SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
บทที่ 2

                                       เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
                                                    ่

        ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress
เรื่ อง เทคโนโลยี 4G ( Forth Generation )
 ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
   ้ั

        2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต
        2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media
        2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)

2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต
          ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
           เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่ าง
                      ่
มาก ตัวอย่างเช่น
1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษา
ง่ายขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย
                                                           ั

2. การดารงชีวตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่
               ิ
เกิดขึ้นในชีวตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง
             ิ

3. การดาเนินธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้
                                                                 ้
                      ่
ทันกับข้อมูลข่าวสารอยูตลอดเวลา
อันส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง

4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า
ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้องและ ทาให้
เป็ นโลกที่ไร้พรหรมแดน
5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่
ได ้้ก็ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยทางานแทนซึ่งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว



2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media
              ่
        2.2.1 ความหมายของ Social Media

     SMO คือ แนวทางเกี่ยวกับ social media ที่ต้ งใจจะดึงดูดความสนใจผูที่มาชมเว็บไซต์ ไม่วาจะ
                                                 ั                       ้                    ่
                                                              ั
เป็ นการไป Bookmark เอาไว้, Share Link หรื อว่าส่ งลิงค์ให้กบเพื่อนๆ, การเพิ่ม RSS Feeds การเข้า
ไปคอมเม้นต์ในบล็อกของคนอื่นๆ หรื อว่า เขียนบทความในบล็อกต่างๆ ของตัวเอง (ทั้ งสิ่ งที่เห็น
ด้วย หรื อไม่เห็นด้วย) เพื่อที่จะนาไปต่อยอดทางความคิด จากบทความของเรา โดยที่คนเขียน
บทความต่างๆ ในกลุ่มพวกนี้ ก็มกจะมีพวกแฟนพันธุ์แท้ หรื อที่เรี ยกว่า Followers ที่มกจะเข้ามา
                                   ั                                                  ั
ตามอ่านบทความในสิ่ งที่คนเหล่านี้เขียนถึงอยูเ่ สมอๆ ทาให้เว็บไซต์ของเรา สร้างลิงค์เชื่อมกับ
Social network ได้ง่ายขึ้น, ถูกค้นเจอง่ายขึ้นใน Search engine ที่เจาะจงใช้เพื่อค้นหา Social media
(เช่น Technorati) และเพื่อให้บล็อกเกอร์ อื่นๆ อ้างถึงบ่อยขึ้นในบล็อก, พอดคาสท์ หรื อ วิดีโอบล็อก
                                         ่
(vlogs) ของเขา เพราะฉะนั้นจะเห็นได้วา บทความหรื อว่าเรื่ องที่จะเขียนถึง นั้น ถือว่าเป็ น
ส่ วนประกอบที่สาคัญมากที่สุดในเรื่ องของ SMO


