007/tc20071128_366355_page_2.htm. เรียกข้อมูลเมื่อ
    2010-07-18.
48. ^ ‚Google AdWords Click Through Rates Per Position‛. AccuraCast. 2009-10-09.
    http://www.accuracast.com/seo-weekly/adwords-clickthrough.php. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-18.
49. ^ Denton, Nick (2007-03-07). ‚Facebook ‘consistently the worst performing site’‛. Gawker.
    http://valleywag.gawker.com/242234/facebook-consistently-the-worst-performing-site. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-
    18.
50. ^ ‚Facebook Says Click Through Rates Do Not Match Those At Google‛. TechPulse 360. 2009-08-12.
         http://techpulse360.com/2009/08/12/facebook-says-its-click-through-rates-do-not-match-those-at-google/. เรียก
         ข้อมูลเมื่อ 2010-07-18.
     51. ^ Leggatt, Helen (2007-07-16). ‚Advertisers disappointed with Facebook’s CTR‛. BizReport.
         http://www.bizreport.com/2007/07/advertisers_disappointed_with_facebooks_ctr.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-
         18.
     52. ^ Klaassen, Abbey (2009-08-13). ‚Facebook’s Click-Through Rates Flourish … for Wall Posts‛. AdAge.
         http://adage.com/digitalnext/post?article_id=138442. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-18.
     53. ^ ‚Involver Delivers Over 10x the Typical Click-Through Rate for Facebook Ad Campaigns‛. Press release.
         2008-07-31. http://www.prweb.com/releases/2008/07/prweb1162804.htm. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-18.
     54. ^ Walsh, Mark (2010-06-15). ‚Study: Video Ads On Facebook More Engaging Than Outside Sites‛.
         MediaPost. http://www.mediapost.com/publications/?fa=Articles.showArticle&art_aid=130217. เรียกข้อมูลเมื่อ
         2010-07-18.
     55. ^ ‚Facebook Factsheet‛. http://www.facebook.com/press/info.php?factsheet. เรียกข้อมูลเมื่อ November 21,
         2010.
     56. ^ ‚Facebook’s friend in Russia‚, CNN, 2010-10-04. สืบค้นวันที่ December 18, 2010
     57. ^ David Kirkpatrick. The Facebook Effect. p. 322. ISBN 1439102112.
     58. ^ McCarthy, Caroline (May 11, 2008). ‚As Facebook goes corporate, Mark Zuckerberg loses an early player‛.
         CNET.com. http://news.cnet.com/8301-13577_3-9941488-36.html. เรียกข้อมูลเมื่อ July 12, 2010.

ที่มา http://th.wikipedia.org/เฟซบุ๊ก

         ความเห็น 1 ความเห็น
         หมวดหมู่ home

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1POmp POmpomp
 
Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
TeenhiphopPrint25
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
library 2.0
library 2.0library 2.0
library 2.0
Satapon Yosakonkun
 
เริ่มต้นการใช้งาน Facebook 2013
เริ่มต้นการใช้งาน Facebook 2013เริ่มต้นการใช้งาน Facebook 2013
เริ่มต้นการใช้งาน Facebook 2013
nonay555
 
Internet change1997
Internet change1997Internet change1997
Internet change1997
Surapol Imi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรPongtep Bungkilo
 
FACEBOOK(โครงงาน)
FACEBOOK(โครงงาน)FACEBOOK(โครงงาน)
FACEBOOK(โครงงาน)
Pumbaa Stk
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานShe's Mammai
 
Social Network
Social NetworkSocial Network
Social Network
mod2may
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25Thanggwa Taemin
 

What's hot (13)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
Teenhiphop
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
library 2.0
library 2.0library 2.0
library 2.0
 
เริ่มต้นการใช้งาน Facebook 2013
เริ่มต้นการใช้งาน Facebook 2013เริ่มต้นการใช้งาน Facebook 2013
เริ่มต้นการใช้งาน Facebook 2013
 
Internet change1997
Internet change1997Internet change1997
Internet change1997
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
มาทำความร จ_ก facebook
มาทำความร  จ_ก facebookมาทำความร  จ_ก facebook
มาทำความร จ_ก facebook
 
FACEBOOK(โครงงาน)
FACEBOOK(โครงงาน)FACEBOOK(โครงงาน)
FACEBOOK(โครงงาน)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
Social Network
Social NetworkSocial Network
Social Network
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
 

Viewers also liked

โครงงาน เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการIOS และAndroid
โครงงาน เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการIOS และAndroidโครงงาน เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการIOS และAndroid
โครงงาน เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการIOS และAndroid
ชนม์นิภา อาย
 
Copy (2) of โครงงานเรื่อง facebook
Copy (2) of โครงงานเรื่อง  facebookCopy (2) of โครงงานเรื่อง  facebook
Copy (2) of โครงงานเรื่อง facebookSunisa Pongpanta
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง Facebook
แบบเสนอโครงงานเรื่อง  Facebookแบบเสนอโครงงานเรื่อง  Facebook
แบบเสนอโครงงานเรื่อง FacebookSunisa Pongpanta
 
Apresentação herói maior man
Apresentação herói maior manApresentação herói maior man
Apresentação herói maior manzarronne
 
El Psuv Municipio Sucre Marcho El 23 De Enero Ii
El Psuv Municipio Sucre Marcho El 23 De Enero IiEl Psuv Municipio Sucre Marcho El 23 De Enero Ii
El Psuv Municipio Sucre Marcho El 23 De Enero IiFrancisco Gutierrez
 
Como insertar videos e imágenes en blogger matias rivera
Como insertar videos e imágenes  en blogger matias riveraComo insertar videos e imágenes  en blogger matias rivera
Como insertar videos e imágenes en blogger matias riveramatoxz1452
 
