SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
   5.1 อินเทอร์ เน็ต
      5.1.1 ความหมายของอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่เชื่อมต่อ
   คอมพิวเตอร์ขององค์กรธุ รกิจ หน่วยงานของรัฐบาล สถานศึกษา ตลอดจนเชื่อมโยง
   คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลไว้ดวยกัน้
   ทาให้ขอมูล สารสนเทศ สิ นค้า และบริ การที่นาเสนอผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์
            ้
   อื่นๆ จากที่ต่างๆไม่วาจะเป็ นบ้าน สานักงาน โรงเรี ยน ชายทะเล หรื อร้านอาหารทัวโลก
                        ่                                                         ่




     5.1.2 โครงสร้ างพืนฐานของอินเทอร์ เน็ต ประกอบด้วยเครื อข่ายระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค
                         ้
  ระดับชาติ และระดับนานาชาติที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน
     5.1.3 การเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต ผูใช้ที่เป็ นคนทางาน นักเรี ยน หรื อนักศึกษา มักจะเข้า
                                      ้
  อินเทอร์เน็ตผ่านเครื อข่ายของหน่วยงาน โรงเรี ยนหรื อมหาวิทยาลัย ซึ่งเชื่อมต่อเข้ากับ
  อินเทอร์เน็ตความเร็วสู ง ขณะที่ผใช้ทวไปอาจใช้วธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยใช้โมเด็มผ่าน
                                        ู ้ ั่         ิ
  สายโทรศัพท์ซ่ ึงเป็ นอินเทอร์เน็ตความเร็วต่า หรื ออาจเชื่อมต่อผ่านบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต
· ผูให้บริ การอินเทอร์เน็ต หรื อไอเอสพี ให้บริ การการเชื่อมต่อเข้าสู่ อินเทอร์เน็ตเข้าสู่ ผใช้ โดย
     ้                                                                                     ู้
  อาจคิดค่าบริ การเป็ นรายเดือน
5.1.4 การติดต่ อสื่ อสารบนอินเทอร์ เน็ต คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อสื่ อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ต
   มีคุณลักษณะแตกต่างกัน การที่อินเทอร์เน็ตสามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่มีความแตดต่างกัน
   ให้สามารถทางานร่ วมกันได้ เนื่องจากใช้โพโทรคอลเดียวกันในการสื่ อสารที่เรี ยกว่า ทีซีพี/ไอพี
                ่
       เลขที่อยูไอพี
                                        ่
   เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันอยูบนอินเทอร์เน็ต จะมีหมายเลขอ้างอิงในการติดต่อสื่ อสาร
                      ่
   เรี ยกว่า เลขที่อยูไอพีหรื อไอพีแอดเดรส ซึ่งจะต้องไม่ซ้ ากันเลย โดยไอพีแอดเดรสประกอบด้วย
   เลข 4 ชุด ซึ่งแยกกันด้วยเครื่ องหมายจุด
       ระบบชื่อโดเมน
                        ่      ่
   เนื่องจากเลขที่อยูไอพีอยูในรู ปของชุดตัวเลขซึ่งยากต่อการจดจาและอ้างอิงระหว่าลการใช้งาน
                                                           ่                       ่
   ดังนั้นจึงกาหนดให้มีระบบชื่อโมเดม ซึ่งแปลงเลขที่อยูไอพีให้เป็ นชื่อโมเดมที่อยูในรู ปชื่อย่อ
   ภาษาอังกฤษหลายส่ วนคันด้วนเครื่ องหมายจุด
                                 ่
      5.2 เวิลด์ ไวด์ เว็บ
  เวิลด์ไวด์เว็บ หรื อเรี ยกสั้นๆว่า เว็บ เป็ นการให้บริ การข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ ที่ประกอบด้วย
                                                                                   ู่
  เอกสารจานวนมากที่มีการเชื่อมโยงกัน ซึ่งเป็ นแหล่งของข้อมูลขนาดใหญ่ท่ีผใช่อินเทอร์เน็ต
  สามารถเข้าถึงผ่านโพรโทคอลที่เรี ยกว่าเอชทีทีพี
· เว็บเพจ เป็ นหน้าเอกสารที่เขียนขึ้นในรู ปแบบภาษาเอชทีเอ็มแอล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยัง
                                     ่
  เอกสารหน้าอื่นได้ โดยเรี ยกดูผานเว็บเบราว์เซอร์
· เว็บไซต์ เป็ นกลุ่มของเว็บเพจที่มีความเกี่ยวข้องกันและอยูภายใต้ช่ือโดเมนเดียวกัน
                                                                  ่
· เว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การเว็บเพจ เมื่อผูใช้ร้องขอเว็บเพจผ่านเว็บ
                                                                      ้
  เบราว์เซอร์ โดยใช้ยอาร์แอล
                          ู