        2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media

                 สื่ อ Social Media ที่นิยมใช้หลัก ๆ ในประเทศไทย แบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มหลัก ๆ คือ
1.กลุ่มเว็บไซต์เพื่อการสื่ อสารแบบเครื อข่ายโดยตรง ที่เรี ยกว่า สื่ อเครื อข่ายสังคม (Social
Networking Media) เช่น Facebook, Windows Live Spaces, Hi5
2.กลุ่มเว็บไซต์แสดงข้อความ(Blogs) ที่เป็ นเว็บไซต์บทความทัวไปที่มีการโต้ตอบ แลกเปลี่ยนให้
                                                          ่
ความเห็นกันได้ เช่น Blogger, WordPress และมีกลุ่มเว็บไซต์ประเภทนี้ แต่แตกเป็ นประเภทย่อย ๆ
แยกออกมาเช่น เว็บไซต์แสดงข้อความสั้น (Micro-blogging) อย่าง Twitter
3.กลุ่มเว็บไซต์มลติมีเดียที่มีภาพ เสี ยง คลิป ไฟล์ต่าง ๆ ขึ้น Upload และแบ่งปั นกัน (Share) เช่น
                ั
YouTube, slideshare, Flickr, Photobucket, Picasa
4.กลุ่มเว็บไซต์เพื่อความร่ วมมือเฉพาะแบบ เช่น สารานุกรมออนไลน์ Wikipedia
ซึ่ งในปี นี้ (2553) ทั้ง Facebook และ Twitter ได้เข้ามาแทนที่ผให้บริ การสื่ อสังคม (Social Media)
                                                               ู้
                                                                           ่
เดิมอย่าง Windows Live Spaces และ Hi5 ที่ได้รับการพูดถึงน้อยลงในช่วงปี ที่ผานมา โดย
            ู้                              ่      ่
Facebook มีผใช้บริ การ (Registered Users) ทัวโลกอยูที่ประมาณ 400 ล้านคน และ Twitter มี
ผูใช้บริ การทัวโลกอยูที่ประมาณ 75 ล้านคน ส่ วน Windows Live Spaces ที่มีค่าย Software ใหญ่
  ้           ่      ่
อย่าง Microsoft เป็ นเจ้าของหนุนหลังแต่ก็มีผใช้บริ การทัวโลกอยูที่ประมาณ 120 ล้านคน ซึ่ งถือว่า
                                            ู้          ่      ่
น้อยกว่า Facebook เป็ นอย่างมากTwitter ตัวจริ งเรื่ องข้อความสั้น (Micro-blogging) Twitter เป็ น
เว็บไซต์สื่อสังคม (Social Media) ที่มีลกษณะใช้รูปแบบการให้บริ การเผยแพร่ ขอความสั้น (Micro-
                                       ั                                  ้
blogging) ผสมผสานกับการทาเป็ นสื่ อเครื อข่ายสังคม (Social Networking Media) บางส่ วนโดยผูที่
                                                                                          ้
เผยแพร่ ขอความเองก็สามารถเลือกติดตามผูที่เผยแพร่ ขอความคนอื่น ๆ ได้ดวย โดยผูใช้ Twitter จะ
         ้                            ้           ้                 ้       ้
เรี ยกผูติดตามว่า Follower Twitter มีลกษณะการนาเสนอข้อความแบบข้อความสั้น ๆ โดยผูใช้จะถูก
        ้                             ั                                         ้
กาหนดให้สามารถพิมพ์ขอความนาเสนอได้ครั้งละเพียง 140 ตัวอักขระ ซึ่ งคุณลักษณะนี้กลับทาให้
                    ้
Twitter เองเป็ นที่นิยมมาก จากกระแสการนิยมเข้าถึงสื่ อสังคม (Social Media) ผ่านระบบ
โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ (Smartphone) เพราะด้วยข้อความที่ส้ ันและไม่มีการแสดงรู ปภาพหรื อ
ไอคอนภาพนิ่งหรื อเคลื่อนไหว ทาให้สะดวกต่อการโหลดข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์ให้รวดเร็ ว อีก
           ่                                        ่
ทั้งการใช้ผานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ยงไม่ได้ผานการต่อผ่านเว็บไซต์ตรง แต่เป็ นการต่อ
                                            ั
ผ่าน Application ที่ทาไว้โดยเฉพาะอีกด้วย
   ทั้งนี้จากสถิติที่รวบรวมโดยนิตยสาร Positioning เดือนมิถุนายน 2553 รายงานว่า ผูใช้ Twitter
                                                                                 ้
ผ่านโทรศัพท์มือถือ ( Smart Phone ) ทัวโลกมี 37% ในขณะที่คนไทยมีสดส่ วนการใช้ Twitter ผ่าน
                                     ่                          ั
                                                                        ่
โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ (Smartphone) สู งถึง 60% จากสถิติน้ ีเห็นได้วา ความนิยมใน Twitter
ของคนไทยมีอตราที่สูงมากเมื่อเทียบกับชาติอื่น ๆ ซึ่ งอาจจะเป็ นเพราะประเทศไทยมีผใช้
           ั                                                                   ู้
โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ (Smartphone) เป็ นจานวนมากก็เป็ นได้ (โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ ที่
นิยมในประเทศไทย คือโทรศัพท์ BB BlackBerry และโทรศัพท์ iPhone)
    เนื่องจาก Twitter เป็ นการแสดงข้อความสั้นเป็ นหลักเพียงอย่างเดียว จึงได้มีการใส่ คาสั้น เพื่อ
แสดงและค้นหากลุ่ม ด้วยรู ปแบบพิเศษขึ้นมา ที่เรี ยกว่า “การใส่ คาสั้นๆ เพื่อบ่งชี้ประเด็น” หรื อที่
เรี ยกว่า “Tag” หรื อ “Hash Tag” โดยการใส่ คาสั้นประเภทนี้เปรี ยบเสมือนหัวเรื่ องที่ทาให้สังเกตง่าย
และ สามารถใช้การค้นหาได้ง่ายขึ้น ซึ่ งมีผรวบรวมสถิติคายอดนิยม “Tag” ในแต่ละวันที่ใช้ใน
                                         ู้
ประเทศไทยเอาไว้ที่เว็บไซต์http://www.lab.in.th/thaitrend/ โดยสามารถใช้ศึกษาถึงประเด็นยอด
นิยมของคนที่ใช้สื่อเครื อข่ายสังคม Twitter ในแต่ละวันได้ดวยเช่นกัน ซึ่ งแน่นอนว่าในช่วง
                                                         ้
                                   ่
วิกฤตการณ์ทางการเมือง พ.ศ.2553 ที่ผานมา คาสั้นยอดนิยมอย่าง “เสื้ อแดง” “เสื้ อหลากสี ” “เรารัก
ในหลวง” ก็ถูกใช้อยูตลอดเป็ นอันดับต้นๆFacebook หนังสื อรุ่ น ที่ไม่ใช่แค่หนังสื อรุ่ นอีกต่อไป
                   ่
Facebook มีจุดกาเนิดมาจากการที่ Mark Zuckerberg นักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard
University) ในประเทศสหรัฐอเมริ กาและกลุ่มเพื่อนได้พฒนาเว็บไซต์ที่ให้บริ การเครื อข่ายเพื่อน
                                                   ั
ขึ้นมา โดยมีจุดมุ่งหมายแรกจะให้เป็ นเสมือนหนังสื อรุ่ น (Facebook) ซึ่ งต่อมาได้แพร่ หลายไปยัง
โรงเรี ยนและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จนต่อมาก็เปิ ดให้บุคคลทัวไป กิจการธุ รกิจ นักการเมือง กลุ่มผูมี
                                                      ่                                    ้
ความนิยมในเรื่ องเดียวกัน ใช้ได้อย่างอิสระ
Facebook มีลกษณะที่เป็ นเว็บไซต์เพื่อการสื่ อสารแบบมีเครื อข่ายโดยตรง ที่เรี ยกว่า สื่ อเครื อข่าย
            ั
                                                                           ั
สังคม (Social Networking Media) โดยผูใช้จะสามารถหาเพื่อน และ มีปฏิสัมพันธ์กบเพื่อนได้
                                     ้
สะดวกผ่านระบบการให้บริ การต่าง ๆ ที่สนับสนุนทั้งการรายงานข้อความสั้น บทความ ภาพ คลิป
วีดีโอ เกมส์ ฯลฯ แสดงความเห็นแลกเปลี่ยนกันได้สะดวกผ่านระบบการใช้ของ Facebook เองที่ใช้
ง่าย สร้างเป็ นพื้นที่แห่งการแสดงและเผยแพร่ รูปภาพ บทความ และ คลิปวีดีโอมาประกอบการ
แลกเปลี่ยนความเห็นได้ ได้อย่างสะดวก ทั้งยังสามารถใช้เป็ นช่องทางส่ งต่อความคิดเห็นให้
                                                                                ่
แพร่ กระจาย (Viral Communications)ทาให้ในช่วงวิกฤตการณ์ทางการเมือง พ.ศ.2553 ที่ผานมา
Facebook กลายเป็ นสนามรบแห่งการแสดงออกทางความคิดด้านการเมืองอย่างชัดเจนนักการเมือง
และการรายงานข่าวการเมือง กับสื่ อสังคม (Social Media)
             ่
    สรุ ปได้วาอิทธิ พลของสื่ อสื่ อเครื อข่ายสังคมต่อการรายงานข่าวสารนั้น เกิดขึ้นจากลักษณะ
พื้นฐานของสื่ อประเภทนี้เองที่น้ ี สามารถส่ งต่อข้อมูลข่าวสารในแบบทันทีทนใด (Real-time) ทาให้
                                                                        ั
เกิดการรับรู ้ ถกเถียง และแสดงความคิดเห็นในวงเครื อข่ายได้กว้างขวาง ซึ่ งตรงรู ปแบบของผู ้
ให้บริ การสื่ อประเภทนี้จะมีช่องทางในการแสดงความคิดเห็นโต้ตอบกันด้วย อันเป็ นการเปิ ดพื้นที่
ในการแสดงออกทางความคิด และสร้างการรวมกลุ่ม ดังเห็นได้จากปรากฏการณ์ “ม็อบเฟซบุก”
                                                                             ๊
หรื อ “ม็อบออนไลน์” เรื่ องเกี่ยวกับสื่ อสังคม (Social Media) ทั้งหมดในข้างต้นนี้ จะไม่เป็ นการ
เกินไปเลยที่ผเู ้ ขียนจะกล่าวว่า เป็ นเพียงหนึ่งในพันส่ วนของปรากฏการณ์เกี่ยวกับสื่ อสังคม (Social
่
Media) ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและในสังคมโลกช่วง 1-2 ปี ที่ผานมา ซึ่ งหากท่านผูสนใจท่านใด
                                                                            ้
อยากจะรู้จกสื่ อสังคม (Social Media) มากกว่านี้ คงไม่มีวธีใดเหมาะสมไปกว่าการเข้าร่ วมเป็ นส่ วน
          ั                                             ิ
หนึ่งของสื่ อสังคม (Social Media) และสังเกตปรากฏการณ์น้ ีดวยตนเอง
                                                          ้