Censos 2011 aveiro
Censos 2011 aveiroCensos 2011 aveiro
Censos 2011 aveiro
RoteiroItinerante
 
Fracciones algebraicas umg ing sistemas
Fracciones algebraicas umg ing sistemasFracciones algebraicas umg ing sistemas
Fracciones algebraicas umg ing sistemasarqcompu
 
Deedz
DeedzDeedz
Organitzacio empresa apaisada
Organitzacio empresa apaisadaOrganitzacio empresa apaisada
Organitzacio empresa apaisadapmodol
 
OBESIDAD INFANTIL EN MÉXICO
OBESIDAD INFANTIL EN MÉXICOOBESIDAD INFANTIL EN MÉXICO
OBESIDAD INFANTIL EN MÉXICOAlex Hdez
 
иоп 020413 каз.
иоп 020413 каз.иоп 020413 каз.
иоп 020413 каз.NisEdu
 
Historia de la computadora
Historia de la computadoraHistoria de la computadora
Historia de la computadoraadrianamarialuz
 
Cadespecial24
Cadespecial24Cadespecial24
Cadespecial24mauxa
 

Viewers also liked (20)

โครงงาน เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการIOS และAndroid
โครงงาน เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการIOS และAndroidโครงงาน เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการIOS และAndroid
โครงงาน เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการIOS และAndroid
 
Copy (2) of โครงงานเรื่อง facebook
Copy (2) of โครงงานเรื่อง  facebookCopy (2) of โครงงานเรื่อง  facebook
Copy (2) of โครงงานเรื่อง facebook
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง Facebook
แบบเสนอโครงงานเรื่อง  Facebookแบบเสนอโครงงานเรื่อง  Facebook
แบบเสนอโครงงานเรื่อง Facebook
 
Apresentação herói maior man
Apresentação herói maior manApresentação herói maior man
Apresentação herói maior man
 
El Psuv Municipio Sucre Marcho El 23 De Enero Ii
El Psuv Municipio Sucre Marcho El 23 De Enero IiEl Psuv Municipio Sucre Marcho El 23 De Enero Ii
El Psuv Municipio Sucre Marcho El 23 De Enero Ii
 
Como insertar videos e imágenes en blogger matias rivera
Como insertar videos e imágenes  en blogger matias riveraComo insertar videos e imágenes  en blogger matias rivera
Como insertar videos e imágenes en blogger matias rivera
 
Censos 2011 aveiro
Censos 2011 aveiroCensos 2011 aveiro
Censos 2011 aveiro
 
Fracciones algebraicas umg ing sistemas
Fracciones algebraicas umg ing sistemasFracciones algebraicas umg ing sistemas
Fracciones algebraicas umg ing sistemas
 
Deedz
DeedzDeedz
Deedz
 
Comida
ComidaComida
Comida
 
Organitzacio empresa apaisada
Organitzacio empresa apaisadaOrganitzacio empresa apaisada
Organitzacio empresa apaisada
 
OBESIDAD INFANTIL EN MÉXICO
OBESIDAD INFANTIL EN MÉXICOOBESIDAD INFANTIL EN MÉXICO
OBESIDAD INFANTIL EN MÉXICO
 
иоп 020413 каз.
иоп 020413 каз.иоп 020413 каз.
иоп 020413 каз.
 
El capurro edición 33
El capurro edición 33El capurro edición 33
El capurro edición 33
 
Historia de la computadora
Historia de la computadoraHistoria de la computadora
Historia de la computadora
 
Proinfo 40 horas
Proinfo 40 horasProinfo 40 horas
Proinfo 40 horas
 
Capurro
CapurroCapurro
Capurro
 
Versão final.defesa
Versão final.defesaVersão final.defesa
Versão final.defesa
 
El capurro edición 31
El capurro edición 31El capurro edición 31
El capurro edición 31
 
Cadespecial24
Cadespecial24Cadespecial24
Cadespecial24
 

Similar to เฟซบุ๊ก

Profile facebook
Profile facebookProfile facebook
Profile facebookmayraya19
 
Profile facebook
Profile facebookProfile facebook
Profile facebook
testja
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3PangMy
 
รอบรู้โลกโซเชียล2
รอบรู้โลกโซเชียล2รอบรู้โลกโซเชียล2
รอบรู้โลกโซเชียล2
mmnsrl
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTangkwa Tom
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้วัจนี ศรีพวงผกาพันธุ์
 
2012education1
2012education12012education1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 

Similar to เฟซบุ๊ก (20)

Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Profile facebook
Profile facebookProfile facebook
Profile facebook
 
Profile facebook
Profile facebookProfile facebook
Profile facebook
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3
 
รอบรู้โลกโซเชียล2
รอบรู้โลกโซเชียล2รอบรู้โลกโซเชียล2
รอบรู้โลกโซเชียล2
 
38
3838
38
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2012education1
2012education12012education1
2012education1
 
Aw22
Aw22Aw22
Aw22
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 

More from chaiwat vichianchai

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ render
chaiwat vichianchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
chaiwat vichianchai
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
chaiwat vichianchai
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
chaiwat vichianchai
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
chaiwat vichianchai
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่  ๔ส่วนที่  ๔
ส่วนที่ ๔
chaiwat vichianchai
 
ส่วนที่ ๓
ส่วนที่  ๓ส่วนที่  ๓
ส่วนที่ ๓
chaiwat vichianchai
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
chaiwat vichianchai
 
ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑
chaiwat vichianchai
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
chaiwat vichianchai
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
chaiwat vichianchai
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
chaiwat vichianchai
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
chaiwat vichianchai
 

More from chaiwat vichianchai (20)

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ render
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่  ๔ส่วนที่  ๔
ส่วนที่ ๔
 