   5.2.1 การเรียกดูเว็บ เว็บเบราว์เซอร์ เป็ นโปรแกรมใช้สาหรับแสดงเว็บเพจเดียวกันหรื อเว็บเพจ
   อื่นผ่านการเชื่อมโยงหลายมิติ หรื อไฮเปอร์ลิงค์ เรี ยกสั้นๆว่า ลิงค์
5.2.2 ทีอยู่เว็บ ในการอ้างอิงตาแหน่งของแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตที่ผใช้ร้องขอ
            ่                                                              ู้
·    โพรโทคอล ใช้สาหรับระบุมาตรฐานที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเว็บ
·    ชื่อโดเมน ใช้สาหรับระบุชื่อโดเมนของเว็บเซิร์ฟเวอร์ของผูให้บริ การข้อมูล
                                                               ้
·    เส้นทางเข้าถึงไฟล์ ใช้สาหรับระบุตาแหน่งของไฟล์จากเว็บเซิร์ฟเวอร์
·    ชื่อข้อมูล ชื่อไฟล์ร้องขอ
    5.2.3 การค้ นหาผ่ านเว็บ
·    โปรแกรมค้นหา หรื อเสิ ร์ชเอนจิน ใช้สาหรับค้นหาเว็บเพจที่ตองการโดยระบุคาหลักหรื อคา
                                                                 ้
    สาคัญ เพื่อนาไปค้นในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งรวบรวมเว็บเพจต่างๆผลลัพธ์ที่ได้จะเป็ น
    รายการเว็บเพจที่ประกอบด้วยคาหลักที่ระบุ ช่วยให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลทุกประเภท
    หลากหลายรู ปแบบ เพื่อศึกษาหรื อเพื่อความบันเทิงได้อย่างรวดเร็ว
·    ตัวดาเนินการในการค้นหา เพื่อให้การค้นหาข้อมูลด้วยโปรแกรมค้นหาเป็ นไปอย่างมี
    ประสิ ทธิภาพ ผูใช้สามารถใช้ตวดาเนินการในการค้นหาประกอบกับคาหลัก จะช่วยให้ได้
                       ้              ั
    ผลลัพธ์ในการค้นหาที่ดียงขึ้น
                               ิ่
    5.2.4 เว็บ1.0 และเว็บ 2.0
          เว็บ 1.0 เป็ นเว็บในยุคแรกเริ่ มที่มีลกษณะให้ขอมูลแบบทางเดียว ผูใช้ทวไปเข้าถึงเว็บเพจ
                                                ั       ้                 ้ ั่
    ในฐานะผูบริ โภคข้อมูลและสารสนเทศตามที่ผสร้างได้ให้รายละเอียดไว้เพียงอย่างเดียวไม่ค่อย
                ้                                   ู้
    มีการปรับปรุ งข้อมูลให้ทนสมัย และมีรูปแบบการใช้งานไม่หลากหลาย
                                  ั
           ต่อมามีการพัฒนาเทคโนโลยีที่สนับสนุนการใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ทาให้ผใช้ทวไป ู ้ ่ั
    สามารถเป็ นส่ วนหนึ่งของผูให้ขอมูลในรู ปแบบต่างๆที่ปรากฏบนเว็บเพจ เช่น การโพสต์
                                    ้ ้
    ข้อความ รู ปภาพ วีดิทศน์ ความคิดเห็น การจัดอันดับ ความแตกต่างที่พบได้เหล่านี้ จึงมีการเรี ยก
                            ั
                     ่
    เว็บประเภทนี้วาเว็บ 2.0
            ลักษณะเด่นที่พบในเว็บ 2.0 ที่แตกต่างจากในเว็บ 1.0 เช่น มีการสร้างเครื อข่ายทางสังคม
    ผ่านเว็บไซต์ มีการพัฒนาความร่ วมมือแบบออนไลน์
5.3 บริการบนอินเตอร์ เน็ต
        บริ การบนอินเตอร์เน็ต เป็ นบริ การที่ตอบสนองความต้องการในด้านการสื่ อสารของผูใช้ใน ้
   รู ปแบบต่างๆ ในปั จจุบนมีการใช้อินเตอร์เน็ตผ่านช่องทางในการแบ่งปันความคิด ข้อมูล สาร
                              ั
   สนเทศ รวมถึงความรู ้ โดยอาศัยเครื่ องมือ เทคโนโลยีหรื อบริ การต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
       5.3.1 ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมล (e-mail) เป็ นบริ การรับส่ งจดหมายในรู ปแบบ
   อิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับความนิยมจากผูใช้ โดยส่ งได้ท้ งข้อความ และไฟล์ต่างๆ
                                            ้             ั
   มารยาทของการสื่ อสารผ่ านอีเมล
1.        ใช้หวเรื่ องที่สรุ ปสาระสาคัญของเนื้อหาในอีเมล
                  ั
2.        เขียนเนื้อหาให้มีสาระในการสื่ อสารให้ชดเจน
                                                   ั
3.        เขียนข้อความให้กระชับ ไม่เยินเย้อ เหมาะสมกับกาลเทศะ
                                         ่
4.        ใช้ bcc ในการระบุผรับ เมื่อส่ งข้อความถึงผูรับจานวนมาก เพื่อป้ องกันความเป็ นส่ วนตัว
                                ู้                   ้
5.        อย่าใช้อกษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ ซึ่ งแสดงถึงการตะโกน
                     ั
6.        จัดระเบียบข้อความเป็ นย่อหน้าเพื่อสะดวกต่อการอ่าน
7.        ใช้ภาษาที่เหมาะสมและตัวสะกดที่ถูกต้อง
8.        ใช้การตอบกลับ แทนการเขียน ข้อความใหม่ เพื่อให้สามารถติดตามเรื่ องราวของอีเมลที่
   เกี่ยวข้องกันได้สะดวก
9.        ใช้การตอบกลับไปยังทุกคนเมื่อจาเป็ น
10. ใช้อกษรย่อ หรื อสัญรู ปอารมณ์ท่ีไม่ฟุ่มเฟื อยจนเกินไป
           ั
   5.3.2 การสื่ อสารในเวลาจริง
                                                                    ั ่
             เป็ นการสื่ อสารระหว่างบุคคลที่สามารถโต้ตอบกลับได้ทนทีผานเครื อข่ายการสื่ อสาร
   ตัวอย่างการสื่ อสารในเวลาจริ ง เช่น การแชท ห้องคุย ฯลฯ
· แชท เป็ นการสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ตระหว่าง 2 คน หรื อ ระหว่างกลุ่มบุคคล
