SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์
                           รายวิชา การสร้ างและออกแบบเว็บไซต์ (ง30242)
                   กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ )
                                             ปี การศึกษา 2554
                              ----------------------------------------------------
1. ชื่อโครงงาน การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ระบบเครื อข่ายและการ
สื่ อสารบนเครื อข่าย
2. ประเภทของโครงงาน (เลือก 1 โครงงาน)
         โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา


3. ชื่ อ สกุลผู้เสนอโครงงาน
         นางสาว วารุ ณี ทองคาแสน                                         ชั้น ม.5/1 เลขที่ 25
4. ชื่ อครู ทปรึกษาโครงงาน
             ี่
         นางสมร ตาระพันธ์            ตาแหน่ง ครู ชานาญการพิเศษ
5. ชื่ อครู ทปรึกษาโครงงานร่ วม (ถ้ ามี)
             ี่
         -
6. แนวคิด ทีมา และความสาคัญ
            ่
             การติดต่อสื่ อสารข้อมูลสมัยใหม่น้ ี มีรากฐานมาจาก ความพยายาม ในการเชื่อมต่อ
                    ั                                        ่
ระหว่างคอมพิวเตอร์ กบคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยระบบสื่ อสารที่มีอยูแล้ว เช่น โทรศัพท์ ดังนั้นการ
                     ่
สื่ อสารข้อมูล จึงอยูในขอบเขตที่จากัด ต่อมามีการใช้คอมพิวเตอร์ มากขึ้น ความต้องการในการ
ติดต่อระหว่าง เครื่ องคอมพิวเตอร์ หลายเครื่ องในเวลาเดียวกัน ที่เรี ยก ระบบเครื อข่าย (network
system) ได้รับการพัฒนาให้ดีข้ ึนเป็ นลาดับ
         ในตอนเริ่ มต้นของยุคสื่ อสารเมื่อประมาณ พ.ศ. 2513 – 2515 ความต้องการใช้คอมพิวเตอร์
                                                                                    ่
ร่ วมกันมีมากขึ้น แต่คอมพิวเตอร์ ยงมีราคาสู งมาก เมื่อเทียบกับอุปกรณ์สื่อสารที่มีอยูแล้วบางอย่าง
                                  ั
การสื่ อสารด้วยระบบเครื อข่ายในระยะนั้นจึงเน้นการใช้คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ท่ีศูนย์คอมพิวเตอร์
เป็ นผูให้บริ การโดยผูใช้สามารถติดต่อผ่านเครื่ องปลายทาง เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายของระบบ
       ้              ้
ต่อมาเมื่อถึงยุคสมัยของไมโครคอมพิวเตอร์ พบว่าขีดความสามารถในด้านความเร็ วของการทางาน
ของคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ มีความเร็ วมากกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ประมาณ 10 เท่า แต่ราคาแพง
กว่าหลายพันเท่า ทาให้การใช้ไโครคอมพิวเตอร์ แพร่ หลายและกระจายออกไป การสื่ อสารจึง
กลายเป็ นระบบเครื อข่ายที่เชื่ อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ หลายๆ เครื่ องแทนที่จะเป็ นคอมพิวเตอร์
         ั
ขนาดใหญ่กบเครื่ องปลายทางแบบกระจาย
                                                        ่
        ลักษณะของเครื อข่ายจึงเริ่ มจากจุดเล็กๆ อาจจะอยูบนแผงวงจอิเล็กทรอนิกส์เดียวกัน
ขยายตัวใหญ่ข้ ึนเป็ นทั้งระบบที่ทางานร่ วมกันในห้องทางาน ในตึก ระหว่างตึก ระหว่างสถาบัน
ระหว่างเมือง ระหว่างประเทศ
         ข้อมูลในรู ปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บในคอมพิวเตอร์ สามารถส่ งต่อ คัดลอก
จัดพิมพ์ ทาสาเนาได้ง่าย เมื่อเทียบกับการคัดลอกด้วยมือซึ่ งต้องใช้เวลามากและเสี่ ยงต่อการทา
ข้อมูลผิดพลาดอีกด้วย วิธีการทางด้านการสื่ อสารข้อมูล กาลังได้รับการนามาประยุกต์ใช้ในระบบ
สานักงานที่เรี ยกว่า ระบบสานักงานอัตโนมัติ (office automation) ระบบดังกล่าวนี้มกเรี ยกย่อกัน
                                                                               ั
สั้นๆ ว่า โอเอ (OA) เป็ นระบบที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาช่วยในการทางานที่เกี่ยวกับเอกสาร
ทัวไป แล้วส่ งไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วยไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อโอนย้ายแลกเปลี่ยนข้อมูลที่
  ่                                           ์
                                       ่
เก็บรวบรวมไว้ระหว่างแผนกซึ่ งอาจตั้งอยูภายในอาคารเดียวกันหรื อไกลกันคนละเมืองก็ได้ โดย
การส่ งข้อมูลข่าวสารเช่นนี้ตองเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายประเภทที่สามารถผนวก
                            ้
เข้าหากันเป็ นระบบเดียวได้ อุปกรณ์เหล่านั้นอาจเป็ นโทรศัพท์ โทรสาร คอมพิวเตอร์ เครื่ องพิมพ์
หรื ออุปกรณ์เครื อข่าย
        ในเรื่ องของเนื้ อหาความรู ้เกี่ยวกับระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่ายนั้น เป็ นความ
สนใจส่ วนตัวที่อยากจะศึกษาเรื่ องราวเกี่ยวกับระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย           ซึ่งมี
เนื้อหา การติดต่อสื่ อสารข้อมูลสมัยใหม่น้ ี มีรากฐานมาจาก ความพยายาม ในการเชื่อมต่อระหว่าง
                  ั                                          ่
คอมพิวเตอร์ กบคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยระบบสื่ อสารที่มีอยูแล้ว เช่น โทรศัพท์ ดังนั้นการสื่ อสาร
                ่
ข้อมูล จึงอยูในขอบเขตที่จากัด ต่อมามีการใช้คอมพิวเตอร์ มากขึ้น ความต้องการในการติดต่อ
ระหว่าง เครื่ องคอมพิวเตอร์ หลายเครื่ องในเวลาเดียวกัน ที่เรี ยก ระบบเครื อข่าย (network system)
ได้รับการพัฒนาให้ดีข้ ึนเป็ นลาดับ
        ดังนั้น ผูจดทาจึงได้มีความคิดที่จะนาเอารู ปแบบของ WebBlog ด้วยเว็บไซต์ Wordpress
                  ้ั
มาใช้ในการเผยแพร่ ขอมูลที่เกี่ยวข้องกับ เรื่ องระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย เพื่อ
                      ้
ศึกษา เผยแพร่ ความรู ้ดงกล่าวสู่ ผสนใจต่อไป
                        ั         ู้


