SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : รอบรู้เรื่องฮอร์โมน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : The Story of Hormones
ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นาย เฉลิมราช สิมะวงศ์ เลขที่ 14
2 นางสาว นับดาว วงค์จันทร์แสง เลขที่ 40
ชื่อคุณครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
Colosse
um
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ฮอร์โมนทำหน้ำที่ด้ำนกำรควบคุมในร่ำงกำยมนุษย์ ฮอร์โมนอยู่ที่ระดับสูงสุด
ระหว่ำงปีวัยรุ่นของเรำแล้วเริ่มลดลงเมื่ออำยุ 20 ปีของเรำ เมื่ออำยุ 40 ปีระดับฮอร์โมน
ของคุณจะลดลงแล้ว 30-40% เพรำะฮอร์โมนควบคุมกลไกต่ำง ๆ มำกมำย ดังนั้นกำร
ลดลงของฮอร์โมนย่อมส่งผลกระทบต่อระบบร่ำงกำย เมื่อร่ำงกำยไม่สำมำรถ
สังเครำะห์ใหม่ได้ สิ่งที่มำมำคือกำรเสื่อมสภำพจะเริ่มขึ้นริ้วรอย,ปวดกล้ำมเนื้อ,ควำม
หนำแน่นของกระดูกลดลง,อื่น ๆซึ่งทั้งมำจำกสำเหตุที่ร่ำงกำยไม่สำมำรถสังเครำะห์
ฮอร์โมนขึ้นมำใหม่ฮอร์โมนเจริญวัยหรือโกรทฮอร์โมนสังเครำะห์มำจำกต่อมใต้สมอง พิ
ตูอิตำรี่ จำกโปรตีนที่มีกรดอะมิโน 191 โมเลกุลเพื่อ ควบคุมกำรเจริญเติบโตและ
ควบคุมกำรทำงำนของเซลล์และเนื่องจำกในบทเรียนวิชำชีววิทยำของนักเรียนระดับชั้น
ม.ปลำยมีกำรเรียนกำรสอนในเรื่องของฮอร์โมนซึ่งเป็นสำรเคมีที่สำคัญในร่ำงกำย ทำง
ผู้จัดทำให้ควำมสนใจในกำรศึกษำเรื่องฮอร์โมนเป็นพิเศษจึงจัดทำโครงงำนเรื่องนี้
ขึ้นมำเพื่อเป็นสื่อในกำรศึกษำค้นคว้ำของผู้ที่สนใจในเรื่องนี้นำไปศึกษำต่อไป
ฮอร์โมน
ฮอร์โมน คือ คือ ตัวนำส่งสำรเคมีจำกเซลล์กลุ่มของเซลล์หนึ่งไปยังเซลล์อื่น ๆ
สิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ ทั้งพืชและสัตว์ สำมำรถผลิตฮอร์โมนได้ที่ ต่อมไร้ท่อ โมเลกุลของ
ฮอร์โมนจะถูกปล่อยโดยตรงยังกระแสเลือด ของเหลวในร่ำงกำยอื่นๆ หรือเนื้อเยื้อ
ใกล้เคียง
กำรทำงำนของอวัยวะส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย มีกำรประสำนงำนร่วมกันอย่ำง
กลมกลืน โดยตัวที่มีหน้ำที่สำคัญในงำนนี้คือ เส้นประสำท และฮอร์โมน หน้ำที่หนึ่งของ
ฮอร์โมน คือกำรทำหน้ำที่เช่นเดียวกับเป็นแม่บ้ำน คอยดูแลตรวจตรำให้แน่ใจว่ำ
ส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยทำหน้ำที่ได้เป็นปกติ ในขณะที่เรำพบปะเจอะเจอกับสิ่งใหม่ๆ
โดยไม่คำดคิดหรือเกิดควำมรู้สึกเครียด หรือเมื่ออยู่ในสถำนกำรณ์คับขัน ฮอร์โมนเป็น
ตัวที่สำคัญในกำรสร้ำงปฏิกิริยำตอบโต้กับสถำนกำรณ์คับขันเหล่ำนั้น โดยที่ข้อมูล
เกี่ยวกับสถำนกำรณ์นั้นๆ จะถูกส่งมำจำกอวัยวะรับควำมรู้สึก และจะถูกส่งต่อไปยัง