· ห้องคุย เป็ นการสนทนาที่ผใช้สามารถเลือกประเภทของหัวข้อที่สนใจซึ่งแบ่งไว้เป็ นห้องต่างๆ
                                   ู้
   เพื่อพูดคุยกันระหว่างบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม การสนทนารู ปแบบนี้อานวยความสะดวกและช่วย
   ประหยัดเวลาในการสื่ อสารข้อความไปยังบุคคลต่างๆ
5.3.3 เว็บไซต์ เครือข่ ายทางสั งคม
        เป็ นชุมชนออนไลน์ที่สมาชิกในชุมชนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันโดยมีเป้ าหมายในการเป็ น
จุดเชื่อมโยงระหว่างผูใช้โดยอาจเชื่อมโยงผ่านกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผใช้มีความสนใจ
                         ้                                                     ู้
ตัวอย่างเว็บไซต์ทางสังคม เช่น facebook ,myspace,Linkedin,hi5 และGotoKnow
5.3.4 บล็อก
       เป็ นระบบการบันทึกข้อมูลลาดับเหตุการณ์ในแต่ละวัน ประสบการณ์ความคิดของผูเ้ ขียน
บล็อกผ่านเว็บไซต์ คาว่า “บล็อก” มาจากคาว่า “เว็บบล็อก” เนื่องจากข้อมูลที่ปรากฏมีลกษณะ     ั
เป็ นการบันทึกข้อมูลผ่านเว็บที่มีการระบุวนเวลารวมถึงผูบนทึกข้อมูลแต่ละหัวข้อไว้ หัวข้อ
                                               ั          ้ ั
ข้อมูลหรื อความเห็นที่ถูกนาเสนอในบล็อกอาจจัดทาโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่เป็ นเจ้าของ
บล็อก หรื อบุคคลที่มีความสนใจร่ วมกัน
5.3.5 ไมโครบล็อก
         เป็ นบล็อกที่มีการแสดงหัวข้อและความคิดเห็นที่กระชับ กะทัดรัดผูใช้ที่เป็ นสมาชิก
                                                                             ้
สามารถเลือกหัวข้อจากบล็อกอื่นให้ปรากฏในไมโครบล็อกของตนเอง
5.3.6 วิกิ
       เป็ นรู ปแบบการเผยแพร่ ขอมูลที่บุคคลต่างๆซึ่งเป็ นผูมีความรู ้ความชานาญเฉพาะเรื่ อง
                                ้                          ้
สามารถเป็ นส่ วนร่ วมในการเป็ นผูให้ขอมูลใหม่ หรื อเป็ นผูปรับปรุ งที่มีอยูเ่ ดิมให้ถูกต้องและ
                                   ้ ้                        ้
สมบูรณ์ยงขึ้น รายละเอียดของข้อมูลที่เผยแพรก่อให้เกิดประโยชน์กบบุคคลทัวไป หรื อกลุ่ม
              ิ่                                                       ั          ่
บุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกันในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
5.3.7 อาร์ เอสเอส
       เป็ นเทคโนโลยีที่ใช้สาหรับเผยแพร่ ขอมูลที่ถูกปรับปรุ งให้ทนสมัยอยูเ่ ป็ นประจาได้แบบ
                                             ้                    ั
อัตโนมัติโดยผูใช้ตองขอรับบริ การ ผูใช้ไม่ตองเข้าไปยังเว็บไซต์ที่สนใจต่างๆโดยตรง ซึ่งแต่ละ
                  ้ ้                  ้           ้
เว็บไซต์อาจมีความถี่ในการปรับปรุ งข้อมูลที่แตกต่างกันไปผูใช้สามารถรับข้อมูลที่มีการ
                                                                ้
ให้บริ การเผยแพร่ แบบอัตโนมัติน้ ี โดยคลิกที่ปุ่มที่ปรากฏบนหน้าเว็บ คอนเทนท์ แอกกรี เกเตอร์
ทาหน้าที่คอยติดตามการปรับปรุ งข้อมูลที่ได้ขอมูลที่ให้บริ การไว้ ทาให้ผใช้สามารถเชื่อมโยง
                                                     ้                    ู้
ไปยังข้อมูลที่เผยแพร่ ได้มีการปรับปรุ งให้ทนสมัยได้โดยตรง ช่วยประหยัดเวลาในการเข้าถึง
                                                 ั
ข้อมูล
5.3.8 พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
             เป็ นการทาธุ รกิจซื้อขาย หรื อแลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริ การบนอินเตอร์เน็ต โดยใช้เว็บไซต์
    เป็ นสื่ อในการนาเสนอสิ นค้าและบริ การต่างๆรวมถึงการติดต่อกันระหว่างผูซ้ือและผูขาย ทาให้
                                                                                 ้       ้
    ผูเ้ ข้าใช้บริ การจากทุกที่ทุกประเทศ สามารถเข้าถึงร้านค้าได้ง่ายตลอด 24ชัวโมง ตัวอย่างเช่น
                                                                              ่
    ร้านขายหนังสื อบนอินเตอร์เน็ตสามารถนาเสนอรายการและตัวอย่างหนังสื อบนเว็บได้
    5.4 โปรแกรมทีไม่ พงประสงค์
                 ่ ึ
                                                                                 ่
          ขณะใช้งานอินเตอร์เน็ต มักมีโปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์แฝงมากับข้อมูลที่อยูบนเครื อข่าย
    คอมพิวเตอร์ โปรแกรมลักษณะนี้ เรี ยกว่า มัลแวร์ malware
·                                                                      ั ้
     ไวรัส เป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีเขียนขึ้นเพื่อสร้างความราคาญให้กบผูใช้งานและอาจ
    ร้ายแรงถึงขั้นทาลายระบบคอมพิวเตอร์ให้เสี ยหายทั้งระบบ
·    เวิร์ม เป็ นโปรแกรมแปลกปลอมที่สามารถคัดลอกตัวเองแล้วส่ งไปยังเครื่ องคอมพิวเตอร์อ่ืนๆ
    ได้ทนที โดยอาศัยการเจาะผ่านช่องโหว่ของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
           ั
·    ม้าโทรจัน เป็ นโปรแกรมแปลกปลอมที่ผานเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์โดยการแอบแฝงตัวเองว่า