ส่วนที่ ๓
ส่วนที่  ๓ส่วนที่  ๓
ส่วนที่ ๓
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 
ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

เฟซบุ๊ก

  • 1. เฟซบุ๊ก (อังกฤษ: Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมและเว็บไซต์ เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ดาเนินงานและ มีเจ้าของคือ บริษท เฟซบุ๊ก (Facebook, Inc.) [1] จากข้อมูลเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2010 เฟซบุ๊กมีผู้ใช้ประจา 500 ล้านบัญชี ั [2][3][N 1] ผู้ใช้สามารถสร้างข้อมูลส่วนตัว เพิ่มรายชื่อผู้ใช้อื่นในฐานะเพื่อนและแลกเปลี่ยนข้อความ รวมถึงได้รับแจ้งโดย ทันทีเมื่อพวกเขาปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว นอกจากนั้นผู้ใช้ยังสามารถร่วมกลุ่มความสนใจส่วนตัว จัดระบบตาม สถานที่ ทางาน โรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือ อื่น ๆ ชื่อของเฟซบุ๊กนันมาจากชื่อเรียกภาษาปากของสมุดทีให้กบนักเรียนเมื่อ เริ่มเแร ้ ่ ั กเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ที่มอบให้โดยคณะบริหารมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถรู้จักผู้อื่น ได้ดีมากขึ้น เฟซบุ๊กอนุญาตให้ใครก็ได้เข้าสมัครลงทะเบียนกับเฟซบุ๊ก โดยต้องมีอายุมากกว่า 13 ปีขึ้นไป เฟซบุ๊กก่อตั้งขึ้นโดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ร่วมกับเพื่อนร่วมห้องในวิทยาลัยของเขาและเป็นนักเรียนวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ที่ชื่อ เอ็ดวาร์โด ซาเวริน, ดิสติน มอสโควิตซ์ และคริส ฮิวส์[4] เดิมทีสมาชิกของเว็บไซต์จะจากัดเฉพาะกลุ่มผู้ ก่อตั้งและนักเรียนมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด แต่ต่อมาขยับขยายไปสู่มหาวิทยาลัยอื่นในแถบบอสตัน, กลุ่มไอวีลีก, และ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด แล้วค่อย ๆ เพิ่มนักเรียนจากมหาวิทยาลับอื่น จนกระทั่งเปิดให้กบนักเรียนระดับไฮสคูล จนใน ั ที่สุดทุกคนก็สามารถเข้าสมัครได้โดยอายุมากกว่า 13 ปีขึ้นไป สาหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย ฮาร์เวิร์ด ในช่วงแรกนั้นเฟซบุ๊กเปิดให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ซึ่งต่อมาได้ขยายตัวออกไปสาหรับ มหาวิทยาลัยทั่วสหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสาหรับผูใช้ทั่วไปทุกคนเหมือนในปัจจุบน ้ ั จากการศึกษาของเว็บ คอมพีต.คอม ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2009 เฟซบุ๊กถือเป็นบริการเครือข่ายสังคมที่มคนใช้มากที่สุด ี เมื่อดูจากผูใช้ประจารายเดือน รองลงมาคือ มายสเปซ[5] เอ็นเตอร์เทนเมนต์วีกลี ให้อยู่ในรายชื่อ สิ่งที่ดีที่สุดในสิ้นทศวรรษ[6] ้ และควอนต์แคสต์ ประเมินว่า เฟซบุ๊ก มีผู้ใช้ต่อเดือนราว 135.1 ล้านคน นับเฉพาะในสหรัฐอเมริกา[7] ข้อมูล ณ วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2554 จากเฟซบุ๊กมีจานวนสมาชิกทั้งหมด 584,628,480 สมาชิกทั้วโลก โดยเป็นสมาชิกจาก ประเทศไทย รวม 6,914,800 สมาชิก [8] ประวัติ มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ได้เริ่มเขียนเว็บไซต์ เฟซแมช ขึ้นมาก่อนที่จะเป็นเฟซบุ๊ก เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 2003 ขณะที่กาลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 2 ของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด โดยเป็นเว็บไซต์ทเี่ ปรียบเสมือนเว็บ ฮอตออร์น็อต ของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด[9] และจากข้อมูลของหนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ชื่อ The Harvard Crimson เฟซแมชใช้ภาพที่ได้จาก เฟซบุ๊ก หนังสือแจก สาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยที่มรูปนักศึกษา จากบ้าน 9 หลัง โดยจะมีรูป 2 รูปให้คนเลือกว่า ใครร้อนแรงกว่ากัน[10] ี