         2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ทให้ บริการ Social Media
                               ี่




2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
         2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
                 เว็บบล็อกที่เขียนเป็ นบางครั้งเว็บเข้าสู่ ระบบหรื อเว็บบล็อกเป็ น เว็บไซต์ ที่
ประกอบด้วยชุดของรายการในการจัดเรี ยงลาดับมีการปรับปรุ งบ่อยครั้งที่มกมีขอมูลใหม่เกี่ยวกับ
                                                                            ั ้
หัวข้อเฉพาะ เป็ นข้อมูลที่สามารถเขียนโดยเจ้าของเว็บไซต์ gleaned จากเว็บไซต์อื่น ๆ หรื อแหล่ง
อื่น ๆ หรื อผลงานโดยผูใช้
                       ้

 บล็อกมักจะมีคุณภาพของการเป็ นชนิดของ"เข้าสู่ ระบบครั้งของเรา"จากเฉพาะจุดของมุมมอง
                           ั
โดยทัวไปบล็อกจะอุทิศให้กบหนึ่งหรื อหลายวิชาหรื อรู ปแบบปกติของความสนใจเฉพาะและใน
       ่
ทัวไปสามารถคิดของการเป็ นข้อคิดในการพัฒนาบุคคลหรื อส่ วนรวมในรู ปแบบเฉพาะของพวกเขา
  ่
เว็บบล็อกอาจจะประกอบด้วยการบันทึกความคิดของแต่ละบุคคล (การเรี ยงลาดับของไดอารี่ ) หรื อ
จะเป็ นความร่ วมมือที่ซบซ้อน
                       ั
2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก

             บล็อกมีดวยกันหลายชนิด แต่ละชนิดมีขอมูลที่แตกต่างกันไปทั้งผูเ้ ขียนและผูเ้ ข้าชม
                       ้                               ้
โดยบล็อกจะเน้นไปที่เรื่ องต่างๆ เช่น learner blogs, political blogs, travel blogs, fashion blogs,
                                                     ่
project blogs,legal blogs และอื่นๆบล็อกที่เราเห็นอยูในปั จจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ น
                                                               ั
ตัวหนังสื อและรู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้

1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่

1.1. Linklog บล็อกแบบเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ ที่รวมลิ๊งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้วาจะบล็อก
                                                                                       ่
แบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะโพสต์
ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้น

1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะไม่เน้น
เขียนข้อความมากนัก

                                                                                              ่
1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่เรี ยกได้วา
เป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์ เน็ต หรื อ
อินเตอร์เน็ตบอร์ด แบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie



2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่

2.1 บล็อกส่ วนตัว(Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวันของเจ้าของบล็อกเป็ น
หลัก

2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก

2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com

2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ
2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา
สิ่ งแวดล้อม

2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เป็ นบล็อกที่วเิ คราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ เช่น
                                   ั ่
oknation.net/blog/black ของสุ ทธิ ชย หยุน

2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และจอเงิน
เรื่ องซุ บซุ ดารา กองถ่าย ฯลฯ

2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศมักจะใช้
บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน

2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง



3.แบ่งตามรู ปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด

3.1 Filter Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจหรื อ
                                  ู้ ั
เว็บไซต์) โดยปกติมกจะเป็ นข่าว บทความ หรื อความคิดเห็นของบุคคลในวงการที่เผยแพร่ ใน
                      ั
เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรี ยกได้วา เป็ น บล็อก “Bookmark” หรื อ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmarkบล็อก
                                ่
ลักษณะนี้ จะนาเสนอแค่หวข้อเรื่ อง และ URL ของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ บางทีอาจเพิมคาอธิ บายเว็บ
                            ั                                                       ่
เพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้ดวย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็นของผูจดทาบล็อกได้อีก
                    ั         ้                                               ้ั
ด้วย เป็ นเหมือนการกลันกรองข้อมูลให้ทราบว่าเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ใดกาลังได้รับความนิยม ซึ่ งจะ
                        ่
เป็ นการช่วยจัดลาดับความน่าเชื่อถื อของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้เช่นกัน ตัวอย่างบล็อก
                                                              ั
ลักษณะนี้ได้แก่ http://del.icio.us/ เป็ นต้น

3.2 Personal Journal Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอความคิดเห็นหรื อ
                                          ู้ ั
ประสบการณ์ของตนเองผ่านข้อเขียน โดยอาจจะมีภาพประกอบ หรื อมีการเชื่อมโยงออกไปยัง
เว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดูน่าเชื่อถือหรื อมีความน่าสนใจมากยิงขึ้น ซึ่ งบล็อกลักษณะนี้ เป็ น
                        ้                                       ่
บล็อกตามความเข้าใจของบุคคลทัวไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.exteen.comหรื อ
                                     ่
http://www.blogger.com เป็ นต้น
3.3 Photo Blog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บภาพ (ภาพถ่าย, ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่
รายละเอียดของภาพ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บภาพเป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหามากขึ้น
ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.flickr.com เป็ นต้น

3.4 Video Blog หรื อ เรี ยกว่า Vlog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บวีดิทศน์ส่วนตัว สามารถใส่
                                                                   ั
รายละเอียดของวีดิทศน์ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บวีดิทศน์เป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหา
                    ั                                         ั
มากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.aolvideoblog.com เป็ นต้น

3.5 บล็อกผสม มีลกษณะเป็ นบล็อกที่สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บรู ปภาพ เก็บ
                       ั
เพลง เก็บวีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรื อบันทึกประจาวัน และใส่ ปฏิทินรายการงานที่ตองทา ฯลฯ
                                                                                           ้
ได้ดวย ปั จจุบนเป็ นบริ การที่ได้รับความนิยมสู งมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรี ยกว่า Social Network
     ้             ั
Service ซึ่ งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิกแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยงมี    ั
จุดประสงค์หลักเพื่อการค้นหาและสะสมเพื่อนจากทัวโลก ตัวอย่าง Social NetworkingWebsites ซึ่ง
                                                       ่
ให้บริ การลักษณะนี้ ได้แก่ http://hi5.com หรื อ http://multiply.com หรื อhttp://spaces.live.com เป็ น
ต้น (ซึ่ งปั จจุบน คาว่า blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็ นแค่ส่วนที่ใช้เขียน
                 ั
ข้อความเช่นบันทึกประจาวันแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คาว่า journal แทนคาว่า blog
                                                                             ่
ด้วย แต่เนื่องจากบริ การนี้ เป็ นการรวมเอาบล็อกลักษณะต่าง ๆที่เคยมี มาอยูในที่เดียว ทาให้
ผูใช้งานได้รับความสะดวกสบายมากยิงขึ้น เพราะเพียงแค่เปิ ดใช้บริ การที่เดียว ก็ได้ใช้บริ การ
  ้                                      ่
ครบถ้วน ไม่ตองเสี ยเวลาไปสมัครใช้งานจาก เว็บไซต์หลายที่ให้จดจายากอีกด้วย)
                     ้