                                              ่
    เป็ นโปรแกรมอื่น
·    สปายแวร์ เป็ นโปรแกรมที่ออกแบบมาให้คอยติดตาม บันทึกข้อมูลส่ วนบุคคล รายงานข้อมูล
    การใช้งานของผูใช้แต่ละคนบนอินเตอร์เน็ต หรื อทาการเปลี่ยนการตั้งค่าของโปรแกรม
                     ้
    เบราว์เซอร์ใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดความราคาญและทาให้ประสิ ทธิภาพการทางานของคอมพิวเตอร์ชา      ้
    ลง
·    แอดแวร์ เป็ นโปรแกรมแอบแฝงที่เมื่อโปรแกรมได้รับการดาวน์โหลดหรื อมีการติดตั้งใน
    เครื่ องคอมพิวเตอร์เรี ยบร้อยแล้ว จะแสดงหน้าต่างป๊ อปอัพที่มีการโฆษณาสิ นค้าออกมาเป็ น
    ระยะๆโดยอัตโนมัติ
·                                                                        ั ้
     สแปม เป็ นการใช้ระบบส่ งอีเมลในการส่ งข้อความที่ไม่พึงประสงค์ ให้กบผูใช้เป็ นจานวนมาก
    สแปมที่พบบ่อยคือ การส่ งข้อความโฆษณาสิ นค้า บริ การ ท่องเที่ยวชักชวนประกอยอาชีพที่มี
    รายได้สูง ผ่านระบบอีเมลที่ เรี ยกว่า เมลขยะ
5.5 ผลกระทบจากการใช้ งานอินเตอร์ เน็ต
            บริ การบนอินเตอร์เน็ตมีการพัฒนาให้มีรูปแบบการใช้งานที่หลากหลาย ผูใช้สามารถเข้าถึง
                                                                                   ้
     อินเตอร์เน็ตได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากสังคมแบบเดิมที่เกิด
     จากการรวมตัวของกลุ่มบุคคลที่มีความใกล้ชิดกันในเชิงภูมิศาสตร์ เพื่อสร้างความสัมพันธ์
     ระหว่างกันเป็ นสังคมใหม่ที่เรี ยกว่า สังคมโลกไซเบอร์ ซึ่งเป็ นสังคมเสมือนที่เกิดจากการรวมตัว
     กันของกลุ่มบุคคลที่มีความสนใจ
           เนื่องจากสมาชิกของโลกไซเบอร์สามารถสร้างตัวตนใหม่ที่มีบุคลิก นิสัย รู ปลักษณ์ หรื อ
     แม้แต่อายุที่แตกต่างกันไป จึงอาจใช้อินเตอร์เน็ตในทางที่ผดทาให้เกิดปัญหาในด้านต่างๆ เช่น
                                                                  ิ
1.            ปัญหาสุ ขภาพและความสัมพันธ์ทางสังคม
     ผูใช้งานอินเตอร์เน็ตติดต่อกันเป็ นเวลานานมากเกินไปอาจก่อให้เกิดปัญหาโรคติดอินเตอร์เน็ต
        ้
     ซึ่งเป็ นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง มีอาการที่ตองสงสัย เช่น มีความต้องการใช้อินเตอร์เน็ต
                                                     ้
     ต่อเนื่องเป็ นเวลานานมากขึ้นเรื่ อยๆ รู ้สึกหงุดหงิด หดหู่ กระวนกระวายเมื่อใช้อินเตอร์เน็ต
     น้อยลง คิดว่าเมื่อได้ใช้อินเตอร์เน็ตแล้วจะทาให้ดีข้ ึน
2.            ปัญหาอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
·     เจาะระบบรักษาความปลอดภัย ให้สามารถเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อกระทาการใดๆกับ
     ระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ หรื อข้อมูลในทางที่มิชอบ อาจทาให้เกิดการเสี ยหานในเชิงธุรกิจ
·     ขโมยข้อมูลส่ วนบุคคล โดยการใช้ช่องทางการสื่ อสารหรื ออินเทอร์เน็ต เช่น การแชท การ
     โทรศัพท์ ในการได้มาซึ่งข้อมูลส่ วนตัวของบุคคล โดยการปลอมแปลงเป็ นผูดูแลระบบ ้
          วิธีการหลอกลวงเพื่อเจตนาขโมยข้อมูลส่ วนตัวอีกวิธีหนึ่ง คือ การส่ งอีเมลถึงผูรับที่มีขอความ
                                                                                      ้        ้
     เช่น รหัสผ่าน ข้อมูลทางการเงิน ไปใช้ในการเข้าถึงข้อมูลเหล่านั้นโดยมิชอบ
·     เผยแพร่ ภาพอนาจาร การเผยแพร่ ภาพอนาจารต่างๆโดยวิธีการที่หลากหลาย
3.       ปัญหาการล่อลวงในสังคม
   จากการที่ผใช้งานอินเทอร์เน็ตบางคน สร้างขึ้นมาใหม่ในการติดต่อสนทนากับผูอื่นโดยให้
                 ู้                                                            ้
   ข้อมูลที่เป็ นเท็จ เช่น เพศ อายุ ภาพถ่าย และอาชีพ เพื่อล่อลวงให้คู่สนทนาสนใจตัวใหม่ตน
   บัญญัติ 10 ประการในการใช้ งานคอมพิวเตอร์
1.       ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทาร้ายผูอื่น
                                         ้
2.       ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนผูอื่น  ้
3.       ต้องไม่เปิ ดดูไฟล์ของผูอื่นก่อนได้รับอนุญาต
                                 ้
4.       ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการโจรกรรมข้อมูล ข่าวสาร
5.       ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานเท็จ
6.       ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการคัดลอกหรื อใช้โปรแกรมที่มีลิขสิ ทธิ์โดยไม่ได้รับการ
   อนุญาต
7.       ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8.       ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อนาเอาผลงานของผูอื่นมาเป็ นของตนเอง
                                                      ้
9.       ต้องคานึงถึงผลกระทบที่เกิดจากโปรแกรมที่ตวเองพัฒนาขึ้น
                                                        ั
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์ โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาทของสังคมนั้น