ศูนย์ควบคุมที่สมอง หรือที่เรียกว่ำ "สมองส่วนนอก"
ฮอร์โมนจำกต่อมใต้สมอง
ฮอร์โมนจำกต่อมไทรอยด์
ฮอร์โมนจำกต่อมหมวกไต
ฮอร์โมนจำกรังไข่
ฮอร์โมนจำกอัณฑะ
ฮอร์โมนจำกไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮำนส์
ฮอร์โมนจำกไฮโพทำลำมัส
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง(pituitarygland)
ต่อมใต้สมอง มีลักษณะเป็นติ่งยื่นออกจำกไฮโพทำลำมัส ต่อมใต้สมอง
ของคนมีส้นผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 1.3 เซนติเมตร แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน
1.ต่อมใต้สมองส่วนหน้ำ
- โกรทฮอร์โมน
- โกนำโดโทฟิน
- โพรแลคติน
2.ต่อมใต้สมองส่วนกลำง
- เมลำโนไซด์สติมิวเลติงฮอร์โมน (melanicyte stimulating hormone : MSH)
3.ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
- วำโซเพรสซิน (vasopressin)
- ออกซิโทซิน (oxytocin)
โกรทฮอร์โมน (growth hormone) : GH)
โกรทฮอร์โมนหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ำ โซมำโตโทรฟิน (somatotrophin : STH)
ฮอร์โมนนี้มีผลต่อกำรเจริญเติบโตของร่ำงกำยโดยเพิ่มกำรนำกรดอะมิโนเข้ำสู่เซลล์
และเพิ่มกำรสังเครำะห์โปรตีนของเซลล์ นอกจำกนั้นยังมีผลในกำรกระตุ้นกำร
เจริญเติบโตของกระดูกทำงอ้อม กล่ำวคือ โกรทฮอร์โมนจะกระตุ้นให้ตับสังเครำะห์
พอลิเพปไทด์ชนิดหนึ่งชื่อว่ำ โซมำโตมีดีน ซึ่งจะมีผลกระตุ้นกำรเจริญเติบโตของกระดูก
อีกต่อหนึ่ง ปัจจัยที่ควบคุมกำรหลั่งของโกรทฮอร์โมนคือ GH-releasing hormone และ
GH-inhibiting hormone ซึ่งหลั่งจำกไฮโพทำลำมัส ในภำวะที่โกรทฮอร์โมนในกระแส
เลือดมีปริมำณมำกจะกระตุ้นให้ไฮโพทำลำมัสหลั่ง GH-inhibiting hormone เพื่อ
ยับนั้งกำรหลั่งโกรทฮอร์โมน และในภำวะที่โกรทฮอร์โมนในกระแสเลือดมีปริมำณ
น้อยลงจะทำให้ไฮโพทำลำมัสหลั่ง GH-releasing hormone เพื่อกระตุ้นกำรหลั่ง โกรท
ฮอร์โมน นอกจำกนี้ยังมีปัจจัยอื่นที่มีผลต่อกำรหลั่งโกรทฮอร์โมน เช่น ควำมเครียด
ในภำวะปกติ ร่ำงกำยจะหลั่งโกรทฮอร์โมนในขณะนอนหลับและออกกำลังกำย
ไทรอยด์สติมิงเลติงฮอร์โมน (thyroid stimulating hormone)
โกนาโดโทรฟิน (gonodotrophin hormone)
โกนาโดโทรฟินเป็นฮอร์โมนที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ และควบคุม
ลักษณะทางเพศ ต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะเริ่มต้นหลั่งโกนาโดโทรฟินเมื่อเริ่มเข้าวัย
หนุ่มสาว โดยไฮโปรทาลามัสจะเริ่มต้นหลั่งโกนาโดโทรฟินรีลิสซิงฮอร์โมน ซึ่งจะกระตุ้น
ต่อมใต้สมองให้หลั่งโกนาโดโทรฟิน
โกนาโดโทรฟินประกอบด้วยฮอร์โมนที่สาคัญ 2 ชนิด คือ ฟอลลิเคิลสติมิวเล