        2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก
                        ี่

                 www.blogger.com

www.exteen.com
www.mapandy.com

www.buddythai.com

www.imigg.com

www.5iam.com

www.blogprathai.com

www.ndesignsblog.com

www.idatablog.com

www.inewblog.com

www.onblogme.com

www.freeseoblogs.com

www.sumhua.com

www.diaryi.net

www.istoreblog.com

www.skypream.com

www.thailandspace.com

www.sungson.com

www.gujaba.com

www.sabuyblog.com
www.ugetblog.com

www.jaideespace.com

www.maxsiteth.com

www.my2blog.com




       2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress
       เว็บไซต์น้ ี จะแนะนาถึงวิธี การใช้ WordPress ตั้งแต่พ้ืนฐานเริ่ มต้น ไปจนถึงการเพิ่ม
เทคนิคลูกเล่นต่าง ๆ แต่ก่อนที่จะไปเรี ยนรู ้กน เราควรมารู ้จกก่อนว่า WordPress คือ อะไร
                                             ั              ั

WordPress คือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้าง บล็อก หรื อ เว็บไซต์ สามารถใช้
                      ่
งานได้ฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรม
สาเร็ จรู ปที่มีไว้สาหรับสร้างและบริ หารจัดการเนื้อหาและข้อมูลบนเว็บไซต์

WordPress ได้รับการพัฒนาและเขียนชุดคาสั่งมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง )
ทางานบนฐานข้อมูล MySQL ซึ่ งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรี ยกดู แก้ไข
                                                       ่
เพิ่มและลบข้อมูล การใช้งาน WordPress ร่ วมกับ MySQL อยูภายใต้สัญญาอนุญาตใช้งานแบบ
GNU General Public License

WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกันระหว่าง Matt
                                              ่
Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริ การ Free
Hosting (พื้นที่สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริ การได้ที่ http://wordpress.com
ปั จจุบนนี้ WordPress ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนมีผใช้งานมากกว่า 200 ล้านเว็บ
       ั                                                           ู้
                                              ่
บล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ ไม่วาจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเป็ นเพราะ
ใช้งานง่าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ในเรื่ อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผพฒนา
                                                                                       ู้ ั
Theme (รู ปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริ ม) ให้เลือกใช้ฟรี อย่างมากมาย

นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็ นไกด์ไลน์ เพื่อศึกษา
                              ่
องค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยูภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรื อ นาไปสร้าง Theme และ Plugins
ขึ้นมาเองได้อีกด้วย หนาซ้ า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ WordPress MU สาหรับไว้ให้ผนาไปใช้ สามารถเปิ ด
                                                                            ู้
ให้บริ การพื้นที่ทาเว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพื่อให้ผอื่นมาสมัครขอร่ วมใช้บริ การในการสร้างเว็บ
                                                   ู้
บล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรื อที่เรี ยกว่า Sub-Domain

จากที่ได้เกริ่ นนาไปในบทความนี้ คงจะทาให้รู้จก และได้ทราบประวัติความเป็ นมา รวมถึง
                                             ั
ความหมายกันไปบ้างแล้วว่า WordPress คือ อะไร ในบทความหน้า เราจะได้เริ่ มเรี ยนรู ้ถึงรู ปแบบ
และวิธีการใช้งาน ไปจนถึงการเพิ่มลูกเล่นต่าง ๆ ต่อไป

More Related Content

What's hot (7)

Social network
Social networkSocial network
Social network
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Aw22
Aw22Aw22
Aw22
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

Viewers also liked

Of mice and men2
Of mice and men2Of mice and men2
Of mice and men2NShuttle
 
Kauppi: Mielikuvituksen ja fantasioiden merkitys nuorten mielenterveydessä ja...
Kauppi: Mielikuvituksen ja fantasioiden merkitys nuorten mielenterveydessä ja...Kauppi: Mielikuvituksen ja fantasioiden merkitys nuorten mielenterveydessä ja...
Kauppi: Mielikuvituksen ja fantasioiden merkitys nuorten mielenterveydessä ja...Kouluterveyskysely
 
Borobudur
BorobudurBorobudur
BorobudurEma Aja
 
Edtc 6340-66 copyright crash course alberto tudon
Edtc 6340-66 copyright crash course  alberto tudonEdtc 6340-66 copyright crash course  alberto tudon
Edtc 6340-66 copyright crash course alberto tudonalbertotudon
 
Dallas 2012 Trailer Analysis
Dallas 2012 Trailer AnalysisDallas 2012 Trailer Analysis
Dallas 2012 Trailer AnalysisSammi Wilde
 
Pro bono 101 for Organizations
Pro bono 101 for OrganizationsPro bono 101 for Organizations
Pro bono 101 for OrganizationsCatchafire
 
Salomäki: Nuorisokulttuuri nyt! Tupakka ja päihteet nuorten maailmassa
Salomäki: Nuorisokulttuuri nyt! Tupakka ja päihteet nuorten maailmassaSalomäki: Nuorisokulttuuri nyt! Tupakka ja päihteet nuorten maailmassa
Salomäki: Nuorisokulttuuri nyt! Tupakka ja päihteet nuorten maailmassaKouluterveyskysely
 
Программа развития жилищного строительства на 2012–2016 годы
Программа развития жилищного строительства на 2012–2016 годыПрограмма развития жилищного строительства на 2012–2016 годы
Программа развития жилищного строительства на 2012–2016 годыАО "Самрук-Казына"
 
Cross country pp.pptxwalter
Cross country pp.pptxwalterCross country pp.pptxwalter
Cross country pp.pptxwalterlesleymccardle
 
Gemaco Kerstfolder 2011
Gemaco Kerstfolder 2011Gemaco Kerstfolder 2011
Gemaco Kerstfolder 2011Tom Vandeneede
 
Working Progress Evidence Final
Working Progress Evidence FinalWorking Progress Evidence Final
Working Progress Evidence Finalaq101824
 
17th & 18th Centuries
17th & 18th Centuries17th & 18th Centuries
17th & 18th Centuriesms_faris
 
Year 7 websites evaluation
Year 7 websites evaluationYear 7 websites evaluation
Year 7 websites evaluationfrances20
 
философия возраста
философия возрастафилософия возраста
философия возрастаsoratniki
 

Viewers also liked (20)

Of mice and men2
Of mice and men2Of mice and men2
Of mice and men2
 
Imac all in one
Imac all in oneImac all in one
Imac all in one
 
Kauppi: Mielikuvituksen ja fantasioiden merkitys nuorten mielenterveydessä ja...
Kauppi: Mielikuvituksen ja fantasioiden merkitys nuorten mielenterveydessä ja...Kauppi: Mielikuvituksen ja fantasioiden merkitys nuorten mielenterveydessä ja...
Kauppi: Mielikuvituksen ja fantasioiden merkitys nuorten mielenterveydessä ja...
 