More Related Content

What's hot

Social Network
Social NetworkSocial Network
Social Network
mod2may
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องNinna Natsu
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1M'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1POmp POmpomp
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรChamp Wachwittayakhang
 
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตmildthebest
 
ใบความรู้ที่ 2.2 รูปแบบโครงสร้างและการออกแบบ
ใบความรู้ที่ 2.2 รูปแบบโครงสร้างและการออกแบบใบความรู้ที่ 2.2 รูปแบบโครงสร้างและการออกแบบ
ใบความรู้ที่ 2.2 รูปแบบโครงสร้างและการออกแบบSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwSamorn Tara
 

What's hot (16)

2
22
2
 
Social Network
Social NetworkSocial Network
Social Network
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
1บท1
1บท11บท1
1บท1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
ใบความรู้ที่ 2.2 รูปแบบโครงสร้างและการออกแบบ
ใบความรู้ที่ 2.2 รูปแบบโครงสร้างและการออกแบบใบความรู้ที่ 2.2 รูปแบบโครงสร้างและการออกแบบ
ใบความรู้ที่ 2.2 รูปแบบโครงสร้างและการออกแบบ
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
 

Similar to งานคอม

งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25Thanggwa Taemin
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25Thanggwa Taemin
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sirintip Kongchanta
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานPop Cholthicha
 

Similar to งานคอม (20)

งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
เวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บเวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