7. วัตถุประสงค์

         7.1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ระบบเครื อข่ายและ
การสื่ อสารในเครื อข่าย
         7.2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับ ระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารในเครื อข่าย
         7.3 เพื่อให้ผเู้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ดวยตนเองและ
                                                                                    ้
นามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้น่
         7.4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป
                                                                       ้        ่


8. หลักการและทฤษฎี
        1. ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
        บล็อก (อังกฤษ: blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บล็อก (อังกฤษ: weblog) เป็ นรู ปแบบ
เว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่ งถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรี ยงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียน
ล่าสุ ดไว้แรกสุ ด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่ งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่
ว่า เพลง หรื อวิดีโอในหลายรู ปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะ
เปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียน
ซึ่ งทาให้ผเู ้ ขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คาว่า "บล็อก" ยังใช้เป็ นคากริ ยาได้ซ่ ึ งหมายถึง
การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพก็จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์ "
                           ู้
                                                      ่ ั
        บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มีเนื้ อหาหลากหลายขึ้นอยูกบเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็ น
เครื่ องมือสื่ อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่
ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรื อข่าวปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่ วนตัวหรื อ
                                             ั
จะเรี ยกว่าไดอารี ออนไลน์ ซึ่ งไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ นจุดเริ่ มต้นของการใช้บล็อกในปั จจุบน
                                                                                           ั
นอกจากนี้ ตามบริ ษทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทาบล็อกของทางบริ ษทขึ้น เพื่อเสนอแนว
                  ั                                          ั
                ั
ความเห็นใหม่ใหักบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการ
ตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
        2. ประเภทของเว็บบล็อก
        บล็อกมีดวยกันหลายชนิ ด แต่ละชนิ ดมีขอมูลที่แตกต่างกันไปทั้งผูเ้ ขียนและผูเ้ ข้าชม โดย
                ้                           ้
บล็อกจะเน้นไปที่เรื่ องต่างๆ เช่น learner blogs, political blogs, travel blogs, fashion blogs, project
                                            ่
blogs,legal blogs และอื่นๆบล็อกที่เราเห็นอยูในปั จจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ นตัวหนังสื อและ
                                                     ั
รู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้

1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่

        1.1. Linklog บล็อกแบบเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ ที่รวมลิ๊ งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้ว่า
จะบล็อกแบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะ
โพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้น

        1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะ
ไม่เน้นเขียนข้อความมากนัก

        1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่
เรี ยกได้ว่าเป็ นบล็อกที่ นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติ บโตของไฮสปี ด อิ นเตอร์ เน็ ต
หรื อ อินเตอร์ เน็ตบอร์ ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie



2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่

        2.1 บล็อกส่ วนตัว(Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็ น กิ จวัตรประจาวันของเจ้าของ
บล็อกเป็ นหลัก

        2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก
2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com

         2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ

         2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา
สิ่ งแวดล้อม

         2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดี และสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ
                                        ั ่
เช่น oknation.net/blog/black ของสุ ทธิ ชย หยุน

         2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และ
จอเงิน เรื่ องซุ บซุ ดารา กองถ่าย ฯลฯ

         2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน

         2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง



3.แบ่งตามรู ปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด

         3.1 Filter Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจ
                                       ู้ ั
หรื อเว็บไซต์) โดยปกติมกจะเป็ นข่าว บทความ หรื อความคิดเห็ นของบุคคลในวงการที่เผยแพร่ ใน
                       ั
เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรี ยกได้วา เป็ น บล็อก “Bookmark” หรื อ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmarkบล็อก
                            ่
ลักษณะนี้ จะนาเสนอแค่หวข้อเรื่ อง และ URL ของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ บางทีอาจเพิ่มคาอธิ บายเว็บ
                      ั
เพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้ดวย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็นของผูจดทาบล็อกได้อีก
                   ั       ้                                           ้ั
ด้วย เป็ นเหมือนการกลันกรองข้อมูลให้ทราบว่าเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ใดกาลังได้รับความนิ ยม ซึ่ งจะ
                      ่
เป็ นการช่ วยจัดล าดับ ความน่ า เชื่ อถื อของเว็บ เพจหรื อเว็บ ไซต์น้ ัน ๆ ได้เช่ นกัน ตัวอย่า งบล็ อก
ลักษณะนี้ได้แก่ http://del.icio.us/ เป็ นต้น
3.2 Personal Journal Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอความคิดเห็นหรื อ
                                                 ู้ ั
ประสบการณ์ ของตนเองผ่านข้อเขี ยน โดยอาจจะมี ภาพประกอบ หรื อมี การเชื่ อมโยงออกไปยัง
เว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดู น่าเชื่ อถื อหรื อมี ความน่ าสนใจมากยิ่งขึ้ น ซึ่ งบล็ อกลักษณะนี้ เป็ น
                        ้
บล็อกตามความเข้าใจของบุคคลทัวไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ ได้แก่ http://www.exteen.comหรื อ
                            ่
http://www.blogger.com เป็ นต้น

         3.3 Photo Blog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บภาพ (ภาพถ่าย, ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่
รายละเอียดของภาพ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บภาพเป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหามากขึ้น
ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.flickr.com เป็ นต้น