  • 2. มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก ผู้ก่อตั้งเฟซบุก ๊ เพื่อทาให้ได้สาเร็จ ซักเคอร์เบิร์กได้แฮกเข้าไปในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของฮาวาร์ดในพื้นที่ ป้องกัน และได้คัดลอกภาพ ส่วนตัวประจาหอพัก ซึ่งในขณะนั้นฮาวาร์ดยังไม่มีสารบัญรูปภาพและข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษา และเฟซแมชได้ทาให้มีผู้ เข้าเยี่ยมชม 450 คน และดูรปภาพ 22,000 ครั้งใน 4 ชั่วโมงแรกที่ออนไลน์[10] และเว็บไซต์นี้ได้จาลองสังคมกายภาพของคน ู ด้วยอัตลักษณ์จริง เป็นตัวแทนของกุญแจสาคัญด้านมุมมอง ที่ต่อมาได้กลายมาเป็น เฟซบุ๊ก[11] เว็บไซต์ได้ก้าวไกลไปในหลายเซิร์ฟเวอร์ของกลุ่มในมหาวิทยาลัย แต่ก็ปิดตัวไปในอีกไม่กี่วันโดยคณะบริหารฮาวาร์ด ซักเคอร์เบิร์กถูกกล่าวโทษว่าทาผิดต่อระบบรักษาความปลอดภัย การละเมิดลิขสิทธิ์ และการละเมิดความเป็นส่วนตัว และ ยังถูกไล่ออก แต่ท้ายที่สุดแล้วข้อกล่าวหาก็ยกเลิกไป[12] ต่อมาซักเคอร์เบิร์กได้ขยับขยายโครงการในเทอมนั้นเอง โดยได้ คิดค้นเครื่องมือการศึกษาทางสังคมที่ก้าวหน้า ของการสอบวิชาประวัติศาสตร์ โดยการอัปโหลดรูปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ โรม 500 รูป โดยมี 1 รูปกับอีก 1 ส่วนที่ให้แสดงความเห็น[11] เขาเปิดกับเพื่อนร่วมชั้นของเขา และคนเริ่มที่จะแบ่งปัน ข้อความกัน ในเทอมต่อมาซักเคอร์เบิร์กเริ่มเขียนโค้ดในเว็บไซต์ใหม่ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2004 เขาได้รับแรงกระตุ้นให้ทา เขาพูดไว้ ใน The Harvard Crimson เกี่ยวกับเรื่อง เฟซแมช[13] และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ซักเกอร์เบิร์กได้เปิดตัวเว็บไซต์ ‚เดอะเฟซบุก‛ ในยูอาร์แอล thefacebook.com[14] 6 วันหลังจากเปิดเว็บไซต์ รุ่นพี่ 3 คน คือ แคเมรอน วิงก์เลวอส, ไทเลอร์ วิงก์เลวอส และดิฟยา นาเรนดรา ได้ฟ้องร้องซัก เกอร์เบิร์กที่หลอกลวงพวกเขาให้เชื่อว่า เขาได้ช่วยทีจะช่วยสร้างเครือข่ายสังคมที่ชื่อว่า HarvardConnection.com ขณะทีเ่ ขา ่ ใช้แนวคิดพวกเขาในการสร้างเว็บไซต์เพื่อแข่งขัน[15] ทั้ง 3 คนได้บ่นในหนังสือพิมพ์ Harvard Crimson โดยทาง หนังสือพิมพ์เริ่มทาการสอบสวน ต่อมาทั้ง 3 คนได้ยื่นฟ้องทางกฎหมายต่อซักเกอร์เบิร์กในภายหลัง[16] แต่เดิม สมาชิกจะจากัดเฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด และภายในเดือนแรก มากกว่าครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่กาลัง ศึกษาอยู่ได้ลงทะเบียนใช้บริการ[17] เอ็ดวาร์โด ซาเวริน (ดูแลเรื่องธุรกิจ), ดิสติน มอสโควิตซ์ (โปรแกรเมอร์), แอนดรูว์ แม็ก
  • 3. คอลลัม (กราฟิก) และคริส ฮิวส์ ที่ต่อมาได้ร่วมกับซักเกอร์เบิร์กเพื่อประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ และในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2004 เฟซบุ๊กได้ขยับขยายสู่มหาวิทยาลัยอื่นอย่าง สแตนฟอร์ด, โคลัมเบีย, และเยล[18] และยังคงขยับขยายต่อสู่กลุ่มไอวีลีกทั้งหมด และมหาวิทยาลัยบอสตัน, มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก, เอ็มไอที และสู่มหาวิทยาลัยอื่นในแคนาดาและสหรัฐอเมริกาไปทีละน้อย [19][20] เฟซบุ๊กได้เป็นบริษัทในฤดูร้อนปี ค.ศ. 2004 และได้นักธุรกิจ ฌอน พาร์กเกอร์ ที่ได้เคยแนะนาซักเกอร์เบิร์กอย่างเป็นกันเอง ก็ได้ก้าวมาเป็นประธานของบริษท.[21] ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2004 เฟซบุ๊กได้ย้ายฐานปฏิบติงานมาอยู่ที่ แพโลอัลโต รัฐ ั ั [18] [22] แคลิฟอร์เนีย และได้รับเงินทุนในเดือนนั้นจากผู้ร่วมก่อตั้ง เพย์พาล ที่ชื่อ ปีเตอร์ ธีล บริษทได้เปลี่ยนชื่อ โดยลดคาว่า ั เดอะ ออกไป และซื้อโดเมนเนมใหม่ในชื่อ เฟซบุ๊ก.คอม ในปี ค.ศ. 2005 ด้วยเงิน 2 แสนเหรียญสหรัฐ[23] เฟซบุ๊กได้เปิดตัวในรูปแบบของโรงเรียนไฮสคูล ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2005 ที่ซักเกอร์เบิร์กเรียกว่า ก้าวต่อไปที่มีเหตุผล[24] ณ เวลานั้นในเครือข่ายไฮสคูล ต้องการการรับเชิญเท่านันเพื่อร่วมเว็บไซต์[25] ต่อมาเฟซบุ๊กได้ขยับขยายให้กับลูกจ้างบริษท ้ ั ที่คัดสรรอย่าง แอปเปิล และ ไมโครซอฟท์[26] เฟซบุ๊กได้เปิดตัวเมื่อวันที่ 26 กันยายน ค.ศ. 2006 ให้ทกคนได้ใช้กัน โดยต้อง ุ [27][28] มีอายุมากกว่า 13 ปี และมีอีเมล์ทแท้จริง ี่ ในวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 2007 ไมโครซอฟท์ประกาศว่าได้ซื้อหุ้นของเฟซบุ๊กเป็นจานวน 1.6% ด้วยเงิน 240 ล้านเหรียญ สหรัฐ ทาให้เฟซบุกมีมูลค่าราว 15 พันล้านเหรียญสหรัฐ[29] และทาให้ไมโครซอฟท์มีสทธิ์ที่จะแขวนป้ายโฆษณาบนเฟซบุ๊ก ิ ได้ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2008 เฟซบุกประกาศว่าจะตั้งสานักงานใหญ่ระดับนานาชาติในดับลิน ประเทศไอร์แลนด์[31] [30] ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2009 เฟซบุ๊กได้กล่าวว่า สถานะการเงินเริ่มเป็นตัวเลขบวกเป็นครั้งแรก [32] ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2010 จากข้อมูลของ เซคันด์มาร์เก็ต ระบุว่าเฟซบุกมีมูลค่า 41 พันล้านเหรียญสหรัฐ (แซงหน้าอีเบย์ไปเล็กน้อย) และถือเป็น บริษทเว็บไซต์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับ 3 รองจากกูเกิลและแอมะซอน[33] สถิติผู้เข้าชมในเฟซบุ๊กหลังปี ค.