งานคอม

  • 1. บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต 5.1 อินเทอร์ เน็ต 5.1.1 ความหมายของอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ขององค์กรธุ รกิจ หน่วยงานของรัฐบาล สถานศึกษา ตลอดจนเชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลไว้ดวยกัน้ ทาให้ขอมูล สารสนเทศ สิ นค้า และบริ การที่นาเสนอผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ ้ อื่นๆ จากที่ต่างๆไม่วาจะเป็ นบ้าน สานักงาน โรงเรี ยน ชายทะเล หรื อร้านอาหารทัวโลก ่ ่ 5.1.2 โครงสร้ างพืนฐานของอินเทอร์ เน็ต ประกอบด้วยเครื อข่ายระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ้ ระดับชาติ และระดับนานาชาติที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน 5.1.3 การเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต ผูใช้ที่เป็ นคนทางาน นักเรี ยน หรื อนักศึกษา มักจะเข้า ้ อินเทอร์เน็ตผ่านเครื อข่ายของหน่วยงาน โรงเรี ยนหรื อมหาวิทยาลัย ซึ่งเชื่อมต่อเข้ากับ อินเทอร์เน็ตความเร็วสู ง ขณะที่ผใช้ทวไปอาจใช้วธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยใช้โมเด็มผ่าน ู ้ ั่ ิ สายโทรศัพท์ซ่ ึงเป็ นอินเทอร์เน็ตความเร็วต่า หรื ออาจเชื่อมต่อผ่านบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต · ผูให้บริ การอินเทอร์เน็ต หรื อไอเอสพี ให้บริ การการเชื่อมต่อเข้าสู่ อินเทอร์เน็ตเข้าสู่ ผใช้ โดย ้ ู้ อาจคิดค่าบริ การเป็ นรายเดือน
  • 2. 5.1.4 การติดต่ อสื่ อสารบนอินเทอร์ เน็ต คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อสื่ อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ต มีคุณลักษณะแตกต่างกัน การที่อินเทอร์เน็ตสามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่มีความแตดต่างกัน ให้สามารถทางานร่ วมกันได้ เนื่องจากใช้โพโทรคอลเดียวกันในการสื่ อสารที่เรี ยกว่า ทีซีพี/ไอพี ่ เลขที่อยูไอพี ่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันอยูบนอินเทอร์เน็ต จะมีหมายเลขอ้างอิงในการติดต่อสื่ อสาร ่ เรี ยกว่า เลขที่อยูไอพีหรื อไอพีแอดเดรส ซึ่งจะต้องไม่ซ้ ากันเลย โดยไอพีแอดเดรสประกอบด้วย เลข 4 ชุด ซึ่งแยกกันด้วยเครื่ องหมายจุด ระบบชื่อโดเมน ่ ่ เนื่องจากเลขที่อยูไอพีอยูในรู ปของชุดตัวเลขซึ่งยากต่อการจดจาและอ้างอิงระหว่าลการใช้งาน ่ ่ ดังนั้นจึงกาหนดให้มีระบบชื่อโมเดม ซึ่งแปลงเลขที่อยูไอพีให้เป็ นชื่อโมเดมที่อยูในรู ปชื่อย่อ ภาษาอังกฤษหลายส่ วนคันด้วนเครื่ องหมายจุด ่ 5.2 เวิลด์ ไวด์ เว็บ เวิลด์ไวด์เว็บ หรื อเรี ยกสั้นๆว่า เว็บ เป็ นการให้บริ การข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ ที่ประกอบด้วย ู่ เอกสารจานวนมากที่มีการเชื่อมโยงกัน ซึ่งเป็ นแหล่งของข้อมูลขนาดใหญ่ท่ีผใช่อินเทอร์เน็ต สามารถเข้าถึงผ่านโพรโทคอลที่เรี ยกว่าเอชทีทีพี · เว็บเพจ เป็ นหน้าเอกสารที่เขียนขึ้นในรู ปแบบภาษาเอชทีเอ็มแอล ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยัง ่ เอกสารหน้าอื่นได้ โดยเรี ยกดูผานเว็บเบราว์เซอร์ · เว็บไซต์ เป็ นกลุ่มของเว็บเพจที่มีความเกี่ยวข้องกันและอยูภายใต้ช่ือโดเมนเดียวกัน ่ · เว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริ การเว็บเพจ เมื่อผูใช้ร้องขอเว็บเพจผ่านเว็บ ้ เบราว์เซอร์ โดยใช้ยอาร์แอล ู 5.2.1 การเรียกดูเว็บ เว็บเบราว์เซอร์ เป็ นโปรแกรมใช้สาหรับแสดงเว็บเพจเดียวกันหรื อเว็บเพจ อื่นผ่านการเชื่อมโยงหลายมิติ หรื อไฮเปอร์ลิงค์ เรี ยกสั้นๆว่า ลิงค์
  • 3. 5.2.2 ทีอยู่เว็บ ในการอ้างอิงตาแหน่งของแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตที่ผใช้ร้องขอ ่ ู้ · โพรโทคอล ใช้สาหรับระบุมาตรฐานที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเว็บ · ชื่อโดเมน ใช้สาหรับระบุชื่อโดเมนของเว็บเซิร์ฟเวอร์ของผูให้บริ การข้อมูล ้ · เส้นทางเข้าถึงไฟล์ ใช้สาหรับระบุตาแหน่งของไฟล์จากเว็บเซิร์ฟเวอร์ · ชื่อข้อมูล ชื่อไฟล์ร้องขอ 5.2.3 การค้ นหาผ่ านเว็บ · โปรแกรมค้นหา หรื อเสิ ร์ชเอนจิน ใช้สาหรับค้นหาเว็บเพจที่ตองการโดยระบุคาหลักหรื อคา ้ สาคัญ เพื่อนาไปค้นในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งรวบรวมเว็บเพจต่างๆผลลัพธ์ที่ได้จะเป็ น รายการเว็บเพจที่ประกอบด้วยคาหลักที่ระบุ ช่วยให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลทุกประเภท หลากหลายรู ปแบบ เพื่อศึกษาหรื อเพื่อความบันเทิงได้อย่างรวดเร็ว · ตัวดาเนินการในการค้นหา เพื่อให้การค้นหาข้อมูลด้วยโปรแกรมค้นหาเป็ นไปอย่างมี ประสิ ทธิภาพ ผูใช้สามารถใช้ตวดาเนินการในการค้นหาประกอบกับคาหลัก จะช่วยให้ได้ ้ ั ผลลัพธ์ในการค้นหาที่ดียงขึ้น ิ่ 5.2.4 เว็บ1.0 และเว็บ 2.0 เว็บ 1.0 เป็ นเว็บในยุคแรกเริ่ มที่มีลกษณะให้ขอมูลแบบทางเดียว ผูใช้ทวไปเข้าถึงเว็บเพจ ั ้ ้ ั่ ในฐานะผูบริ โภคข้อมูลและสารสนเทศตามที่ผสร้างได้ให้รายละเอียดไว้เพียงอย่างเดียวไม่ค่อย ้ ู้ มีการปรับปรุ งข้อมูลให้ทนสมัย และมีรูปแบบการใช้งานไม่หลากหลาย ั ต่อมามีการพัฒนาเทคโนโลยีที่สนับสนุนการใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ทาให้ผใช้ทวไป ู ้ ่ั สามารถเป็ นส่ วนหนึ่งของผูให้ขอมูลในรู ปแบบต่างๆที่ปรากฏบนเว็บเพจ เช่น การโพสต์ ้ ้ ข้อความ รู ปภาพ วีดิทศน์ ความคิดเห็น การจัดอันดับ ความแตกต่างที่พบได้เหล่านี้ จึงมีการเรี ยก ั ่ เว็บประเภทนี้วาเว็บ 2.0 ลักษณะเด่นที่พบในเว็บ 2.0 ที่แตกต่างจากในเว็บ 1.0 เช่น มีการสร้างเครื อข่ายทางสังคม ผ่านเว็บไซต์ มีการพัฒนาความร่ วมมือแบบออนไลน์