         3.4 Video Blog หรื อ เรี ยกว่า Vlog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บวีดิทศน์ส่วนตัว สามารถใส่
                                                                            ั
รายละเอียดของวีดิทศน์ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บวีดิทศน์เป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหา
                  ั                                        ั
มากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.aolvideoblog.com เป็ นต้น

         3.5 บล็อกผสม มีลกษณะเป็ นบล็อกที่สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บ
                         ั
รู ปภาพ เก็บเพลง เก็บวีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรื อบันทึกประจาวัน และใส่ ปฏิทินรายการงานที่
ต้องทา ฯลฯ ได้ดวย ปั จจุบนเป็ นบริ การที่ได้รับความนิยมสู งมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรี ยกว่าSocial
               ้         ั
Network Service ซึ่ งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิ กแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยงมี
                                                                                          ั
จุดประสงค์หลักเพื่อการค้นหาและสะสมเพื่อนจากทัวโลก ตัวอย่าง Social NetworkingWebsites ซึ่ ง
                                             ่
ให้บริ การลักษณะนี้ ได้แก่ http://hi5.com หรื อ http://multiply.com หรื อhttp://spaces.live.com เป็ น
ต้น (ซึ่ งปั จจุบน คาว่า blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็ นแค่ส่วนที่ใช้เขียน
                 ั
ข้อความเช่ นบันทึกประจาวันแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คาว่า journal แทนคาว่า blog
ด้วย แต่ เนื่ องจากบริ ก ารนี้ เป็ นการรวมเอาบล็ อกลัก ษณะต่ า ง ๆที่ เคยมี มาอยู่ใ นที่ เ ดี ย ว ท าให้
ผูใ ช้ง านได้รับ ความสะดวกสบายมากยิ่ง ขึ้ น เพราะเพี ยงแค่เปิ ดใช้บ ริ ก ารที่ เดี ย ว ก็ ได้ใช้บ ริ ก าร
  ้
ครบถ้วน ไม่ตองเสี ยเวลาไปสมัครใช้งานจาก เว็บไซต์หลายที่ให้จดจายากอีกด้วย)
            ้



ตัวอย่างเว็บบล็อก
1.Bloggang




แหล่งชุมชน ชาวบล็อก ที่ชอบ สิ งสถิตย์ ในเว็บ พันธุ์ทิพย์ มีเว็บ บล็อกมากที่สุดในเวลานี้ แบ่งเป็ น
หมวดหมู่ หลากหลายประเภท

2 .Gotoknow




บล็อกชุ มชน ของ สถาบัน ส่ งเสริ ม การจัดการ ความรู ้ เพื่อสังคม มีคณาจารย์ และ ผูชานาญการ
                                                                                 ้
ร่ วมกัน มาเขียนบล็อก ถ่ายทอดวิชา

3. DiaryHub




แหล่งชุมชน นักเขียนไดอารี แห่งแรก ของประเทศไทย

 4. Blogger




ต้นกาเนิด เว็บบล็อก ต่างประเทศ ที่มีคนใช้มากที่สุด ในโลก

5. OKnation BLog
บล็อกนักข่าวอาสาสมัคร ของ เดอะเนชัน รายงานข่าว เกาะติด สถานการณ์ ทุกเรื่ องราวในสังคม
                                  ่

6. Exteen



ชุ มชน บล็อกวัยที น หน้าตา น่ ารั ก น่ าใช้ เขียนง่ าย สมัครฟรี เป็ นที่นิยม ในหมู่วยรุ่ น วัยมัน พันธุ์
                                                                                    ั
ใหม่

7. Window Live Spaces




เว็บสเปซ ของค่ายไมโครซอฟท์ ที่ชาว msn นิยมเล่น

8. Keng



บล็อกเก่ง เป็ น Event Blog นาเสนอ ความรู ้ เรื่ องราวต่างๆ เกี่ยวกับ Blog

9. Bird FC




เว็บสาหรับ แฟนคลับ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย นักร้องซูเปอร์สตาร์

10. คาราบาว
โฮมเพจ คาราบาว เว็๋บไซต์ วงดนตรี เพื่อชีวต อันโด่งดังตลอดกาล
                                         ิ

11. tureLife




ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่ งใหม่ๆ
                                        ้

12. DiaryClub




รวมบล็อกคนไทย แบ่งเป็ นกลุ่ม มี ทั้ง คลิปวิดีโอ ข่าว บันเทิง ฯลฯ

13. M Blog



เว็บบล็อก ของผูจดการ เปิ ด มิติใหม่ ให้ โอกาสให้ ผูเ้ ขียน บล็อก ก้าวสู่ การเป็ น เจ้าของ หนังสื อที่
               ้ั
ตัวเอง เขียนขึ้น จากบล็อก สู่ บุค
                                ๊

14. Yahoo Geocities




สุ ดยอดของฟรี ที่ให้บริ การ พื้นที่ สร้างโฮมเพจฟรี ที่ใครๆก็เคยใช้
15. โชว์เด็ด




บล็อกวาไรตี้ ที่ให้คุณ แสดงภาพ หรื อ คลิปวิดีโอ แสดงความคิด ตาม ต้องการ และถ้าบล็อกใด โชว์
เด็ด โชว์ดี มีรางวัลให้

16. StoryThai




ศูนย์รวม ของ ผูรัก การอ่าน และ เขียน ถ่ายทอด เรื่ องราว
               ้

17. Mthai Blog




ชุมชนบล็อกวาไรตี้ ที่มี คนเข้ามา ใช้ บริ การมากแห่งหนึ่ง

18. Sanook Blog




ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่ งใหม่ๆ
                                        ้