P y a
P y aP y a
P y a
 
Borobudur
BorobudurBorobudur
Borobudur
 
Edtc 6340-66 copyright crash course alberto tudon
Edtc 6340-66 copyright crash course  alberto tudonEdtc 6340-66 copyright crash course  alberto tudon
Edtc 6340-66 copyright crash course alberto tudon
 
Dallas 2012 Trailer Analysis
Dallas 2012 Trailer AnalysisDallas 2012 Trailer Analysis
Dallas 2012 Trailer Analysis
 
Pro bono 101 for Organizations
Pro bono 101 for OrganizationsPro bono 101 for Organizations
Pro bono 101 for Organizations
 
Solar is the solution!
Solar is the solution!Solar is the solution!
Solar is the solution!
 
Speeches
SpeechesSpeeches
Speeches
 
Irregular verbs
Irregular verbsIrregular verbs
Irregular verbs
 
Salomäki: Nuorisokulttuuri nyt! Tupakka ja päihteet nuorten maailmassa
Salomäki: Nuorisokulttuuri nyt! Tupakka ja päihteet nuorten maailmassaSalomäki: Nuorisokulttuuri nyt! Tupakka ja päihteet nuorten maailmassa
Salomäki: Nuorisokulttuuri nyt! Tupakka ja päihteet nuorten maailmassa
 
Marketing Help
Marketing HelpMarketing Help
Marketing Help
 
Программа развития жилищного строительства на 2012–2016 годы
Программа развития жилищного строительства на 2012–2016 годыПрограмма развития жилищного строительства на 2012–2016 годы
Программа развития жилищного строительства на 2012–2016 годы
 
Cross country pp.pptxwalter
Cross country pp.pptxwalterCross country pp.pptxwalter
Cross country pp.pptxwalter
 
Gemaco Kerstfolder 2011
Gemaco Kerstfolder 2011Gemaco Kerstfolder 2011
Gemaco Kerstfolder 2011
 
Working Progress Evidence Final
Working Progress Evidence FinalWorking Progress Evidence Final
Working Progress Evidence Final
 
17th & 18th Centuries
17th & 18th Centuries17th & 18th Centuries
17th & 18th Centuries
 
Year 7 websites evaluation
Year 7 websites evaluationYear 7 websites evaluation
Year 7 websites evaluation
 
философия возраста
философия возрастафилософия возраста
философия возраста
 

Similar to บทที่ 22

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTangkwa Tom
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teerarat55
 

Similar to บทที่ 22 (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
3 32222
3 322223 32222
3 32222
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
2
22
2
 

More from อติมา อุ่นจิตร

More from อติมา อุ่นจิตร (19)

บรรณานุกรม1
บรรณานุกรม1บรรณานุกรม1
บรรณานุกรม1
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
ส่วนนำ
ส่วนนำส่วนนำ
ส่วนนำ
 
หน้าปก12
หน้าปก12หน้าปก12
หน้าปก12
 
บทที่ 44
บทที่ 44บทที่ 44
บทที่ 44
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
แบบเสนอดครงงาน
แบบเสนอดครงงานแบบเสนอดครงงาน
แบบเสนอดครงงาน
 