  • 4. 5.3 บริการบนอินเตอร์ เน็ต บริ การบนอินเตอร์เน็ต เป็ นบริ การที่ตอบสนองความต้องการในด้านการสื่ อสารของผูใช้ใน ้ รู ปแบบต่างๆ ในปั จจุบนมีการใช้อินเตอร์เน็ตผ่านช่องทางในการแบ่งปันความคิด ข้อมูล สาร ั สนเทศ รวมถึงความรู ้ โดยอาศัยเครื่ องมือ เทคโนโลยีหรื อบริ การต่างๆบนอินเตอร์เน็ต 5.3.1 ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ อีเมล (e-mail) เป็ นบริ การรับส่ งจดหมายในรู ปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับความนิยมจากผูใช้ โดยส่ งได้ท้ งข้อความ และไฟล์ต่างๆ ้ ั มารยาทของการสื่ อสารผ่ านอีเมล 1. ใช้หวเรื่ องที่สรุ ปสาระสาคัญของเนื้อหาในอีเมล ั 2. เขียนเนื้อหาให้มีสาระในการสื่ อสารให้ชดเจน ั 3. เขียนข้อความให้กระชับ ไม่เยินเย้อ เหมาะสมกับกาลเทศะ ่ 4. ใช้ bcc ในการระบุผรับ เมื่อส่ งข้อความถึงผูรับจานวนมาก เพื่อป้ องกันความเป็ นส่ วนตัว ู้ ้ 5. อย่าใช้อกษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ ซึ่ งแสดงถึงการตะโกน ั 6. จัดระเบียบข้อความเป็ นย่อหน้าเพื่อสะดวกต่อการอ่าน 7. ใช้ภาษาที่เหมาะสมและตัวสะกดที่ถูกต้อง 8. ใช้การตอบกลับ แทนการเขียน ข้อความใหม่ เพื่อให้สามารถติดตามเรื่ องราวของอีเมลที่ เกี่ยวข้องกันได้สะดวก 9. ใช้การตอบกลับไปยังทุกคนเมื่อจาเป็ น 10. ใช้อกษรย่อ หรื อสัญรู ปอารมณ์ท่ีไม่ฟุ่มเฟื อยจนเกินไป ั 5.3.2 การสื่ อสารในเวลาจริง ั ่ เป็ นการสื่ อสารระหว่างบุคคลที่สามารถโต้ตอบกลับได้ทนทีผานเครื อข่ายการสื่ อสาร ตัวอย่างการสื่ อสารในเวลาจริ ง เช่น การแชท ห้องคุย ฯลฯ · แชท เป็ นการสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ตระหว่าง 2 คน หรื อ ระหว่างกลุ่มบุคคล · ห้องคุย เป็ นการสนทนาที่ผใช้สามารถเลือกประเภทของหัวข้อที่สนใจซึ่งแบ่งไว้เป็ นห้องต่างๆ ู้ เพื่อพูดคุยกันระหว่างบุคคลหรื อเป็ นกลุ่ม การสนทนารู ปแบบนี้อานวยความสะดวกและช่วย ประหยัดเวลาในการสื่ อสารข้อความไปยังบุคคลต่างๆ
  • 5. 5.3.3 เว็บไซต์ เครือข่ ายทางสั งคม เป็ นชุมชนออนไลน์ที่สมาชิกในชุมชนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันโดยมีเป้ าหมายในการเป็ น จุดเชื่อมโยงระหว่างผูใช้โดยอาจเชื่อมโยงผ่านกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผใช้มีความสนใจ ้ ู้ ตัวอย่างเว็บไซต์ทางสังคม เช่น facebook ,myspace,Linkedin,hi5 และGotoKnow 5.3.4 บล็อก เป็ นระบบการบันทึกข้อมูลลาดับเหตุการณ์ในแต่ละวัน ประสบการณ์ความคิดของผูเ้ ขียน บล็อกผ่านเว็บไซต์ คาว่า “บล็อก” มาจากคาว่า “เว็บบล็อก” เนื่องจากข้อมูลที่ปรากฏมีลกษณะ ั เป็ นการบันทึกข้อมูลผ่านเว็บที่มีการระบุวนเวลารวมถึงผูบนทึกข้อมูลแต่ละหัวข้อไว้ หัวข้อ ั ้ ั ข้อมูลหรื อความเห็นที่ถูกนาเสนอในบล็อกอาจจัดทาโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่เป็ นเจ้าของ บล็อก หรื อบุคคลที่มีความสนใจร่ วมกัน 5.3.5 ไมโครบล็อก เป็ นบล็อกที่มีการแสดงหัวข้อและความคิดเห็นที่กระชับ กะทัดรัดผูใช้ที่เป็ นสมาชิก ้ สามารถเลือกหัวข้อจากบล็อกอื่นให้ปรากฏในไมโครบล็อกของตนเอง 5.3.6 วิกิ เป็ นรู ปแบบการเผยแพร่ ขอมูลที่บุคคลต่างๆซึ่งเป็ นผูมีความรู ้ความชานาญเฉพาะเรื่ อง ้ ้ สามารถเป็ นส่ วนร่ วมในการเป็ นผูให้ขอมูลใหม่ หรื อเป็ นผูปรับปรุ งที่มีอยูเ่ ดิมให้ถูกต้องและ ้ ้ ้ สมบูรณ์ยงขึ้น รายละเอียดของข้อมูลที่เผยแพรก่อให้เกิดประโยชน์กบบุคคลทัวไป หรื อกลุ่ม ิ่ ั ่ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกันในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง 5.3.7 อาร์ เอสเอส เป็ นเทคโนโลยีที่ใช้สาหรับเผยแพร่ ขอมูลที่ถูกปรับปรุ งให้ทนสมัยอยูเ่ ป็ นประจาได้แบบ ้ ั อัตโนมัติโดยผูใช้ตองขอรับบริ การ ผูใช้ไม่ตองเข้าไปยังเว็บไซต์ที่สนใจต่างๆโดยตรง ซึ่งแต่ละ ้ ้ ้ ้ เว็บไซต์อาจมีความถี่ในการปรับปรุ งข้อมูลที่แตกต่างกันไปผูใช้สามารถรับข้อมูลที่มีการ ้ ให้บริ การเผยแพร่ แบบอัตโนมัติน้ ี โดยคลิกที่ปุ่มที่ปรากฏบนหน้าเว็บ คอนเทนท์ แอกกรี เกเตอร์ ทาหน้าที่คอยติดตามการปรับปรุ งข้อมูลที่ได้ขอมูลที่ให้บริ การไว้ ทาให้ผใช้สามารถเชื่อมโยง ้ ู้ ไปยังข้อมูลที่เผยแพร่ ได้มีการปรับปรุ งให้ทนสมัยได้โดยตรง ช่วยประหยัดเวลาในการเข้าถึง ั ข้อมูล