19. Technorati
รวบรวม ค้นหา Blog จากทัวโลก แบ่งแยกเป็ นหมวดหมู่ จัดอันดับ
                       ่

20. ThaiBlog




สารบัญบล็อกไทย รวบรวมบล็อก ดีๆ สาหรับคนไทย แบ่งเป็ นหมวดหมู่



       3. เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก
       www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com
       www.imigg.com
       www.5iam.com
       www.blogprathai.com
       www.ndesignsblog.com
       www.idatablog.com
       www.inewblog.com
       www.onblogme.com
       www.freeseoblogs.com
       www.sumhua.com
       www.diaryi.net
       www.istoreblog.com
       www.skypream.com
       www.thailandspace.com
www.sungson.com
        www.gujaba.com
        www.sabuyblog.com
        www.ugetblog.com
        www.jaideespace.com
        www.maxsiteth.com
        www.my2blog.com
9. ขอบเขตของโครงงาน
        1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress
เรื่ อง ระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย
        2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือหรื อโปรแกรมหรื อที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่
                2.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต
              2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ www.wordpress.com
              2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร เช่น www.facebook.com www.hotmail.com
www.google.com
              2.4 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรู ปภาพ เช่นAdobe Photoshop CS4 และ
PhotoScape2.0


10. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
                                                            ระยะเวลาดาเนินงาน
                                                 เดือนสิ งหาคม            เดือนกันยายน
  ที่         ขั้นตอนการดาเนินงาน
                                                    สัปดาห์ที่               สัปดาห์ที่
                                               1     2 3 4 1 2
  1     คิดหัวข้อโครงงาน                       
  2     ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล                  
  3     จัดทาโครงร่ างเพื่อนาเสนอ              
4     ปฏิบติการจัดทาโครงงาน
             ั                                          
         นาเสนอรายงานความก้าวหน้า
   5                                                    
         ของโครงงานครั้งที่ 1
         นาเสนอรายงานความก้าวหน้า                             
   6
         ของโครงงานครั้งที่ 2
   7     ปรับปรุ ง ทดสอบ                                      
   6     จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน                                    
   8     ประเมินผลงาน                                                      
   9     นาเสนอโครงงานผ่านเว็บ blog                                               


10. สถานทีดาเนินงาน
          ่
         ห้องเรี ยนคอมพิวเตอร์ ICT โรงเรี ยนเลยอนุกลวิทยา อาเภอเมือง จังหวัดเลย
                                                   ู

11. ผลทีคาดว่าจะได้ รับ
        ่
         11.1 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ระบบ
เครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย

         11.2 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องที่นามาเป็ นบทเรี ยนในการสร้างเว็บบล็อกคือเรื่ อง ระบบ
เครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย
         11.3 ผูเ้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ดวยตนเองและนามา
                                                                        ้
ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้น
                                               ่
         11.4 สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป
                                                              ้     ่
                                       ่
เพื่อสร้างเป็ นเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ผานเว็บบล็อกได้
         11.5 ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่มาใช้อย่างมีคุณค่า และสร้างสรรค์

12. เอกสารอ้างอิง

- http://www.chakkham.ac.th/technology/network/index.htm

- http://ritarine.blogspot.com/2008/09/7.html
ลงชื่อ วารุ ณี ทองคาแสน
     (นางสาววารุ ณี ทองคาแสน )
                ผูเ้ สนอโครงงาน



ลงชื่อ.............................................
          (นางสมร ตาระพันธ์)
           ครู ที่ปรึ กษาโครงงาน

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรPongtep Bungkilo
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานShe's Mammai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 

What's hot (6)

3 32222
3 322223 32222
3 32222
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
แบเสนอโครงงาน
แบเสนอโครงงานแบเสนอโครงงาน
แบเสนอโครงงาน
 

Viewers also liked

00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1Thanggwa Taemin
 
(1,8) состојби и перспективи на развојот на македонија
(1,8) состојби и перспективи на развојот на македонија(1,8) состојби и перспективи на развојот на македонија
(1,8) состојби и перспективи на развојот на македонијаneebitno
 
(1,4) посткомунизам и постоцијализам (транзиција)
(1,4) посткомунизам и постоцијализам (транзиција)(1,4) посткомунизам и постоцијализам (транзиција)
(1,4) посткомунизам и постоцијализам (транзиција)neebitno
 
(8,6) pojava na evropska unija
(8,6) pojava na evropska unija(8,6) pojava na evropska unija
(8,6) pojava na evropska unijaneebitno
 
(8,91) пристапување кон еу
(8,91) пристапување кон еу(8,91) пристапување кон еу
(8,91) пристапување кон еуneebitno
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25Thanggwa Taemin
 
(3,4) licni prava i slobodi
(3,4) licni prava i slobodi(3,4) licni prava i slobodi
(3,4) licni prava i slobodineebitno
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1Thanggwa Taemin
 
00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1Thanggwa Taemin
 
(3,5) politicki prava i slobodi
(3,5) politicki prava i slobodi(3,5) politicki prava i slobodi
(3,5) politicki prava i slobodineebitno
 
(1,7) нациите и националните држави денес (1)
(1,7) нациите и националните држави денес (1)(1,7) нациите и националните држави денес (1)
(1,7) нациите и националните држави денес (1)neebitno
 
(2,4) potrosuvackoto opstestvo i licnosta
(2,4) potrosuvackoto opstestvo i licnosta(2,4) potrosuvackoto opstestvo i licnosta
(2,4) potrosuvackoto opstestvo i licnostaneebitno
 
(2,7) multikulturno opstestvo
(2,7) multikulturno opstestvo(2,7) multikulturno opstestvo
(2,7) multikulturno opstestvoneebitno
 
(3,6) socijalni, ekonomski i kulturni prava i slobodi
(3,6) socijalni, ekonomski i kulturni prava i slobodi(3,6) socijalni, ekonomski i kulturni prava i slobodi
(3,6) socijalni, ekonomski i kulturni prava i slobodineebitno
 
(3,8) covekovi prava, demokratija i razvoj
(3,8) covekovi prava, demokratija i razvoj(3,8) covekovi prava, demokratija i razvoj
(3,8) covekovi prava, demokratija i razvojneebitno
 

Viewers also liked (17)

00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1
 
(1,8) состојби и перспективи на развојот на македонија
(1,8) состојби и перспективи на развојот на македонија(1,8) состојби и перспективи на развојот на македонија
(1,8) состојби и перспективи на развојот на македонија
 