ติงฮอร์โมน(FSH)และลูทิไนซิงฮอร์โมน(LH) ฮอร์โมนทั้งสองนี้ถึงแม้จะพบทั้งในชายและ
หญิง แต่มีการทาหน้าที่ต่างกัน
โพรแลคติน (prolactin)
โพรแลคตินในหญิงที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ ไฮโพทำลำมัสจะหลั่งโพรแลคตินอินฮิบิติง
ฮอร์โมน (prolactin inhibiting hormone) เพื่อยับยั้งกำรหลั่งโพรแลคตินจำกต่อมใต้
สมองส่วนหน้ำ เมื่อเกิดกำรตั้งครรภ์ โพรแลคตินอินฮิบิติงฮอร์โมน จะถูกยับยั้ง และมี
กำรหลั่งโพรแลคตินรีลิสซิงฮอร์โมน (prolactin releasing hormone) ซึ่งจะกระตุ้นต่อม
ใต้สมองส่วนหน้ำให้หลั่งโพรแลคติน ระดับโพรแลคตินในเลือดจะสูงเมื่อระยะกำร
ตั้งครรภ์ครบกำหนด โพรแลคตินจะเริ่มมีกำรสร้ำงน้ำนมเมื่อคลอดลูกแล้ว
ภำยหลังกำรคลอดระดับโพรแลคตินในเลือดจะค่อย ๆ ลดลง แต่ถ้ำให้ทำรก
ดูดนมแม่จะทำให้ไฮโพทำลำมัสหลั่งPIHน้อยลง ทำให้ต่อมใต้สมองหลั่งโพรแลคติน
เพิ่มขึ้นเป็นระยะ ทำให้มีกำรผลิตน้ำนมได้ตลอดเวลำ
เมลาโนไซด์สติมิวเลติงฮอร์โมน
(melanicyte stimulating hormone : MSH) MSH
จะทำหน้ำที่กระตุ้นเมลำโนไซด์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ระหว่ำงหนังกำพร้ำ
และหนังแท้ ให้สังเครำะห์สำรสีน้ำตำล-ดำที่เรียกว่ำ เมลำนิน (malanin) นอกจำกนั้น
MSH ยังทำหน้ำที่กระตุ้นให้เมลำนินในเมลำโนไซด์กระจำยตัวออกไปทั่วเซลล์ เป็นผล
ให้สีผิวเข้มขึ้น
วาโซเพรสซิน (vasopressin)
ทำหน้ำที่กระตุ้นกำรดูดซึมน้ำกลับสู่กระแสเลือดบริเวณท่อรวม (collecting
duct) ของหน่วยไต ซึ่งช่วยรักษำสมดุลน้ำในร่ำงกำย
ออกซิโทซิน (oxytocin)
คือฮอร์โมนที่มีสูตรเคมีคล้ำยกับ ADH มำก แต่มีหน้ำที่แตกต่ำงกัน
ออกซิโทซินจะถูกหลั่งออกมำมำกในหญิงตั้งครรภ์ที่ใกล้คลอด โดยมีผลกระตุ้นให้
มดลูกหดตัวเป็นระยะ ๆ ซึ่งช่วยให้เกิดกระบวนกำรคลอด นอกจำกนั้นภำยหลังคลอด
กำรดูดนมของทำรกจะเป็นกำรกระตุ้นกำรหลั่งออกซิโทซิน นอกจำกนั้นจะทำให้มดลูก
เข้ำอู่เร็ว เนื่องจำกมีกำรหดตัวของมดลูก
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ (thyroid gland)
ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมที่มีขนำดใหญ่ที่สุดในร่ำงกำย น้ำหนักประมำณ 25
กรัม มีลักษณะเป็น 2 พู หำกส่องกล้องจุลทรรศน์ จะพบว่ำเนื้อเยื่อของต่อมไทรอยด์
ประกอบด้วย ฟอลลิเคิล จำนวนมำก นอกจำกนี้ยังมีเซลล์อีกชนิดหนึ่งเรียกว่ำ พำรำ
ฟอลลิคิวล่ำเซลล์ หรือ เซลล์ C ต่อมไทรอยด์จะผลิตฮอร์โมน
- ไทรอกซินและ ไตรไอโอโดไทโรนีน
- แคลซิโทนิน
ไทรอกซิน และไตรไอโอโดไทโรนีน
ผลิตมำจำกฟอลลิคิวลำร์เซลล์ แล้วเก็บสะสมไว้ในช่องว่ำงภำยในฟอลลิเคิล
ไทรอกซิน และไตรไอโอโดไทโรนีนถูกสังเครำะห์จำกกรดอะมิโนไทโรซีน (thyrosine)