  • 6. 5.3.8 พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ เป็ นการทาธุ รกิจซื้อขาย หรื อแลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริ การบนอินเตอร์เน็ต โดยใช้เว็บไซต์ เป็ นสื่ อในการนาเสนอสิ นค้าและบริ การต่างๆรวมถึงการติดต่อกันระหว่างผูซ้ือและผูขาย ทาให้ ้ ้ ผูเ้ ข้าใช้บริ การจากทุกที่ทุกประเทศ สามารถเข้าถึงร้านค้าได้ง่ายตลอด 24ชัวโมง ตัวอย่างเช่น ่ ร้านขายหนังสื อบนอินเตอร์เน็ตสามารถนาเสนอรายการและตัวอย่างหนังสื อบนเว็บได้ 5.4 โปรแกรมทีไม่ พงประสงค์ ่ ึ ่ ขณะใช้งานอินเตอร์เน็ต มักมีโปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์แฝงมากับข้อมูลที่อยูบนเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ โปรแกรมลักษณะนี้ เรี ยกว่า มัลแวร์ malware · ั ้ ไวรัส เป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีเขียนขึ้นเพื่อสร้างความราคาญให้กบผูใช้งานและอาจ ร้ายแรงถึงขั้นทาลายระบบคอมพิวเตอร์ให้เสี ยหายทั้งระบบ · เวิร์ม เป็ นโปรแกรมแปลกปลอมที่สามารถคัดลอกตัวเองแล้วส่ งไปยังเครื่ องคอมพิวเตอร์อ่ืนๆ ได้ทนที โดยอาศัยการเจาะผ่านช่องโหว่ของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ั · ม้าโทรจัน เป็ นโปรแกรมแปลกปลอมที่ผานเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์โดยการแอบแฝงตัวเองว่า ่ เป็ นโปรแกรมอื่น · สปายแวร์ เป็ นโปรแกรมที่ออกแบบมาให้คอยติดตาม บันทึกข้อมูลส่ วนบุคคล รายงานข้อมูล การใช้งานของผูใช้แต่ละคนบนอินเตอร์เน็ต หรื อทาการเปลี่ยนการตั้งค่าของโปรแกรม ้ เบราว์เซอร์ใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดความราคาญและทาให้ประสิ ทธิภาพการทางานของคอมพิวเตอร์ชา ้ ลง · แอดแวร์ เป็ นโปรแกรมแอบแฝงที่เมื่อโปรแกรมได้รับการดาวน์โหลดหรื อมีการติดตั้งใน เครื่ องคอมพิวเตอร์เรี ยบร้อยแล้ว จะแสดงหน้าต่างป๊ อปอัพที่มีการโฆษณาสิ นค้าออกมาเป็ น ระยะๆโดยอัตโนมัติ · ั ้ สแปม เป็ นการใช้ระบบส่ งอีเมลในการส่ งข้อความที่ไม่พึงประสงค์ ให้กบผูใช้เป็ นจานวนมาก สแปมที่พบบ่อยคือ การส่ งข้อความโฆษณาสิ นค้า บริ การ ท่องเที่ยวชักชวนประกอยอาชีพที่มี รายได้สูง ผ่านระบบอีเมลที่ เรี ยกว่า เมลขยะ
  • 7. 5.5 ผลกระทบจากการใช้ งานอินเตอร์ เน็ต บริ การบนอินเตอร์เน็ตมีการพัฒนาให้มีรูปแบบการใช้งานที่หลากหลาย ผูใช้สามารถเข้าถึง ้ อินเตอร์เน็ตได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากสังคมแบบเดิมที่เกิด จากการรวมตัวของกลุ่มบุคคลที่มีความใกล้ชิดกันในเชิงภูมิศาสตร์ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างกันเป็ นสังคมใหม่ที่เรี ยกว่า สังคมโลกไซเบอร์ ซึ่งเป็ นสังคมเสมือนที่เกิดจากการรวมตัว กันของกลุ่มบุคคลที่มีความสนใจ เนื่องจากสมาชิกของโลกไซเบอร์สามารถสร้างตัวตนใหม่ที่มีบุคลิก นิสัย รู ปลักษณ์ หรื อ แม้แต่อายุที่แตกต่างกันไป จึงอาจใช้อินเตอร์เน็ตในทางที่ผดทาให้เกิดปัญหาในด้านต่างๆ เช่น ิ 1. ปัญหาสุ ขภาพและความสัมพันธ์ทางสังคม ผูใช้งานอินเตอร์เน็ตติดต่อกันเป็ นเวลานานมากเกินไปอาจก่อให้เกิดปัญหาโรคติดอินเตอร์เน็ต ้ ซึ่งเป็ นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง มีอาการที่ตองสงสัย เช่น มีความต้องการใช้อินเตอร์เน็ต ้ ต่อเนื่องเป็ นเวลานานมากขึ้นเรื่ อยๆ รู ้สึกหงุดหงิด หดหู่ กระวนกระวายเมื่อใช้อินเตอร์เน็ต น้อยลง คิดว่าเมื่อได้ใช้อินเตอร์เน็ตแล้วจะทาให้ดีข้ ึน 2. ปัญหาอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ · เจาะระบบรักษาความปลอดภัย ให้สามารถเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อกระทาการใดๆกับ ระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ หรื อข้อมูลในทางที่มิชอบ อาจทาให้เกิดการเสี ยหานในเชิงธุรกิจ · ขโมยข้อมูลส่ วนบุคคล โดยการใช้ช่องทางการสื่ อสารหรื ออินเทอร์เน็ต เช่น การแชท การ โทรศัพท์ ในการได้มาซึ่งข้อมูลส่ วนตัวของบุคคล โดยการปลอมแปลงเป็ นผูดูแลระบบ ้ วิธีการหลอกลวงเพื่อเจตนาขโมยข้อมูลส่ วนตัวอีกวิธีหนึ่ง คือ การส่ งอีเมลถึงผูรับที่มีขอความ ้ ้ เช่น รหัสผ่าน ข้อมูลทางการเงิน ไปใช้ในการเข้าถึงข้อมูลเหล่านั้นโดยมิชอบ · เผยแพร่ ภาพอนาจาร การเผยแพร่ ภาพอนาจารต่างๆโดยวิธีการที่หลากหลาย
  • 8. 3. ปัญหาการล่อลวงในสังคม จากการที่ผใช้งานอินเทอร์เน็ตบางคน สร้างขึ้นมาใหม่ในการติดต่อสนทนากับผูอื่นโดยให้ ู้ ้ ข้อมูลที่เป็ นเท็จ เช่น เพศ อายุ ภาพถ่าย และอาชีพ เพื่อล่อลวงให้คู่สนทนาสนใจตัวใหม่ตน บัญญัติ 10 ประการในการใช้ งานคอมพิวเตอร์ 1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทาร้ายผูอื่น ้ 2. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนผูอื่น ้ 3. ต้องไม่เปิ ดดูไฟล์ของผูอื่นก่อนได้รับอนุญาต ้ 4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการโจรกรรมข้อมูล ข่าวสาร 5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานเท็จ 6. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการคัดลอกหรื อใช้โปรแกรมที่มีลิขสิ ทธิ์โดยไม่ได้รับการ อนุญาต 7. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์ 8. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อนาเอาผลงานของผูอื่นมาเป็ นของตนเอง ้ 9. ต้องคานึงถึงผลกระทบที่เกิดจากโปรแกรมที่ตวเองพัฒนาขึ้น ั 10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์ โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาทของสังคมนั้น