(1,4) посткомунизам и постоцијализам (транзиција)
(1,4) посткомунизам и постоцијализам (транзиција)(1,4) посткомунизам и постоцијализам (транзиција)
(1,4) посткомунизам и постоцијализам (транзиција)
 
(8,6) pojava na evropska unija
(8,6) pojava na evropska unija(8,6) pojava na evropska unija
(8,6) pojava na evropska unija
 
(8,91) пристапување кон еу
(8,91) пристапување кон еу(8,91) пристапување кон еу
(8,91) пристапување кон еу
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
 
(3,4) licni prava i slobodi
(3,4) licni prava i slobodi(3,4) licni prava i slobodi
(3,4) licni prava i slobodi
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1
 
00 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.100 ส่วนนำ1 1.1
00 ส่วนนำ1 1.1
 
(3,5) politicki prava i slobodi
(3,5) politicki prava i slobodi(3,5) politicki prava i slobodi
(3,5) politicki prava i slobodi
 
ขนิษฐา
ขนิษฐาขนิษฐา
ขนิษฐา
 
(1,7) нациите и националните држави денес (1)
(1,7) нациите и националните држави денес (1)(1,7) нациите и националните држави денес (1)
(1,7) нациите и националните држави денес (1)
 
(2,4) potrosuvackoto opstestvo i licnosta
(2,4) potrosuvackoto opstestvo i licnosta(2,4) potrosuvackoto opstestvo i licnosta
(2,4) potrosuvackoto opstestvo i licnosta
 
(2,7) multikulturno opstestvo
(2,7) multikulturno opstestvo(2,7) multikulturno opstestvo
(2,7) multikulturno opstestvo
 
(3,6) socijalni, ekonomski i kulturni prava i slobodi
(3,6) socijalni, ekonomski i kulturni prava i slobodi(3,6) socijalni, ekonomski i kulturni prava i slobodi
(3,6) socijalni, ekonomski i kulturni prava i slobodi
 
(3,8) covekovi prava, demokratija i razvoj
(3,8) covekovi prava, demokratija i razvoj(3,8) covekovi prava, demokratija i razvoj
(3,8) covekovi prava, demokratija i razvoj
 

Similar to งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25

แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 

Similar to งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25 (20)

แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบเสนอโครงงาน
แบเสนอโครงงานแบเสนอโครงงาน
แบเสนอโครงงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แบบร่างโครงงาน112
แบบร่างโครงงาน112แบบร่างโครงงาน112
แบบร่างโครงงาน112
 
แบบร่างโครงงาน112
แบบร่างโครงงาน112แบบร่างโครงงาน112
แบบร่างโครงงาน112
 
แบบร่างโครงงาน112
แบบร่างโครงงาน112แบบร่างโครงงาน112
แบบร่างโครงงาน112
 

More from Thanggwa Taemin

07 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 107 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 1Thanggwa Taemin
 
07 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 107 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 1Thanggwa Taemin
 
06 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 106 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 1Thanggwa Taemin
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 105 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1Thanggwa Taemin
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 104 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1Thanggwa Taemin
 
หัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานหัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานThanggwa Taemin
 
หัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานหัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานThanggwa Taemin
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Thanggwa Taemin
 
00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1Thanggwa Taemin
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25Thanggwa Taemin
 

More from Thanggwa Taemin (11)

07 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 107 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 1
 
07 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 107 ภาคผนวก 1
07 ภาคผนวก 1
 
06 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 106 บรรณานุกรม 1
06 บรรณานุกรม 1
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 105 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 104 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน 1
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
หัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานหัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงาน
 
หัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงานหัวข้อโครงงาน
หัวข้อโครงงาน
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
00 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 100 ส่วนนำ1 1
00 ส่วนนำ1 1
 