ศ. ั 2009 ผู้ชมเฟซบุ๊กมากกว่ากูเกิลในปลายสัปดาห์ของสัปดาห์ 13 มีนาคม ค.ศ. 2010 [34] ข้อพิพาทและการวิจารณ์ เฟซบุ๊กประสบกับข้อพิพาทหลายเรื่อง เฟซบุ๊กถูกปิดกั้นการเข้าถึงเป็นช่วง ๆ ในหลายประเทศ อย่างเช่นใน ประเทศจีน,[35] เวียดนาม[36] อิหร่าน[37] อุซเบกิสถาน[38] ปากีสถาน[39] ซีเรีย[40] และบังคลาเทศ[41] ในเหตุผลที่แตกต่างกันไป ตัวอย่างเช่น เนื้อหาการต่อต้านอิสลามและการแบ่งแยกทางศาสนาในเฟซบุ๊ก และยังถูกห้ามใช้จากหลายประเทศ และยังถูกห้ามใช้ใน สถานที่ทางานหลายทีเ่ พื่อป้องกันพนักงานเสียเวลาในการทา งาน[42] และนโยบายความเป็นส่วนตัวก็เป็นประเด็น และความ ปลอดภัยของบัญชีผู้ใช้ก็มีการไกล่เกลี่ยกันหลายต่อหลายครัง เฟซบุ๊กได้ลงมือแก้ปัญหาคดีความที่เกี่ยวกับซอร์ซโคดและ ้ [43] ทรัพย์สินทางปัญญา บริษัท รายได้ส่วนมากของเฟซบุ๊กมาจากการโฆษณา โดยไมโครซอฟท์เป็นผู้ร่วมหุ้นพิเศษในด้านการบริการแบนเนอร์โฆษณา[44] และเฟซบุ๊กให้มีการโฆษณาเฉพาะที่อยู่ในรายการลูกค้าของไมโครซอฟท์ และจากข้อมูลของคอมสกอร์ บริษัทสารวจ การตลาดทางอินเทอร์เน็ต ระบุว่า เฟซบุ๊กได้รวบรวมข้อมูลเข้าเว็บไซต์มากกว่า กูเกิลและไมโครซอฟท์ แต่น้อยกว่า ยาฮู![45]
  • 4. ในปี ค.ศ. 2010 ทีมระบบความปลอดภัยได้เพิ่มประโยชน์จากการต่อต้านภัยคุกคามและก่อการร้ายจากผู้ใช้[46] เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 เฟซบุ๊กได้เปิดตัว เฟซบุ๊กบีคอน เป็นการพยายามในการโฆษณาให้เหล่าเพื่อน โดยใช้ประโยชน์จาก สิ่งที่เพื่อนซื้อ แต่เฟซบุ๊กบีคอนก็เกิดความล้มเหลว โดยปกติแล้ว เฟซบุ๊กจะมีอตราการคลิกโฆษณาต่อการการแสดงโฆษณา (clickthrough rate) ต่ากว่าเว็บไซต์ใหญ่ ๆ อืน ที่ ั ่ ในแบนเนอร์โฆษณา เฟซบุ๊กจะมีอัตราการคลิ๊ก 1 ต่อ 5 เทียบกับเว็บไซต์อื่น[47] นั่นหมายถึงว่ามีเปอร์เซ็นต์ทน้อยกว่า ที่ผู้ใช้ ี่ เฟซบุ๊กจะกดคลิกโฆษณา ตัวอย่างเช่น ผู้ใช้กูเกิลคลิกโฆษณาแรกในการค้นหาเฉลี่ย 8% (80,000 คลิกในทุก 1 ล้านการ ค้นหา) [48] แต่ผู้ใช้เฟซบุ๊กจะคลิกโฆษณาในอัตรา 0.04% (400 คลิกในทุก 1 ล้านหน้า) [49] แซราห์ สมิท ผู้จัดการบริการงานขายออนไลน์ของเฟซบุ๊ก ยืนยันว่า การรณรงค์โฆษณาประสบความสาเร็จ สามารถมีอัตรา การคลิกโฆษณาต่อการการแสดงโฆษณา (CTR) ต่าอยู่ราว 0.05% ถึง 0.04% แต่อัตราการคลิกโฆษณาต่อการการแสดง โฆษณาสาหรับโฆษณามีแนวโน้มจะตกลงภายใน 2 อาทิตย์[50] เมือเปรียบเทียบ CTR กับมายสเปซแล้ว มียอดประมาณ ่ 0.1% ซึ่งเป็น 2.5 เท่าของเฟซบุ๊ก และต่ากว่านี้เมื่อเทียบกับเว็บไซต์อื่น คาอธิบายเรื่อง CTR สาหรับโฆษณาที่ต่าในเฟซบุ๊ก เนื่องจาก ข้อเท็จจริงทีผู้ใช้เฟซบุกเป็นผู้รอบรูทางเทคโนโลยีและใช้ซอฟต์แวร์ ป้องกันและซ้อนโฆษณา ผู้ใช้มักเป็นคน ่ ๊ ้ หนุ่มสาวกว่าและชอบที่จะหลีกเลี่ยงข้อความโฆษณา ที่ในมายสเปซแล้วผู้ใช้จะเข้าถึเนื้อหามากกว่า ในขณะทีผู้ใช้เฟซบุ๊ก ่ [51] จะใช้เวลาในการสื่อสารกับเพื่อน เป็นเหตุให้พวกเขาไปสนใจโฆษณา ในหน้าของตราสินค้าและผลิตภัณฑ์ ในบางบริษัทมีรายงานว่า มี CTR สูงถึง 6.49% ในหน้าวอล[52] อินโวลเวอร์ ซึ่งเป็น แพลตฟอร์มการตลาดสังคม ประกาศว่า ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2009 ว่าสามารถบรรลุเป้า CTR ที่ 0.7% ในเฟซบุ๊ก (เป็น 10 เท่าของ CTR การโฆษณาในเฟซบุ๊ก) กับลูกค้าคือ เซเรนาซอฟต์แวร์ ถือเป็นลูกค้ารายแรกของอินโวเวอร์ ที่สามารถมี ผู้ชม 1.1 ล้านครั้งจากผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ 8,000 คน[53] จากการศึกษาพบว่า วิดีโอโฆษณาในเฟซบุ๊กนัน ผู้ใช้ 40% ดูวิดีโอ ้ [54] ทั้งหมดของวิดโอ ขณะทีค่าเฉลี่ยมาตรฐานอยู่ที่ 25% ของโฆษณาแบบแบนเนอร์ในวิดีโอ ี ่ เฟซบุ๊กมีลูกจ้างมากกว่า 1,700 คน และมีสานักงานใน 12 ประเทศ[55] โดยมาร์ก ซักเคอร์เบิร์กถือหุนของบริษัท 24% แอ็ ้ [56] กเซล พาร์ตเนอร์ถือหุ้น 10% ดิจตอลสกายเทคโนโลยีส์ถือหุน 10% ดัสติน มอสโควิตซ์ถือหุ้น 6% เอ็ดวาร์โด ซาเวรินถือ ิ ้ หุ้น 