อติมา อุ่นจิตร
อติมา  อุ่นจิตรอติมา  อุ่นจิตร
อติมา อุ่นจิตร
 

บทที่ 22

  • 1. บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง เทคโนโลยี 4G ( Forth Generation ) ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ้ั 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่ าง ่ มาก ตัวอย่างเช่น 1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษา ง่ายขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย ั 2. การดารงชีวตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ ิ เกิดขึ้นในชีวตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง ิ 3. การดาเนินธุ รกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุ รกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ ้ ่ ทันกับข้อมูลข่าวสารอยูตลอดเวลา อันส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง 4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่ อสารที่เจริ ญก้าวหน้า ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้องและ ทาให้ เป็ นโลกที่ไร้พรหรมแดน
  • 2. 5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์ มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่ ได ้้ก็ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยทางานแทนซึ่งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว 2.2 ข้ อมูลเกียวกับสื่ อสั งคม Social Media ่ 2.2.1 ความหมายของ Social Media SMO คือ แนวทางเกี่ยวกับ social media ที่ต้ งใจจะดึงดูดความสนใจผูที่มาชมเว็บไซต์ ไม่วาจะ ั ้ ่ ั เป็ นการไป Bookmark เอาไว้, Share Link หรื อว่าส่ งลิงค์ให้กบเพื่อนๆ, การเพิ่ม RSS Feeds การเข้า ไปคอมเม้นต์ในบล็อกของคนอื่นๆ หรื อว่า เขียนบทความในบล็อกต่างๆ ของตัวเอง (ทั้ งสิ่ งที่เห็น ด้วย หรื อไม่เห็นด้วย) เพื่อที่จะนาไปต่อยอดทางความคิด จากบทความของเรา โดยที่คนเขียน บทความต่างๆ ในกลุ่มพวกนี้ ก็มกจะมีพวกแฟนพันธุ์แท้ หรื อที่เรี ยกว่า Followers ที่มกจะเข้ามา ั ั ตามอ่านบทความในสิ่ งที่คนเหล่านี้เขียนถึงอยูเ่ สมอๆ ทาให้เว็บไซต์ของเรา สร้างลิงค์เชื่อมกับ Social network ได้ง่ายขึ้น, ถูกค้นเจอง่ายขึ้นใน Search engine ที่เจาะจงใช้เพื่อค้นหา Social media (เช่น Technorati) และเพื่อให้บล็อกเกอร์ อื่นๆ อ้างถึงบ่อยขึ้นในบล็อก, พอดคาสท์ หรื อ วิดีโอบล็อก ่ (vlogs) ของเขา เพราะฉะนั้นจะเห็นได้วา บทความหรื อว่าเรื่ องที่จะเขียนถึง นั้น ถือว่าเป็ น ส่ วนประกอบที่สาคัญมากที่สุดในเรื่ องของ SMO 2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media สื่ อ Social Media ที่นิยมใช้หลัก ๆ ในประเทศไทย แบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มหลัก ๆ คือ 1.กลุ่มเว็บไซต์เพื่อการสื่ อสารแบบเครื อข่ายโดยตรง ที่เรี ยกว่า สื่ อเครื อข่ายสังคม (Social Networking Media) เช่น Facebook, Windows Live Spaces, Hi5 2.กลุ่มเว็บไซต์แสดงข้อความ(Blogs) ที่เป็ นเว็บไซต์บทความทัวไปที่มีการโต้ตอบ แลกเปลี่ยนให้ ่ ความเห็นกันได้ เช่น Blogger, WordPress และมีกลุ่มเว็บไซต์ประเภทนี้ แต่แตกเป็ นประเภทย่อย ๆ แยกออกมาเช่น เว็บไซต์แสดงข้อความสั้น (Micro-blogging) อย่าง Twitter 3.กลุ่มเว็บไซต์มลติมีเดียที่มีภาพ เสี ยง คลิป ไฟล์ต่าง ๆ ขึ้น Upload และแบ่งปั นกัน (Share) เช่น ั YouTube, slideshare, Flickr, Photobucket, Picasa
  • 3. 4.กลุ่มเว็บไซต์เพื่อความร่ วมมือเฉพาะแบบ เช่น สารานุกรมออนไลน์ Wikipedia ซึ่ งในปี นี้ (2553) ทั้ง Facebook และ Twitter ได้เข้ามาแทนที่ผให้บริ การสื่ อสังคม (Social Media) ู้ ่ เดิมอย่าง Windows Live Spaces และ Hi5 ที่ได้รับการพูดถึงน้อยลงในช่วงปี ที่ผานมา โดย ู้ ่ ่ Facebook มีผใช้บริ การ (Registered Users) ทัวโลกอยูที่ประมาณ 400 ล้านคน และ Twitter มี ผูใช้บริ การทัวโลกอยูที่ประมาณ 75 ล้านคน ส่ วน Windows Live Spaces ที่มีค่าย Software ใหญ่ ้ ่ ่ อย่าง Microsoft เป็ นเจ้าของหนุนหลังแต่ก็มีผใช้บริ การทัวโลกอยูที่ประมาณ 120 ล้านคน ซึ่ งถือว่า ู้ ่ ่ น้อยกว่า Facebook เป็ นอย่างมากTwitter ตัวจริ งเรื่ องข้อความสั้น (Micro-blogging) Twitter เป็ น เว็บไซต์สื่อสังคม (Social Media) ที่มีลกษณะใช้รูปแบบการให้บริ การเผยแพร่ ขอความสั้น (Micro- ั ้ blogging) ผสมผสานกับการทาเป็ นสื่ อเครื อข่ายสังคม (Social Networking Media) บางส่ วนโดยผูที่ ้ เผยแพร่ ขอความเองก็สามารถเลือกติดตามผูที่เผยแพร่ ขอความคนอื่น ๆ ได้ดวย โดยผูใช้ Twitter จะ ้ ้ ้ ้ ้ เรี ยกผูติดตามว่า Follower Twitter มีลกษณะการนาเสนอข้อความแบบข้อความสั้น ๆ โดยผูใช้จะถูก ้ ั ้ กาหนดให้สามารถพิมพ์ขอความนาเสนอได้ครั้งละเพียง 140 ตัวอักขระ ซึ่ งคุณลักษณะนี้กลับทาให้ ้ Twitter เองเป็ นที่นิยมมาก จากกระแสการนิยมเข้าถึงสื่ อสังคม (Social Media) ผ่านระบบ โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ (Smartphone) เพราะด้วยข้อความที่ส้ ันและไม่มีการแสดงรู ปภาพหรื อ ไอคอนภาพนิ่งหรื อเคลื่อนไหว ทาให้สะดวกต่อการโหลดข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์ให้รวดเร็ ว อีก ่ ่ ทั้งการใช้ผานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ยงไม่ได้ผานการต่อผ่านเว็บไซต์ตรง แต่เป็ นการต่อ ั ผ่าน Application ที่ทาไว้โดยเฉพาะอีกด้วย ทั้งนี้จากสถิติที่รวบรวมโดยนิตยสาร Positioning เดือนมิถุนายน 2553 รายงานว่า ผูใช้ Twitter ้ ผ่านโทรศัพท์มือถือ ( Smart Phone ) ทัวโลกมี 37% ในขณะที่คนไทยมีสดส่ วนการใช้ Twitter ผ่าน ่ ั ่ โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ (Smartphone) สู งถึง 60% จากสถิติน้ ีเห็นได้วา ความนิยมใน Twitter ของคนไทยมีอตราที่สูงมากเมื่อเทียบกับชาติอื่น ๆ ซึ่ งอาจจะเป็ นเพราะประเทศไทยมีผใช้ ั ู้ โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ (Smartphone) เป็ นจานวนมากก็เป็ นได้ (โทรศัพท์เคลื่อนที่สมัยใหม่ ที่ นิยมในประเทศไทย คือโทรศัพท์ BB BlackBerry และโทรศัพท์ iPhone) เนื่องจาก Twitter เป็ นการแสดงข้อความสั้นเป็ นหลักเพียงอย่างเดียว จึงได้มีการใส่ คาสั้น เพื่อ แสดงและค้นหากลุ่ม ด้วยรู ปแบบพิเศษขึ้นมา ที่เรี ยกว่า “การใส่ คาสั้นๆ เพื่อบ่งชี้ประเด็น” หรื อที่ เรี ยกว่า “Tag” หรื อ “Hash Tag” โดยการใส่ คาสั้นประเภทนี้เปรี ยบเสมือนหัวเรื่ องที่ทาให้สังเกตง่าย