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25
 

งานคอมพิวเตอร์ วารุณี 5_1_25

  • 1. แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์ รายวิชา การสร้ างและออกแบบเว็บไซต์ (ง30242) กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ ) ปี การศึกษา 2554 ---------------------------------------------------- 1. ชื่อโครงงาน การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ระบบเครื อข่ายและการ สื่ อสารบนเครื อข่าย 2. ประเภทของโครงงาน (เลือก 1 โครงงาน) โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา 3. ชื่ อ สกุลผู้เสนอโครงงาน นางสาว วารุ ณี ทองคาแสน ชั้น ม.5/1 เลขที่ 25 4. ชื่ อครู ทปรึกษาโครงงาน ี่ นางสมร ตาระพันธ์ ตาแหน่ง ครู ชานาญการพิเศษ 5. ชื่ อครู ทปรึกษาโครงงานร่ วม (ถ้ ามี) ี่ - 6. แนวคิด ทีมา และความสาคัญ ่ การติดต่อสื่ อสารข้อมูลสมัยใหม่น้ ี มีรากฐานมาจาก ความพยายาม ในการเชื่อมต่อ ั ่ ระหว่างคอมพิวเตอร์ กบคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยระบบสื่ อสารที่มีอยูแล้ว เช่น โทรศัพท์ ดังนั้นการ ่ สื่ อสารข้อมูล จึงอยูในขอบเขตที่จากัด ต่อมามีการใช้คอมพิวเตอร์ มากขึ้น ความต้องการในการ ติดต่อระหว่าง เครื่ องคอมพิวเตอร์ หลายเครื่ องในเวลาเดียวกัน ที่เรี ยก ระบบเครื อข่าย (network system) ได้รับการพัฒนาให้ดีข้ ึนเป็ นลาดับ ในตอนเริ่ มต้นของยุคสื่ อสารเมื่อประมาณ พ.ศ. 2513 – 2515 ความต้องการใช้คอมพิวเตอร์ ่ ร่ วมกันมีมากขึ้น แต่คอมพิวเตอร์ ยงมีราคาสู งมาก เมื่อเทียบกับอุปกรณ์สื่อสารที่มีอยูแล้วบางอย่าง ั
  • 2. การสื่ อสารด้วยระบบเครื อข่ายในระยะนั้นจึงเน้นการใช้คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ท่ีศูนย์คอมพิวเตอร์ เป็ นผูให้บริ การโดยผูใช้สามารถติดต่อผ่านเครื่ องปลายทาง เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายของระบบ ้ ้ ต่อมาเมื่อถึงยุคสมัยของไมโครคอมพิวเตอร์ พบว่าขีดความสามารถในด้านความเร็ วของการทางาน ของคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ มีความเร็ วมากกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ประมาณ 10 เท่า แต่ราคาแพง กว่าหลายพันเท่า ทาให้การใช้ไโครคอมพิวเตอร์ แพร่ หลายและกระจายออกไป การสื่ อสารจึง กลายเป็ นระบบเครื อข่ายที่เชื่ อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ หลายๆ เครื่ องแทนที่จะเป็ นคอมพิวเตอร์ ั ขนาดใหญ่กบเครื่ องปลายทางแบบกระจาย ่ ลักษณะของเครื อข่ายจึงเริ่ มจากจุดเล็กๆ อาจจะอยูบนแผงวงจอิเล็กทรอนิกส์เดียวกัน ขยายตัวใหญ่ข้ ึนเป็ นทั้งระบบที่ทางานร่ วมกันในห้องทางาน ในตึก ระหว่างตึก ระหว่างสถาบัน ระหว่างเมือง ระหว่างประเทศ ข้อมูลในรู ปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บในคอมพิวเตอร์ สามารถส่ งต่อ คัดลอก จัดพิมพ์ ทาสาเนาได้ง่าย เมื่อเทียบกับการคัดลอกด้วยมือซึ่ งต้องใช้เวลามากและเสี่ ยงต่อการทา ข้อมูลผิดพลาดอีกด้วย วิธีการทางด้านการสื่ อสารข้อมูล กาลังได้รับการนามาประยุกต์ใช้ในระบบ สานักงานที่เรี ยกว่า ระบบสานักงานอัตโนมัติ (office automation) ระบบดังกล่าวนี้มกเรี ยกย่อกัน ั สั้นๆ ว่า โอเอ (OA) เป็ นระบบที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาช่วยในการทางานที่เกี่ยวกับเอกสาร ทัวไป แล้วส่ งไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วยไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อโอนย้ายแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ ่ ์ ่ เก็บรวบรวมไว้ระหว่างแผนกซึ่ งอาจตั้งอยูภายในอาคารเดียวกันหรื อไกลกันคนละเมืองก็ได้ โดย การส่ งข้อมูลข่าวสารเช่นนี้ตองเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายประเภทที่สามารถผนวก ้ เข้าหากันเป็ นระบบเดียวได้ อุปกรณ์เหล่านั้นอาจเป็ นโทรศัพท์ โทรสาร คอมพิวเตอร์ เครื่ องพิมพ์ หรื ออุปกรณ์เครื อข่าย ในเรื่ องของเนื้ อหาความรู ้เกี่ยวกับระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่ายนั้น เป็ นความ สนใจส่ วนตัวที่อยากจะศึกษาเรื่ องราวเกี่ยวกับระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย ซึ่งมี เนื้อหา การติดต่อสื่ อสารข้อมูลสมัยใหม่น้ ี มีรากฐานมาจาก ความพยายาม ในการเชื่อมต่อระหว่าง ั ่ คอมพิวเตอร์ กบคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยระบบสื่ อสารที่มีอยูแล้ว เช่น โทรศัพท์ ดังนั้นการสื่ อสาร ่ ข้อมูล จึงอยูในขอบเขตที่จากัด ต่อมามีการใช้คอมพิวเตอร์ มากขึ้น ความต้องการในการติดต่อ
  • 3. ระหว่าง เครื่ องคอมพิวเตอร์ หลายเครื่ องในเวลาเดียวกัน ที่เรี ยก ระบบเครื อข่าย (network system) ได้รับการพัฒนาให้ดีข้ ึนเป็ นลาดับ ดังนั้น ผูจดทาจึงได้มีความคิดที่จะนาเอารู ปแบบของ WebBlog ด้วยเว็บไซต์ Wordpress ้ั มาใช้ในการเผยแพร่ ขอมูลที่เกี่ยวข้องกับ เรื่ องระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย เพื่อ ้ ศึกษา เผยแพร่ ความรู ้ดงกล่าวสู่ ผสนใจต่อไป ั ู้ 7. วัตถุประสงค์ 7.1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ระบบเครื อข่ายและ การสื่ อสารในเครื อข่าย 7.2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับ ระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารในเครื อข่าย 7.3 เพื่อให้ผเู้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ดวยตนเองและ ้ นามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้น่ 7.4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป ้ ่ 8. หลักการและทฤษฎี 1. ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) บล็อก (อังกฤษ: blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บล็อก (อังกฤษ: weblog) เป็ นรู ปแบบ เว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่ งถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรี ยงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียน ล่าสุ ดไว้แรกสุ ด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่ งบางครั้งจะรวมสื่ อต่างๆ ไม่ ว่า เพลง หรื อวิดีโอในหลายรู ปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะ เปิ ดให้ผเู ้ ข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียน ซึ่ งทาให้ผเู ้ ขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คาว่า "บล็อก" ยังใช้เป็ นคากริ ยาได้ซ่ ึ งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพก็จะถูกเรี ยกว่า "บล็อกเกอร์ " ู้ ่ ั บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มีเนื้ อหาหลากหลายขึ้นอยูกบเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็ น เครื่ องมือสื่ อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้านไม่ ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรื อข่าวปั จจุบน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่ องส่ วนตัวหรื อ ั