และไอโอดีน โดยไทรอกซีนจะมีอะตอม 4 อะตอม จึงมักเรียกอีกชื่อว่ำ T4 ส่วนไตรไอโอ
โดไทโรนีนจะมีไอโอดีน 3 อะตอม จึงมักเรียกอีกชื่อว่ำT3 ทั้งT3 และT4 จะมีผลต่อ
ร่ำงกำยเหมือน โดยT3 มีฤทธิ์มำกกว่ำT4 ประมำณ 4 เท่ำ แต่ภำวะปกติฮอร์โมนจำก
ต่อมไทรอยด์ภำยในร่ำงกำยส่วนใหญ่จะพบในรูปของT4
T3 และT4 ทำหน้ำที่กระตุ้นอัตรำเมตำบอลิซึมของเซลล์ และเนื้อเยื่อต่ำงๆทั่ว
ร่ำงกำย ทำหน้ำที่รวมกับ โกรทฮอร์โมน ในกำรส่งเสริมกำรเจริญเติบโตของร่ำงกำย
โดยกระตุ้นกำรสังเครำะห์โปรตีน นอกจำกนั้นยังควบคุมพัฒนำกำรของเซลล์ (cellular
differentiation) ต่ำงๆ โดยเฉพำะพัฒนำกำรของเซลล์สมอง
แคลซิโทนิน
ถูกผลิตและหลั่งจำก พำรำฟอลลิเคิลเซลล์ มีหน้ำที่ลดปริมำณแคลเซียมและ
ฟอสเฟสในเลือดซึ่งจะออกฤทธิ์ ที่กระดูกและไต โดยเพิ่มกำรนำแคลเซียมเข้สู่กระดูก
และลดกำรสลำยของกระดูกนอกจำกนั้นจะเพิ่มกำรขับถ่ำย ฟอสเฟสทำงไต แคลซิโท
นิน จะทำหน้ำที่ร่วมกับฮอร์โมน จำกต่อม พำรำไทรอยด์ และวิตำมิน D ในกำรรักษำ
สมดุล ของแคลเซียมและฟอสเฟสในร่ำงกำย
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต
ต่อมหมวกไต (adrenal gland)เป็นต่อมไร้ท่อที่อยู่เหนือไตทั้ง 2 ข้ำง แต่ละ
ข้ำงหนักประมำณ 5 กรัม ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ เนื้อเยื่อชั้นนอก (adrenal
cortex) เนื้อเยื่อชั้นใน (adrenal medulla)
ทำหน้ำที่ผลิตฮอร์โมน
- กลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid)
-มิเนอลำโรคลอติคอยด์ (mineralocorticoid)
-ฮอร์โมนเพศ (sex hormone)
-อะดรีนำลีน (adrenaline) และ นอร์อะดรีนำลีน (noradrenaline)
ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid)
เป็นกลุ่มฮอร์โมนที่ทำหน้ำที่ควบคุมเมทำบอลิซึมของคำร์โบไฮเดรต ฮอร์โมน
ที่สำคัญได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol)
คอลติซอล เป็นฮอร์โมนที่ช่วยให้ร่ำงกำยปรับตัวในภำวะเครียด (stress) เช่น
ช็อค บำดเจ็บ เป็นต้น เมื่อร่ำงกำยมีควำมเครียดจะทำให้ไฮโปทำลำมัสหลั่งฮอร์โมน
(corticotriphin releasing factor : CAF) ออกมำ CRF จะกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วน
หน้ำให้หลั่ง ACTH และ ACTH จะกระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทกซ์ให้หลั่งคอร์ติซอล
บทบำทคือ เพิ่มระดับน้ำตำลในเลือดโดยยับยั้งกำรทำงำนของอินซูลินและ
กระตุ้นให้เซลล์ตับเปลี่ยนกรดอะมิโน และกรดไขมันเป็นไกลโคเจนสะสมไว้ แล้ว
เปลี่ยนเป็นกลูโคสเพื่อส่งเข้ำสู้กระแสเลือด นอกจำกนั้นยังทำหน้ำที่ลดกำรอักเสบของ
ร่ำงกำยด้วย ดังนั้นจึงมีกำรนำมำทำเป็นยำลดกำรอักเสบที่ไม่ได้ติดเชื้อ
ฮอร์โมนมิเนอราโลคอร์ติคอยด์