  • 4. และ สามารถใช้การค้นหาได้ง่ายขึ้น ซึ่ งมีผรวบรวมสถิติคายอดนิยม “Tag” ในแต่ละวันที่ใช้ใน ู้ ประเทศไทยเอาไว้ที่เว็บไซต์http://www.lab.in.th/thaitrend/ โดยสามารถใช้ศึกษาถึงประเด็นยอด นิยมของคนที่ใช้สื่อเครื อข่ายสังคม Twitter ในแต่ละวันได้ดวยเช่นกัน ซึ่ งแน่นอนว่าในช่วง ้ ่ วิกฤตการณ์ทางการเมือง พ.ศ.2553 ที่ผานมา คาสั้นยอดนิยมอย่าง “เสื้ อแดง” “เสื้ อหลากสี ” “เรารัก ในหลวง” ก็ถูกใช้อยูตลอดเป็ นอันดับต้นๆFacebook หนังสื อรุ่ น ที่ไม่ใช่แค่หนังสื อรุ่ นอีกต่อไป ่ Facebook มีจุดกาเนิดมาจากการที่ Mark Zuckerberg นักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) ในประเทศสหรัฐอเมริ กาและกลุ่มเพื่อนได้พฒนาเว็บไซต์ที่ให้บริ การเครื อข่ายเพื่อน ั ขึ้นมา โดยมีจุดมุ่งหมายแรกจะให้เป็ นเสมือนหนังสื อรุ่ น (Facebook) ซึ่ งต่อมาได้แพร่ หลายไปยัง โรงเรี ยนและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จนต่อมาก็เปิ ดให้บุคคลทัวไป กิจการธุ รกิจ นักการเมือง กลุ่มผูมี ่ ้ ความนิยมในเรื่ องเดียวกัน ใช้ได้อย่างอิสระ Facebook มีลกษณะที่เป็ นเว็บไซต์เพื่อการสื่ อสารแบบมีเครื อข่ายโดยตรง ที่เรี ยกว่า สื่ อเครื อข่าย ั ั สังคม (Social Networking Media) โดยผูใช้จะสามารถหาเพื่อน และ มีปฏิสัมพันธ์กบเพื่อนได้ ้ สะดวกผ่านระบบการให้บริ การต่าง ๆ ที่สนับสนุนทั้งการรายงานข้อความสั้น บทความ ภาพ คลิป วีดีโอ เกมส์ ฯลฯ แสดงความเห็นแลกเปลี่ยนกันได้สะดวกผ่านระบบการใช้ของ Facebook เองที่ใช้ ง่าย สร้างเป็ นพื้นที่แห่งการแสดงและเผยแพร่ รูปภาพ บทความ และ คลิปวีดีโอมาประกอบการ แลกเปลี่ยนความเห็นได้ ได้อย่างสะดวก ทั้งยังสามารถใช้เป็ นช่องทางส่ งต่อความคิดเห็นให้ ่ แพร่ กระจาย (Viral Communications)ทาให้ในช่วงวิกฤตการณ์ทางการเมือง พ.ศ.2553 ที่ผานมา Facebook กลายเป็ นสนามรบแห่งการแสดงออกทางความคิดด้านการเมืองอย่างชัดเจนนักการเมือง และการรายงานข่าวการเมือง กับสื่ อสังคม (Social Media) ่ สรุ ปได้วาอิทธิ พลของสื่ อสื่ อเครื อข่ายสังคมต่อการรายงานข่าวสารนั้น เกิดขึ้นจากลักษณะ พื้นฐานของสื่ อประเภทนี้เองที่น้ ี สามารถส่ งต่อข้อมูลข่าวสารในแบบทันทีทนใด (Real-time) ทาให้ ั เกิดการรับรู ้ ถกเถียง และแสดงความคิดเห็นในวงเครื อข่ายได้กว้างขวาง ซึ่ งตรงรู ปแบบของผู ้ ให้บริ การสื่ อประเภทนี้จะมีช่องทางในการแสดงความคิดเห็นโต้ตอบกันด้วย อันเป็ นการเปิ ดพื้นที่ ในการแสดงออกทางความคิด และสร้างการรวมกลุ่ม ดังเห็นได้จากปรากฏการณ์ “ม็อบเฟซบุก” ๊ หรื อ “ม็อบออนไลน์” เรื่ องเกี่ยวกับสื่ อสังคม (Social Media) ทั้งหมดในข้างต้นนี้ จะไม่เป็ นการ เกินไปเลยที่ผเู ้ ขียนจะกล่าวว่า เป็ นเพียงหนึ่งในพันส่ วนของปรากฏการณ์เกี่ยวกับสื่ อสังคม (Social
  • 5. ่ Media) ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและในสังคมโลกช่วง 1-2 ปี ที่ผานมา ซึ่ งหากท่านผูสนใจท่านใด ้ อยากจะรู้จกสื่ อสังคม (Social Media) มากกว่านี้ คงไม่มีวธีใดเหมาะสมไปกว่าการเข้าร่ วมเป็ นส่ วน ั ิ หนึ่งของสื่ อสังคม (Social Media) และสังเกตปรากฏการณ์น้ ีดวยตนเอง ้ 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ทให้ บริการ Social Media ี่ 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) เว็บบล็อกที่เขียนเป็ นบางครั้งเว็บเข้าสู่ ระบบหรื อเว็บบล็อกเป็ น เว็บไซต์ ที่ ประกอบด้วยชุดของรายการในการจัดเรี ยงลาดับมีการปรับปรุ งบ่อยครั้งที่มกมีขอมูลใหม่เกี่ยวกับ ั ้ หัวข้อเฉพาะ เป็ นข้อมูลที่สามารถเขียนโดยเจ้าของเว็บไซต์ gleaned จากเว็บไซต์อื่น ๆ หรื อแหล่ง อื่น ๆ หรื อผลงานโดยผูใช้ ้ บล็อกมักจะมีคุณภาพของการเป็ นชนิดของ"เข้าสู่ ระบบครั้งของเรา"จากเฉพาะจุดของมุมมอง ั โดยทัวไปบล็อกจะอุทิศให้กบหนึ่งหรื อหลายวิชาหรื อรู ปแบบปกติของความสนใจเฉพาะและใน ่ ทัวไปสามารถคิดของการเป็ นข้อคิดในการพัฒนาบุคคลหรื อส่ วนรวมในรู ปแบบเฉพาะของพวกเขา ่ เว็บบล็อกอาจจะประกอบด้วยการบันทึกความคิดของแต่ละบุคคล (การเรี ยงลาดับของไดอารี่ ) หรื อ จะเป็ นความร่ วมมือที่ซบซ้อน ั
  • 6. 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก บล็อกมีดวยกันหลายชนิด แต่ละชนิดมีขอมูลที่แตกต่างกันไปทั้งผูเ้ ขียนและผูเ้ ข้าชม ้ ้ โดยบล็อกจะเน้นไปที่เรื่ องต่างๆ เช่น learner blogs, political blogs, travel blogs, fashion blogs, ่ project blogs,legal blogs และอื่นๆบล็อกที่เราเห็นอยูในปั จจุบนนี้ ใช่มีเพียงแค่บล็อกที่เป็ น ั ตัวหนังสื อและรู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้ 1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่ 1.1. Linklog บล็อกแบบเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ ที่รวมลิ๊งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้วาจะบล็อก ่ แบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะโพสต์ ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้น 1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะไม่เน้น เขียนข้อความมากนัก ่ 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่เรี ยกได้วา เป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์ เน็ต หรื อ อินเตอร์เน็ตบอร์ด แบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสี ยง ภาพเคลื่อนไหว movie 2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่ 2.1 บล็อกส่ วนตัว(Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวันของเจ้าของบล็อกเป็ น หลัก 2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก 2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com 2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ
  • 7. 2.5 บล็อกเพื่อสิ่ งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา สิ่ งแวดล้อม 2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เป็ นบล็อกที่วเิ คราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่ งที่เกี่ยวกับสื่ อ เช่น ั ่ oknation.net/blog/black ของสุ ทธิ ชย หยุน 2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และจอเงิน เรื่ องซุ บซุ ดารา กองถ่าย ฯลฯ 2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศมักจะใช้ บล็อกเป็ นสื่ อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน 2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง 3.แบ่งตามรู ปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด 3.1 Filter Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจหรื อ ู้ ั เว็บไซต์) โดยปกติมกจะเป็ นข่าว บทความ หรื อความคิดเห็นของบุคคลในวงการที่เผยแพร่ ใน ั เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรี ยกได้วา เป็ น บล็อก “Bookmark” หรื อ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmarkบล็อก ่ ลักษณะนี้ จะนาเสนอแค่หวข้อเรื่ อง และ URL ของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ บางทีอาจเพิมคาอธิ บายเว็บ ั ่ เพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้ดวย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็นของผูจดทาบล็อกได้อีก ั ้ ้ั ด้วย เป็ นเหมือนการกลันกรองข้อมูลให้ทราบว่าเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ใดกาลังได้รับความนิยม ซึ่ งจะ ่ เป็ นการช่วยจัดลาดับความน่าเชื่อถื อของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้เช่นกัน ตัวอย่างบล็อก ั ลักษณะนี้ได้แก่ http://del.icio.us/ เป็ นต้น 3.2 Personal Journal Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอความคิดเห็นหรื อ ู้ ั ประสบการณ์ของตนเองผ่านข้อเขียน โดยอาจจะมีภาพประกอบ หรื อมีการเชื่อมโยงออกไปยัง เว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดูน่าเชื่อถือหรื อมีความน่าสนใจมากยิงขึ้น ซึ่ งบล็อกลักษณะนี้ เป็ น ้ ่ บล็อกตามความเข้าใจของบุคคลทัวไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.exteen.comหรื อ ่ http://www.blogger.com เป็ นต้น
  • 8. 3.3 Photo Blog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บภาพ (ภาพถ่าย, ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่ รายละเอียดของภาพ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บภาพเป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหามากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.flickr.com เป็ นต้น 3.4 Video Blog หรื อ เรี ยกว่า Vlog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บวีดิทศน์ส่วนตัว สามารถใส่ ั รายละเอียดของวีดิทศน์ ใส่ คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บวีดิทศน์เป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหา ั ั มากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.aolvideoblog.com เป็ นต้น 3.5 บล็อกผสม มีลกษณะเป็ นบล็อกที่สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บรู ปภาพ เก็บ ั เพลง เก็บวีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรื อบันทึกประจาวัน และใส่ ปฏิทินรายการงานที่ตองทา ฯลฯ ้ ได้ดวย ปั จจุบนเป็ นบริ การที่ได้รับความนิยมสู งมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรี ยกว่า Social Network ้ ั Service ซึ่ งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิกแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยงมี ั จุดประสงค์หลักเพื่อการค้นหาและสะสมเพื่อนจากทัวโลก ตัวอย่าง Social NetworkingWebsites ซึ่ง ่ ให้บริ การลักษณะนี้ ได้แก่ http://hi5.com หรื อ http://multiply.com หรื อhttp://spaces.live.com เป็ น ต้น (ซึ่ งปั จจุบน คาว่า blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็ นแค่ส่วนที่ใช้เขียน ั ข้อความเช่นบันทึกประจาวันแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คาว่า journal แทนคาว่า blog ่ ด้วย แต่เนื่องจากบริ การนี้ เป็ นการรวมเอาบล็อกลักษณะต่าง ๆที่เคยมี มาอยูในที่เดียว ทาให้ ผูใช้งานได้รับความสะดวกสบายมากยิงขึ้น เพราะเพียงแค่เปิ ดใช้บริ การที่เดียว ก็ได้ใช้บริ การ ้ ่ ครบถ้วน ไม่ตองเสี ยเวลาไปสมัครใช้งานจาก เว็บไซต์หลายที่ให้จดจายากอีกด้วย) ้ 2.3.3 เว็บไซต์ ทให้ บริการเว็บบล็อก ี่ www.blogger.com www.exteen.com
  • 10. www.ugetblog.com www.jaideespace.com www.maxsiteth.com www.my2blog.com 2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress เว็บไซต์น้ ี จะแนะนาถึงวิธี การใช้ WordPress ตั้งแต่พ้ืนฐานเริ่ มต้น ไปจนถึงการเพิ่ม เทคนิคลูกเล่นต่าง ๆ แต่ก่อนที่จะไปเรี ยนรู ้กน เราควรมารู ้จกก่อนว่า WordPress คือ อะไร ั ั WordPress คือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้าง บล็อก หรื อ เว็บไซต์ สามารถใช้ ่ งานได้ฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรม สาเร็ จรู ปที่มีไว้สาหรับสร้างและบริ หารจัดการเนื้อหาและข้อมูลบนเว็บไซต์ WordPress ได้รับการพัฒนาและเขียนชุดคาสั่งมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง ) ทางานบนฐานข้อมูล MySQL ซึ่ งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่เก็บ เรี ยกดู แก้ไข ่ เพิ่มและลบข้อมูล การใช้งาน WordPress ร่ วมกับ MySQL อยูภายใต้สัญญาอนุญาตใช้งานแบบ GNU General Public License WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกันระหว่าง Matt ่ Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริ การ Free Hosting (พื้นที่สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้บริ การได้ที่ http://wordpress.com
  • 11. ปั จจุบนนี้ WordPress ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนมีผใช้งานมากกว่า 200 ล้านเว็บ ั ู้ ่ บล็อกไปแล้ว แซงหน้า CMS ตัวอื่น ๆ ไม่วาจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเป็ นเพราะ ใช้งานง่าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู ้ในเรื่ อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผพฒนา ู้ ั Theme (รู ปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริ ม) ให้เลือกใช้ฟรี อย่างมากมาย นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไว้ให้เราได้เป็ นไกด์ไลน์ เพื่อศึกษา ่ องค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยูภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรื อ นาไปสร้าง Theme และ Plugins ขึ้นมาเองได้อีกด้วย หนาซ้ า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ WordPress MU สาหรับไว้ให้ผนาไปใช้ สามารถเปิ ด ู้ ให้บริ การพื้นที่ทาเว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพื่อให้ผอื่นมาสมัครขอร่ วมใช้บริ การในการสร้างเว็บ ู้ บล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรื อที่เรี ยกว่า Sub-Domain จากที่ได้เกริ่ นนาไปในบทความนี้ คงจะทาให้รู้จก และได้ทราบประวัติความเป็ นมา รวมถึง ั ความหมายกันไปบ้างแล้วว่า WordPress คือ อะไร ในบทความหน้า เราจะได้เริ่ มเรี ยนรู ้ถึงรู ปแบบ และวิธีการใช้งาน ไปจนถึงการเพิ่มลูกเล่นต่าง ๆ ต่อไป