5% ฌอน พาร์กเกอร์ถือหุ้น 4% ปีเตอร์ ธีลถือหุ้น 3% เกรย์ล็อกพาร์ตเนอร์สและเมริเทคแคพิทอลพาร์ตเนอร์ส ถือหุ้น ระหว่าง 1 ถึง 2% แต่ละบริษท ไมโครซอฟท์ถือหุน 1.3% ลิ คา-ชิงถือหุ้น 0.75% อินเตอร์พับลิกกรุปถือหุ้นน้อยกว่า 0.5% ั ้ นอกจากนั้นยังมีลูกจ้างปัจจุบันและอดีตลูกจ้างรวมถึงผู้มีชื่อเสียงอื่นถือ หุ้นอีกน้อยกว่า 1% เช่น แมต โคห์เลอร์, เจฟฟ์ รอทส์ไชลด์, วุฒิสมาชิกรัฐแคลิฟอร์เนีย บาร์บารา บอกเซอร์, คริส ฮิวส์ และโอเวน แวน แนตตา ขณะที่รีด ฮอฟแมนและ มาร์ก พินคัสเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษท และที่เหลืออีก 30% ถือหุนโดยลูกจ้าง ผู้มีชื่อเสียงไม่เปิดเผยชื่ออีกจานวนหนึ่ง ั ้ [57] รวมถึงนักลงทุนอื่น แอดัม ดี’แองเจโล ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ายเทคโนโลยีและเพื่อนของซักเคอร์เบิร์กได้ลาออกไปใน ่ เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 มีรายงานอ้างว่าเขาและซักเคอร์เบิร์กเริมไม่ลงรอยกัน และเป็นเหตุให้เขาไม่มีความสนใจในการ ่ เป็นหุ้นส่วนของบริษัท[58] หมายเหตุ 1. ^ ผู้ใช้ประจาในเฟซบุ๊กหมายถึง บัญชีรายชื่อของผู้ใช้ที่เยี่ยมเข้าเว็บไซต์ใน 30 วันที่ผ่านมา
  • 5. อ้างอิง 1. ^ Eldon, Eric. (2008-12-18). ‚2008 Growth Puts Facebook In Better Position to Make Money‛. VentureBeat. http://venturebeat.com/2008/12/18/2008-growth-puts-facebook-in-better-position-to-make-money/. เรียกข้อมูล เมื่อ 2008-12-19. 2. ^ Sengupta, Somini. ‚Facebook’s Prospects May Rest on Trove of Data‚, The New York Times, May 14, 2012. สืบค้นวันที่ May 15, 2012 3. ^ ‚Facebook Statistics‛. http://www.facebook.com/press/info.php?statistics. เรียกข้อมูลเมื่อ July 21, 2010. 4. ^ Carlson, Nicholas (2010-03-05). ‚At Last – The Full Story Of How Facebook Was Founded‛. Business Insider. http://www.businessinsider.com/how-facebook-was-founded-2010-3#we-can-talk-about-that-after-i- get-all-the-basic-functionality-up-tomorrow-night-1. 5. ^ Kazeniac, Andy. ‚Social Networks: Facebook Takes Over Top Spot, Twitter Climbs‚, Compete.com, 2009- 02-09. สืบค้นวันที่ 2009-02-17 6. ^ Geier, Thom, Jensen, Jeff; Jordan, Tina; Lyons, Margaret; Markovitz, Adam; Nashawaty, Chris; Pastorek, Whitney; Rice, Lynette; Rottenberg, Josh; Schwartz, Missy; Slezak, Michael; Snierson, Dan; Stack, Tim; Stroup, Kate; Tucker, Ken; Vary, Adam B.; Vozick-Levinson, Simon; Ward, Kate. ‚THE 100 Greatest Movies, TV Shows, Albums, Books, Characters, Scenes, Episodes, Songs, Dresses, Music Videos, and Trends that entertained us over the 10 Years‛, Entertainment Weekly, December 11, 2009) 7. ^ ‚facebook.com — Quantcast Audience Profile‛. Quantcast.com. 2010-10-27. http://www.quantcast.com/facebook.com. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-11-07. 8. ^ ‚Facebook Statistics by country‛. socialbakers.com/. 2011-1-04. http://www.socialbakers.com/facebook- statistics/?interval=last-6-months. เรียกข้อมูลเมื่อ 2011-1-07. 9. ^ Tabak, Alan J.. ‚Hundreds Register for New Facebook Website‚, Harvard Crimson, February 9, 2004. สืบค้น วันที่ 2008-11-07 10. ^ 10.0 10.1 Locke, Laura. ‚The Future of Facebook‛, Time Magazine, July 17, 2007. Retrieved November 13, 2009. 11. ^ 11.0 11.1 McGirt, Ellen. ‚Facebook’s Mark Zuckerberg: Hacker. Dropout. CEO. ‚, Fast Company, May 1, 2007. Retrieved November 5, 2009. 12. ^ Kaplan, Katherine (2003-11-19). ‚Facemash Creator Survives Ad Board‛. The Harvard Crimson. http://www.thecrimson.com/article.aspx?ref=350143. เรียกข้อมูลเมื่อ 2009-02-05. 13. ^ Hoffman, Claire (2008-06-28). ‚The Battle for Facebook‛. Rolling Stone. Archived from the original on July 3, 2008. http://web.archive.org/web/20080703220456/http://www.rollingstone.com/news/story/21129674/the_battle_for _facebook/. เรียกข้อมูลเมื่อ 2009-02-05. 14. ^ Seward, Zachary M.. ‚Judge Expresses Skepticism About Facebook Lawsuit‚, The Wall Street Journal, 2007- 07-25. สืบค้นวันที่ 2008-04-30