เป็นฮอร์โมนที่ช่วยรักษำสมดุลของน้ำและแร่ธำตุภำยในร่ำงกำย ฮอร์โมนที่
สำคัญในกลุ่มนี้คือ แอลโดสเทอโรน (aldosterone) ซึ่งจะหลั่งออกมำมำกขึ้นในขณะที่
ร่ำงกำยขำดน้ำหรือควำมเข้มข้นของโซเดียมในเลือดลดต่ำลง โดยทำหน้ำที่กระตุ้นท่อ
ไตให้ดูดซึมน้ำ และโซเดียมเข้ำสู่กระแสเลือด และขับถ่ำยโพแทสเซียมออกสู่ท่อไต
ฮอร์โมนเพศ
อะดรีนัลคอร์เทกซ์สังเครำะห์ฮอร์โมนเพศ ทั้งชำยและหญิง (เทสโทสเทอโรน
และเอสโทรเจน) โดยจะผลิตฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนมำก แต่เมื่อเทียบกับกำร
สังเครำะห็จำกอวัยวะเพศแล้วถือว่ำน้อยมำก ทำให้กำรสังเครำะห์จำกอะดรีนัลคอร์
เทกซ์มีผลน้อยมำก ยกเว้นฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนจะมีผลทำให้เกดขนที่รักแร้ หัวเหน่ำ
ทั้งเพศชำยและเพศหญิงเมื่อเข้ำสู่วัยรุ่น
อะดรีนาลีน
อะดรีนำลีน หรือ เอพิเนฟรีน (epinepinephirne) มีผลต่อกำรทำงำนของ
อวัยวะและระบบต่ำง ๆ ของร่ำงกำยมำกมำยได้แก่ ทำให้ร่ำงกำยตื่นตัว หัวใจเต้นแรง
และเร็วขึ้น ควำมดันเลือดสูง หลอดลมขยำย ม่ำนตำขยำย ระดับน้ำตำลในเลือดเพิ่ม
มำกขึ้น เส้นเลือด artery ที่ไปหล่อเลี้ยงที่สมอง หัวใจ ปอด และกล้ำมเนื้อขยำย เป็นต้น
นอร์อะดรีนาลีน
นอร์อะดรีนำลีน หรือ นอร์เอพิเนฟรีน (norepinefphirne) เป็นสำรเดียวกับ
สำรสื่อประสำทที่หลั่งจำกปลำยประสำทที่ซิมพำเทติก ผลของฮอร์โมนชนิดนี้คล้ำยกับ
อะดรีนำลีน ยกเว้นผลที่มีต่อเส้นเลือด เมื่อร่ำงกำยเผชิญกับภำวะต่ำง ๆ เช่น เมื่อเผชย
หน้ำกับสัตว์ร้ำย หรือศัตรู ตื่นเต้น ตกใจ ฯลฯ ไฮโพทำลำมัสจะส่งกระแสประสำทซิมพำ
เทติกมำกระตุ้นอะดรีนัลเมดัลลำ ให้หลั่งฮอร์โมนอะดรีนำลีน และนอร์อะดรีนำลีน
ฮอร์โมนทั้งสองจะทำให้ร่ำงกำยพร้อมที่จะสู้และตอบสนองต่อภำำวะเครียดต่ำง ๆ
ฮอร์โมนจากรังไข่ (Ovary)
แหล่งที่ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมนเพศหญิงคือ รังไข่ โดยเมื่อเข้ำสู่วัยสำว
ไฮโพทำลำมัสจะหลั่งโกนำโดโทฟินรีลิสซิงฮอร์โมนกำรตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้ำให้หลั่ง
ฮอร์โมน 2 ชนิด คือ FSH และ LH
-FSH จะกระตุ้นกำรสร้ำงไข่ซึ่งจะเจริญเปลี่ยนแปลงอยู่ภำยในฟอลลิเคิล ในขณะที่ไข่
และฟอลลิเคิลเจริญเติบโตขึ้น เนื่อเยื่อรังไข่ที่อยู่รอบ ๆ ฟอลลิเคิลนั้น ๆ จะผลิต และ
หลั่งฮอร์โมนเอสโทรเจนออกมำ
-LH จะหลั่งออกมำมำกขึ้นในระยะที่ฟอลลิเคิลเจริญเต็มที่ LH จะทำงำนร่วมกับ FSH
ทำให้เกิดกำรตกไข่ โดยทำให้ฟอลลิเคิลที่เจริญเต็มที่แตกออก ปล่อยไข่เข้ำสู่ท่อนำไข่
นอกจำกนั้น LH จะกระตุ้นให้เนื้อเยื่อของฟอลลิเคิลที่แตกแล้วเจริญเปลี่ยนไปเป็น