  • 4. จะเรี ยกว่าไดอารี ออนไลน์ ซึ่ งไดอารี ออนไลน์นี่เองเป็ นจุดเริ่ มต้นของการใช้บล็อกในปั จจุบน ั นอกจากนี้ ตามบริ ษทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทาบล็อกของทางบริ ษทขึ้น เพื่อเสนอแนว ั ั ั ความเห็นใหม่ใหักบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการ ตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2. ประเภทของเว็บบล็อก บล็อกมีดวยกันหลายชนิ ด แต่ละชนิ ดมีขอมูลที่แตกต่างกันไปทั้งผูเ้ ขียนและผูเ้ ข้าชม โดย ้ ้ บล็อกจะเน้นไปที่เรื่ องต่างๆ เช่น learner blogs, political blogs, travel blogs, fashion blogs, project ่ blogs,legal blogs และอื่นๆบล็อกที่เราเห็นอยูในปั จจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ นตัวหนังสื อและ ั รู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้ 1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่ 1.1. Linklog บล็อกแบบเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ ที่รวมลิ๊ งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้ว่า จะบล็อกแบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะ โพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้น 1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะ ไม่เน้นเขียนข้อความมากนัก 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่ เรี ยกได้ว่าเป็ นบล็อกที่ นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติ บโตของไฮสปี ด อิ นเตอร์ เน็ ต หรื อ อินเตอร์ เน็ตบอร์ ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie 2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่ 2.1 บล็อกส่ วนตัว(Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็ น กิ จวัตรประจาวันของเจ้าของ บล็อกเป็ นหลัก 2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก
  • 5. 2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com 2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ 2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา สิ่ งแวดล้อม 2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดี และสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ ั ่ เช่น oknation.net/blog/black ของสุ ทธิ ชย หยุน 2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และ จอเงิน เรื่ องซุ บซุ ดารา กองถ่าย ฯลฯ 2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน 2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง 3.แบ่งตามรู ปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด 3.1 Filter Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจ ู้ ั หรื อเว็บไซต์) โดยปกติมกจะเป็ นข่าว บทความ หรื อความคิดเห็ นของบุคคลในวงการที่เผยแพร่ ใน ั เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรี ยกได้วา เป็ น บล็อก “Bookmark” หรื อ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmarkบล็อก ่ ลักษณะนี้ จะนาเสนอแค่หวข้อเรื่ อง และ URL ของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ บางทีอาจเพิ่มคาอธิ บายเว็บ ั เพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้ดวย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็นของผูจดทาบล็อกได้อีก ั ้ ้ั ด้วย เป็ นเหมือนการกลันกรองข้อมูลให้ทราบว่าเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ใดกาลังได้รับความนิ ยม ซึ่ งจะ ่ เป็ นการช่ วยจัดล าดับ ความน่ า เชื่ อถื อของเว็บ เพจหรื อเว็บ ไซต์น้ ัน ๆ ได้เช่ นกัน ตัวอย่า งบล็ อก ลักษณะนี้ได้แก่ http://del.icio.us/ เป็ นต้น
  • 6. 3.2 Personal Journal Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอความคิดเห็นหรื อ ู้ ั ประสบการณ์ ของตนเองผ่านข้อเขี ยน โดยอาจจะมี ภาพประกอบ หรื อมี การเชื่ อมโยงออกไปยัง เว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดู น่าเชื่ อถื อหรื อมี ความน่ าสนใจมากยิ่งขึ้ น ซึ่ งบล็ อกลักษณะนี้ เป็ น ้ บล็อกตามความเข้าใจของบุคคลทัวไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ ได้แก่ http://www.exteen.comหรื อ ่ http://www.blogger.com เป็ นต้น 3.3 Photo Blog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บภาพ (ภาพถ่าย, ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่ รายละเอียดของภาพ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บภาพเป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหามากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.flickr.com เป็ นต้น 3.4 Video Blog หรื อ เรี ยกว่า Vlog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บวีดิทศน์ส่วนตัว สามารถใส่ ั รายละเอียดของวีดิทศน์ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บวีดิทศน์เป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหา ั ั มากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.aolvideoblog.com เป็ นต้น 3.5 บล็อกผสม มีลกษณะเป็ นบล็อกที่สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บ ั รู ปภาพ เก็บเพลง เก็บวีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรื อบันทึกประจาวัน และใส่ ปฏิทินรายการงานที่ ต้องทา ฯลฯ ได้ดวย ปั จจุบนเป็ นบริ การที่ได้รับความนิยมสู งมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรี ยกว่าSocial ้ ั Network Service ซึ่ งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิ กแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยงมี ั จุดประสงค์หลักเพื่อการค้นหาและสะสมเพื่อนจากทัวโลก ตัวอย่าง Social NetworkingWebsites ซึ่ ง ่ ให้บริ การลักษณะนี้ ได้แก่ http://hi5.com หรื อ http://multiply.com หรื อhttp://spaces.live.com เป็ น ต้น (ซึ่ งปั จจุบน คาว่า blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็ นแค่ส่วนที่ใช้เขียน ั ข้อความเช่ นบันทึกประจาวันแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คาว่า journal แทนคาว่า blog ด้วย แต่ เนื่ องจากบริ ก ารนี้ เป็ นการรวมเอาบล็ อกลัก ษณะต่ า ง ๆที่ เคยมี มาอยู่ใ นที่ เ ดี ย ว ท าให้ ผูใ ช้ง านได้รับ ความสะดวกสบายมากยิ่ง ขึ้ น เพราะเพี ยงแค่เปิ ดใช้บ ริ ก ารที่ เดี ย ว ก็ ได้ใช้บ ริ ก าร ้ ครบถ้วน ไม่ตองเสี ยเวลาไปสมัครใช้งานจาก เว็บไซต์หลายที่ให้จดจายากอีกด้วย) ้ ตัวอย่างเว็บบล็อก