  • 6. 15. ^ Carlson, Nicolas. ‚In 2004, Mark Zuckerberg Broke Into A Facebook User’s Private Email Account‚, Business Insider, 2010-03-05. สืบค้นวันที่ 2010-03-05 16. ^ Brad Stone. ‚Judge Ends Facebook’s Feud With ConnectU‚, The New York Times, 2008-06-28 17. ^ Phillips, Sarah. ‚A brief history of Facebook‚, The Guardian, 2007-07-25. สืบค้นวันที่ 2008-03-07 18. ^ 18.0 18.1 ‚Press Room‛. Facebook. 2007-01-01. http://www.facebook.com/press/info.php?timeline. เรียกข้อมูล เมื่อ 2008-03-05. 19. ^ Rosmarin, Rachel (2006-09-11). ‚Open Facebook‛. Forbes. http://www.forbes.com/2006/09/11/facebook- opens-up-cx_rr_0911facebook.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-06-13. 20. ^ ‚Online network created by Harvard students flourishes‛. The Tufts Daily. http://www.tuftsdaily.com/2.5541/1.600318. เรียกข้อมูลเมื่อ 2009-08-21. 21. ^ Rosen, Ellen. ‚Student’s Start-Up Draws Attention and $13 Million‚, The New York Times, 2005-05-26. สืบค้นวันที่ 2009-05-18 22. ^ ‚Why you should beware of Facebook‚, The Age, 2008-01-20. สืบค้นวันที่ 2008-04-30 23. ^ Williams, Chris (2007-10-01). ‚Facebook wins Manx battle for face-book.com‛. The Register. http://www.theregister.co.uk/2007/10/01/facebook_domain_dispute/. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-06-13.| 24. ^ Dempsey, Laura. ‚Facebook is the go-to Web site for students looking to hook up‛, Dayton Daily News, 2006-08-03 25. ^ Lerer, Lisa (2007-01-25). ‚Why MySpace Doesn’t Card‛. Forbes. http://www.forbes.com/security/2007/01/25/myspace-security-identity-tech-security- cx_ll_0124myspaceage.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-06-13. 26. ^ Lacy, Sarah (2006-09-12). ‚Facebook: Opening the Doors Wider‛. BusinessWeek. http://www.businessweek.com/technology/content/sep2006/tc20060912_682123.htm?chan=top+news_top+new s+index_technology. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-03-09. 27. ^ Abram, Carolyn. ‚Welcome to Facebook, everyone‚, Facebook, 2006-09-26. สืบค้นวันที่ 2008-03-08 28. ^ ‚Terms of Use‛. Facebook. 2007-11-15. http://www.facebook.com/terms.php. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-03-05. 29. ^ ‚Facebook and Microsoft Expand Strategic Alliance‛. Microsoft. 2007-10-24. http://www.microsoft.com/Presspass/press/2007/oct07/10-24FacebookPR.mspx. เรียกข้อมูลเมื่อ 2007-11-08. 30. ^ ‚Facebook Stock For Sale‛. BusinessWeek. http://www.businessweek.com/magazine/content/08_33/b4096000952343.htm?chan=rss_topEmailedStories_ssi _5. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-08-06. 31. ^ ‚Press Releases‛. Facebook. 2008-11-30. http://www.facebook.com/press/releases.php?p=59042. เรียกข้อมูล เมื่อ 2008-11-30. 32. ^ ‚Facebook ‘cash flow positive,’ signs 300M users‚, Cbc.ca, 2009-09-16. สืบค้นวันที่ 2010-03-23 33. ^ Facebook Becomes Third Biggest US Web Company http://www.thejakartaglobe.com/technology/facebook- becomes-third-biggest-us-web-company/406751
  • 7. 34. ^ ‚Facebook Reaches Top Ranking in US‛. http://weblogs.hitwise.com/heather- dougherty/2010/03/facebook_reaches_top_ranking_i.html. 35. ^ ‚Uzbek authorities have blocked access to Facebook‛. http://www.ferghana.ru/news.php?id=15794&mode=snews. เรียกข้อมูลเมื่อ 21 October 2010. ‚China’s Facebook Status: Blocked‛. ABC News. July 8, 2009. http://blogs.abcnews.com/theworldnewser/2009/07/chinas-facebook-status-blocked.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 13 July 2009. 36. ^ Ben Stocking. ‚Vietnam Internet users fear Facebook blackout‚, The San Francisco Chronicle, 2009-11-17. สืบค้นวันที่ 2009-11-17[ลิงก์เสีย] 37. ^ Shahi, Afshin. (July 27, 2008). ‚Iran’s Digital War‛. Daily News Egypt. http://dailystaregypt.com/article.aspx?ArticleID=15313. เรียกข้อมูลเมื่อ August 16, 2008. 