คอร์พัสลูเทียม (corpus luteum) ทำหน้ำที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมนเอสโทรเจน และ
โพรเจสเทอโรน
ฮอร์โมนจากอัณฑะ (testis)
แหล่งที่ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมนเพศชำยคือ อินเตอร์สติเชียลเซลล์ (interstitial
cells) ซึ่งเป็นกลุ่มเซลล์ที่อยู่ระหว่ำงหลอดสร้ำงตัวอสุจิในอัณฑะ โดยเมื่อเข้ำสู่วัยรุ่น
ประมำณอำยุ 10 ปี ไฮโพทำลำมัสจะหลั่งโกนำโดโทรฟินรีลีสซิงฮอร์โมน กระตุ้นต่อม
ใต้สมองส่วนหน้ำให้หลั่งโกนำโดโทรฟิน 2 ชนิด คือ FSH และ ICSH
FSH จะกระตุ้นกำรสร้ำงสเปิร์ม ส่วน ICSH จะกระตุ้นอินเตอร์สติเชียลเซลล์
ให้ผลิตและหลั่งฮอร์โมนเพศชำยที่เรียกว่ำ แอนโดรเจน (androgen) ซึ่งประกอบด้วย
ฮอร์โมนหลำยชนิดแต่ที่สำคัญที่สุดคือ เทสโทสเทอโรน (testosterone) เทสโทสเทอโรน
เป็นฮอร์โมนที่ทำให้เกิดลักษณะเพศชำย ได้แก่ กำรมีเสียงห้ำว นมขึ้นพำน ลูกกระเดือก
แหลม มีหนวด เครำ ขนที่หน้ำแข้ง เป็นต้น นอกจำกนี้ยังทำให้ร่ำงกำยมีกำร
เจริญเติบโตอย่ำงรวดเร็วในระยะวัยรุ่น
ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
อินซูลิน
เป็นสำรจำพวกพอลิเพปไทด์ซึ่งประกอบด้วยกรดอะมิโน 51 โมเลกุล
มีบทบำทเกี่ยวข้องกับเมทำบอลิซึมของกลูโคส ได้แก่
1. เพิ่มอัตรำกกำรหำยใจของเซลล์โดยกำรสลำยกลูโคสเป็นพลังงำน
2. เพิ่มกำรนำกลูโคสเข้ำสู่เซลล์กล้ำมเนื้อ และเซลล์ไขมัน
3. เพิ่มกำรเก็บสะสมกลูโคสในรูปไกลโคเจนในเซลล์ตับ และเซลลล์กล้ำมเนื้อ
กลูคากอน
เป็นสำรจำพวกพอลิเพปไทด์ซึ่งประกอบด้วยกรดอะมิโน 29 โมเลกุล มี
บทบำทเกี่ยวข้องกับเมทำบอลิซึมของกลูโคส ได้แก่
1. เพิ่มกำรสลำยไกลโคเจนในเซลล์ตับให้เป็นกลูโคส
2. เพิ่มกำรสังเครำะห์กลูโคสจำกกรดอะมิโน และกรดไขมัน
อินซูลินและกลูคำกอนจะออกฤทธิ์ตรงกันข้ำม โดยอินซูลินจะทำให้ระดับกลูโคสใน
เลือดลดลงแต่กลูคำกอนจะทำให้ระดับน้ำตำลในเลือดเพิ่มมำกขึ้น
ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส(hypothalamus)
ไฮโพทำลำมัสเป็นส่วนหนึ่งของสมองที่เป็นฐำนสมอง โดยด้ำนบนติดต่อกับ
ทำลำมัส ด้ำนล่ำงติดต่อกับก้ำนสมอง ภำยในไฮโพทำลำมัสประกอดไปด้วยเซลล์
ประสำทมำกมำนและมีเส้นประสำทเชื่อมต่อกับสมองส่วนอื่นๆ ทำหน้ำที่เป็นส่วนหนึ่ง
ของระบบประสำท นอกจำกนั้นไฮโพทำลำมัสยังทำหน้ำที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมนหลำย
ชนิด
ภำยในไฮโพทำลำมัสจะมีเซลล์ประสำทที่ผลิตฮอร์โมนกลุ่มแรกจะผลิต
ฮอร์โมน 2 ชนิด คือ วำโซเพรสซิน และออกซิโทซิน ซึ่งจะถูกลำเลียงไปตำมแอกซอน
และถูกเก็บไว้บริเวณปลำยแอกซอนที่อยู่ในต่อมใต้สมองส่วนหลัง เมื่อเซลล์ประสำท
ดังกล่ำวถูกกระตุ้นก็จะปลดปล่อยฮอร์โมนออกมำ ซึ่งจะถูกดูดซึม และลำเลียงตำม