  • 7. 1.Bloggang แหล่งชุมชน ชาวบล็อก ที่ชอบ สิ งสถิตย์ ในเว็บ พันธุ์ทิพย์ มีเว็บ บล็อกมากที่สุดในเวลานี้ แบ่งเป็ น หมวดหมู่ หลากหลายประเภท 2 .Gotoknow บล็อกชุ มชน ของ สถาบัน ส่ งเสริ ม การจัดการ ความรู ้ เพื่อสังคม มีคณาจารย์ และ ผูชานาญการ ้ ร่ วมกัน มาเขียนบล็อก ถ่ายทอดวิชา 3. DiaryHub แหล่งชุมชน นักเขียนไดอารี แห่งแรก ของประเทศไทย 4. Blogger ต้นกาเนิด เว็บบล็อก ต่างประเทศ ที่มีคนใช้มากที่สุด ในโลก 5. OKnation BLog
  • 8. บล็อกนักข่าวอาสาสมัคร ของ เดอะเนชัน รายงานข่าว เกาะติด สถานการณ์ ทุกเรื่ องราวในสังคม ่ 6. Exteen ชุ มชน บล็อกวัยที น หน้าตา น่ ารั ก น่ าใช้ เขียนง่ าย สมัครฟรี เป็ นที่นิยม ในหมู่วยรุ่ น วัยมัน พันธุ์ ั ใหม่ 7. Window Live Spaces เว็บสเปซ ของค่ายไมโครซอฟท์ ที่ชาว msn นิยมเล่น 8. Keng บล็อกเก่ง เป็ น Event Blog นาเสนอ ความรู ้ เรื่ องราวต่างๆ เกี่ยวกับ Blog 9. Bird FC เว็บสาหรับ แฟนคลับ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย นักร้องซูเปอร์สตาร์ 10. คาราบาว
  • 9. โฮมเพจ คาราบาว เว็๋บไซต์ วงดนตรี เพื่อชีวต อันโด่งดังตลอดกาล ิ 11. tureLife ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่ งใหม่ๆ ้ 12. DiaryClub รวมบล็อกคนไทย แบ่งเป็ นกลุ่ม มี ทั้ง คลิปวิดีโอ ข่าว บันเทิง ฯลฯ 13. M Blog เว็บบล็อก ของผูจดการ เปิ ด มิติใหม่ ให้ โอกาสให้ ผูเ้ ขียน บล็อก ก้าวสู่ การเป็ น เจ้าของ หนังสื อที่ ้ั ตัวเอง เขียนขึ้น จากบล็อก สู่ บุค ๊ 14. Yahoo Geocities สุ ดยอดของฟรี ที่ให้บริ การ พื้นที่ สร้างโฮมเพจฟรี ที่ใครๆก็เคยใช้
  • 10. 15. โชว์เด็ด บล็อกวาไรตี้ ที่ให้คุณ แสดงภาพ หรื อ คลิปวิดีโอ แสดงความคิด ตาม ต้องการ และถ้าบล็อกใด โชว์ เด็ด โชว์ดี มีรางวัลให้ 16. StoryThai ศูนย์รวม ของ ผูรัก การอ่าน และ เขียน ถ่ายทอด เรื่ องราว ้ 17. Mthai Blog ชุมชนบล็อกวาไรตี้ ที่มี คนเข้ามา ใช้ บริ การมากแห่งหนึ่ง 18. Sanook Blog ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่ งใหม่ๆ ้ 19. Technorati
  • 11. รวบรวม ค้นหา Blog จากทัวโลก แบ่งแยกเป็ นหมวดหมู่ จัดอันดับ ่ 20. ThaiBlog สารบัญบล็อกไทย รวบรวมบล็อก ดีๆ สาหรับคนไทย แบ่งเป็ นหมวดหมู่ 3. เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com www.imigg.com www.5iam.com www.blogprathai.com www.ndesignsblog.com www.idatablog.com www.inewblog.com www.onblogme.com www.freeseoblogs.com www.sumhua.com www.diaryi.net www.istoreblog.com www.skypream.com www.thailandspace.com
  • 12. www.sungson.com www.gujaba.com www.sabuyblog.com www.ugetblog.com www.jaideespace.com www.maxsiteth.com www.my2blog.com 9. ขอบเขตของโครงงาน 1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ระบบเครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย 2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือหรื อโปรแกรมหรื อที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ 2.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต 2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ www.wordpress.com 2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร เช่น www.facebook.com www.hotmail.com www.google.com 2.4 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรู ปภาพ เช่นAdobe Photoshop CS4 และ PhotoScape2.0 10. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนสิ งหาคม เดือนกันยายน ที่ ขั้นตอนการดาเนินงาน สัปดาห์ที่ สัปดาห์ที่ 1 2 3 4 1 2 1 คิดหัวข้อโครงงาน  2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล  3 จัดทาโครงร่ างเพื่อนาเสนอ 
  • 13. 4 ปฏิบติการจัดทาโครงงาน ั  นาเสนอรายงานความก้าวหน้า 5  ของโครงงานครั้งที่ 1 นาเสนอรายงานความก้าวหน้า  6 ของโครงงานครั้งที่ 2 7 ปรับปรุ ง ทดสอบ  6 จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน  8 ประเมินผลงาน  9 นาเสนอโครงงานผ่านเว็บ blog  10. สถานทีดาเนินงาน ่ ห้องเรี ยนคอมพิวเตอร์ ICT โรงเรี ยนเลยอนุกลวิทยา อาเภอเมือง จังหวัดเลย ู 11. ผลทีคาดว่าจะได้ รับ ่ 11.1 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ระบบ เครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย 11.2 ได้รับความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องที่นามาเป็ นบทเรี ยนในการสร้างเว็บบล็อกคือเรื่ อง ระบบ เครื อข่ายและการสื่ อสารบนเครื อข่าย 11.3 ผูเ้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ดวยตนเองและนามา ้ ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู ้ของตนเองมากยิงขึ้น ่ 11.4 สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป ้ ่ ่ เพื่อสร้างเป็ นเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ผานเว็บบล็อกได้ 11.5 ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่มาใช้อย่างมีคุณค่า และสร้างสรรค์ 12. เอกสารอ้างอิง - http://www.chakkham.ac.th/technology/network/index.htm - http://ritarine.blogspot.com/2008/09/7.html
  • 14. ลงชื่อ วารุ ณี ทองคาแสน (นางสาววารุ ณี ทองคาแสน ) ผูเ้ สนอโครงงาน ลงชื่อ............................................. (นางสมร ตาระพันธ์) ครู ที่ปรึ กษาโครงงาน