38. ^ (รัสเซีย) 39. ^ Cooper, Charles. ‚Pakistan Bans Facebook Over Muhammad Caricature Row – Tech Talk‚, CBS News, 2010-05-19. สืบค้นวันที่ 2010-06-26 40. ^ ‚Red lines that cannot be crossed‚, The Economist, July 24, 2008. สืบค้นวันที่ August 17, 2008 41. ^ Ben Escurado (2010-11-14). ‚Saudi Arabia blocks Facebook‛. TechViewz.Org. http://techviewz.org/2010/11/saudi-arabia-blocks-facebook.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-11-16. 42. ^ Benzie, Robert. ‚Facebook banned for Ontario staffers‚, TheStar.com, May 3, 2007. สืบค้นวันที่ August 16, 2008 43. ^ Stone, Brad. ‚Facebook to Settle Thorny Lawsuit Over Its Origins‚, The New York Times (blog), April 7, 2008. สืบค้นวันที่ November 5, 2009 44. ^ ‚Product Overview FAQ: Facebook Ads‛. Facebook. http://www.facebook.com/press/faq.php#Facebook+Ads. เรียกข้อมูลเมื่อ 2008-03-10.[ลิงก์เสีย] 45. ^ Story, Louise. ‚To Aim Ads, Web Is Keeping Closer Eye on You‚, The New York Times, 2008-03-10. สืบค้น วันที่ 2008-03-09 46. ^ Cluley, Graham (February 1, 2010). ‚Revealed: Which social networks pose the biggest risk?‛. Sophos. http://www.sophos.com/blogs/gc/g/2010/02/01/revealed-social-networks-pose-biggest-risk/. เรียกข้อมูลเมื่อ July 12, 2010. 47. ^ ‚Facebook May Revamp Beacon‛. BusinessWeek. 2007-11-28. http://www.businessweek.com/technology/content/nov2007/tc20071128_366355_page_2.htm. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-18. 48. ^ ‚Google AdWords Click Through Rates Per Position‛. AccuraCast. 2009-10-09. http://www.accuracast.com/seo-weekly/adwords-clickthrough.php. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-18. 49. ^ Denton, Nick (2007-03-07). ‚Facebook ‘consistently the worst performing site’‛. Gawker. http://valleywag.gawker.com/242234/facebook-consistently-the-worst-performing-site. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07- 18.
  • 8. 50. ^ ‚Facebook Says Click Through Rates Do Not Match Those At Google‛. TechPulse 360. 2009-08-12. http://techpulse360.com/2009/08/12/facebook-says-its-click-through-rates-do-not-match-those-at-google/. เรียก ข้อมูลเมื่อ 2010-07-18. 51. ^ Leggatt, Helen (2007-07-16). ‚Advertisers disappointed with Facebook’s CTR‛. BizReport. http://www.bizreport.com/2007/07/advertisers_disappointed_with_facebooks_ctr.html. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07- 18. 52. ^ Klaassen, Abbey (2009-08-13). ‚Facebook’s Click-Through Rates Flourish … for Wall Posts‛. AdAge. http://adage.com/digitalnext/post?article_id=138442. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-18. 53. ^ ‚Involver Delivers Over 10x the Typical Click-Through Rate for Facebook Ad Campaigns‛. Press release. 2008-07-31. http://www.prweb.com/releases/2008/07/prweb1162804.htm. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-18. 54. ^ Walsh, Mark (2010-06-15). ‚Study: Video Ads On Facebook More Engaging Than Outside Sites‛. MediaPost. http://www.mediapost.com/publications/?fa=Articles.showArticle&art_aid=130217. เรียกข้อมูลเมื่อ 2010-07-18. 55. ^ ‚Facebook Factsheet‛. http://www.facebook.com/press/info.php?factsheet. เรียกข้อมูลเมื่อ November 21, 2010. 56. ^ ‚Facebook’s friend in Russia‚, CNN, 2010-10-04. สืบค้นวันที่ December 18, 2010 57. ^ David Kirkpatrick. The Facebook Effect. p. 322. ISBN 1439102112. 58. ^ McCarthy, Caroline (May 11, 2008). ‚As Facebook goes corporate, Mark Zuckerberg loses an early player‛. CNET.com. http://news.cnet.com/8301-13577_3-9941488-36.html. เรียกข้อมูลเมื่อ July 12, 2010. ที่มา http://th.wikipedia.org/เฟซบุ๊ก  ความเห็น 1 ความเห็น  หมวดหมู่ home