กระแสเลือดไปยังเนื้อเยื่อเป้ ำหมำย เซลล์ประสำทที่ผลิตฮอร์โมนภำยในไฮโพทำลำมัส
อีกกลุ่มหนึ่งจะทำหน้ำที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมนที่จะควบคุมกำรหลั่ง หรือยับยั้งฮอร์โมน
แต่ละชนิดจำกต่อมใต้สมองส่วนหน้ำ
เทสโทสเตอโรน...ฮอร์โมนเพศชาย
เมื่อคนเรำเริ่มเข้ำสู่วัยหนุ่มสำวแล้ว ก็ได้เวลำที่ร่ำงกำยจะผลิตฮอร์โมนเพศ
ออกมำ ซึ่งเจ้ำ "เทสโทสเตอโรน" (Testosterone) นี่แหละคือฮอร์โมนที่สำคัญ
ที่สุดของเพศชำย เพรำะจะไปกระตุ้นให้แสดงลักษณะควำมเป็นเพศชำยออกมำ และ
นี่เองที่ทำให้ผู้ชำยมีรูปร่ำงลักษณะ อำรมณ์ นิสัย ฯลฯ ที่แตกต่ำงไปจำกคุณสำว ๆ ไม่
ว่ำจะเป็น กำรมีเสียงทุ้มใหญ่ มีหนวด มีเครำ ขนตำมร่ำงกำย ศีรษะล้ำน กำรสร้ำง
เชื้ออสุจิ ลักษณะกล้ำมเนื้อและกระดูกที่ใหญ่และแข็งแรง ทำให้ผู้ชำยมีนิสัยชอบ
แข่งขัน ชอบเอำชนะ รักสนุก ชอบควำมท้ำทำย ขณะเดียวกัน ในบำงช่วงฮอร์โมนนี้ก็ยัง
ทำให้ผู้ชำยรู้สึกเครียด วิตกกังวล หดหู่ได้มำกกว่ำปกติเช่นกัน ทำให้สนใจเพศตรงข้ำม
มำกขึ้น คิดถึงเรื่องเพศ มีควำมต้องกำรทำงเพศ ชอบเรื่องเซ็กส์
เอสโตรเจน...ฮอร์โมนเพศหญิง
พูดถึงฮอร์โมนเพศชำยไปแล้ว ต่อไปเรำมำรู้จัก "เอสโตรเจน" (Estrogen)
ฮอร์โมนเพศหญิงกันบ้ำงดีกว่ำเคยสังเกตไหมว่ำ สำว ๆ บำงคนมีหน้ำอกตู้ม สะโพก
ผำย สัดส่วนโค้งเว้ำสวยเสียจนต้องเหลียวมอง (แม้แต่คุณผู้หญิงเองก็ยังอดอิจฉำไม่ได้
^^) รูปร่ำงเช่นนี้เป็นผลมำจำกฮอร์โมนเอสโตรเจนนี่แหละ ซึ่งถูกผลิตขึ้นมำจำกรังไข่
แล้วกระจำยไปตำมกระแสเลือด ส่งต่อไปตำมอวัยวะต่ำง ๆ จึงส่งผลต่อรูปร่ำง นิสัย
อำรมณ์ของเพศหญิง คือ
ทำให้มีหน้ำอก เต้ำนมเต่งตึง สะโพกผำย ผิวพรรณเปล่งปลั่ง
ช่วยเสริมสร้ำงเซลล์ให้เจริญเติบโต ซ่อมแซมระบบสืบพันธุ์ รักษำสภำพผนัง
ช่องคลอด ควบคุมเมือกในช่องคลอดเพื่อป้ องกันกำรอักเสบ ทำให้ไข่ในรังไข่
เจริญเติบโต ควบคุมกำรตกไข่ กระตุ้นกำรหนำตัวของเยื่อบุผนังมดลูกชั้นใน เพื่อรองรับ
กำรปฏิสนธิร่วมกับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
โปรเจสเตอโรน...ฮอร์โมนเพศหญิง (สาคัญสาหรับสาวตั้งครรภ์)
นอกจำก "เอสโตรเจน" แล้ว สำว ๆ ก็ยังมีฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
(Progesterone) อีกหนึ่งฮอร์โมนเพศหญิงที่สำคัญมำก ๆ โดยถูกสร้ำงขึ้นมำจำก
รังไข่ และรก ทำงำนร่วมกันกับฮอร์โมนเอสโตรเจนมีหน้ำที่สำคัญคือ ช่วยกระตุ้นให้เยื่อ
บุผนังมดลูกชั้นในหนำตัวขึ้น เพื่อเตรียมกำรตั้งครรภ์ โดยเอสโตรเจนนั้นจะไปกระตุ้นให้
มดลูกขยำย พร้อมจะหดรัดตัว แต่โปรเจสเตอโรนจะไปยับยั้งไม่ให้มดลูกรัดตัวมำก
จนเกินไป เพื่อให้ทำรกฝังตัวที่มดลูกได้
นอกจำกนี้โปรเจสเตอโรนและเอสโตรเจนยังช่วยกันควบคุมกำรตั้งครรภ์ใน
ช่วงแรก ๆ เช่น ปรับสภำพเยื่อบุโพรงมดลูกให้เหมำะสม เพื่อให้เกิดกำรฝังตัวได้ ช่วย
สะสมไขมันให้ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ เพื่อให้มีพลังงำน และสำรอำหำรเลี้ยงทำรก รวมทั้งช่วย
ทำให้เต้ำนมขยำยใหญ่ขึ้น เพื่อเตรียมผลิตน้ำนมให้ลูกหลังคลอด นอกจำกนี้ยังกระตุ้น
ให้ร่ำงกำยหำยใจเร็วขึ้น เพื่อสูดออกซิเจนเข้ำปอดมำก ๆ นั่นจึงทำให้ผู้หญิงตั้งครรภ์จะ
รู้สึกเหนื่อยง่ำยกว่ำเดิม อีกทั้งยังรู้สึกเมื่อยเนื้อเมื่อยตัว ปวดแข้งปวดขำ เพรำะฮอร์โมน
จะไปทำให้กล้ำมเนื้อ เอ็น ข้อต่อยืดขยำยนั่นเอง
โดพามีน...ฮอร์โมนหนึ่งมิตรชิดใกล้
โดพำมีน Dopamine อีกหนึ่งฮอร์โมนที่สำคัญมำก ผลิตจำกกรดอะมิโนไท
โรซีน Tyrosine ซึ่งสังเครำะห์โดยเนื้อเยื่อประสำทและต่อมหมวกไตเป็นส่วนใหญ่
ทำหน้ำที่เป็นสำรสื่อประสำทไปกระตุ้นโดพำมีน รีเซพเตอร์ Dopamine
Receptor ในระบบประสำทซิมพำเทติค sympathetic nervous
systemทำให้อัตรำกำรเต้นของหัวใจ และควำมดันโลหิตเพิ่มขึ้น
นอกจำกนี้โดพำมีนยังจัดเป็นนิวโรฮอร์โมน (Neurohormone) ที่หลั่ง
จำกสมองส่วนไฮโปธำลำมัส ซึ่งทำหน้ำที่ยับยั้งกำรหลั่งโปรแลคตินจำกกลีบส่วนหน้ำ
ของต่อมใต้สมอง (ต่อมพิทูอิทำรี) พร้อมกับเพิ่มกำรหลั่งฮอร์โมนที่ช่วยในกำร
เจริญเติบโต ((Growth Hormone) ซึ่งเป็นพัฒนำกำรสำคัญของคนกำลังเป็น
หนุ่มเป็นสำวนั่นเอง
เอ็นดอร์ฟิน...ฮอร์โมนหลั่งเมื่อฉันฟิน
มีใครไม่รู้จักฮอร์โมนเอ็นดอร์ฟิน (Endorphin) บ้ำงเอ่ย? นี่เป็นหนึ่งใน
ฮอร์โมนที่คนน่ำจะได้ยินชื่อกันบ่อยที่สุดเลยล่ะ เพรำะคงจะเคยได้ยินคนพูดว่ำฮอร์โมน
นี้ทำให้เรำมีควำมสุข คลำยเครียด ซึ่งนั่นก็เป็นเพรำะเมื่อเรำมีควำมสุขกำยสบำยใจ
สำรเอ็นดอร์ฟินจะหลั่งออกมำมำกขึ้น แล้วเข้ำสู่กระแสเลือด จนสำมำรถไปกดกำร
สร้ำงฮอร์โมนแห่งควำมเครียด เช่น นอร์เอพิเนฟริน ทำให้เรำรู้สึกหำยเครียด และยังเป็น
ผลให้ระดับภูมิคุ้มกัน (antibody) ในเลือดเพิ่มขึ้นด้วย
แต่ไม่ใช่แค่นั้นนะ เพรำะหน้ำที่หลักของเอ็นดอร์ฟินไม่ใช่แค่ทำให้เรำเคลิบเคลิ้ม
มีควำมสุข แต่คือกำรเป็นยำระงับปวดตำมธรรมชำติ ที่ต่อมใต้สมองและไฮโปทำลำมัส
ในกระดูกสันหลังสร้ำงขึ้นมำให้ออกฤทธิ์ไปยับยั้งและบรรเทำควำมเจ็บปวดให้เรำ
นั่นเอง ซึ่งกำรทำงำนของเอ็นดอร์ฟินจะคล้ำย ๆ กับกำรทำงำนของยำมอร์ฟีน
(Morphine) ที่ในทำงกำรแพทย์จะใช้ฉีดระงับควำมเจ็บปวดให้คนไข้ และ
นอกจำกจะมีบทบำทควบคุมควำมรู้สึกเจ็บปวดแล้ว เอ็นดอร์ฟิน ก็ยังควบคุมควำมรู้สึก
หิว และเชื่อมโยงกับกำรผลิตฮอร์โมนเพศด้วย
คอร์ติซอล...ฮอร์โมนแห่งความเครียด (แถมโรคอ้วน)
ต้องบอกว่ำฮอร์โมนตัวนี้ตรงกันข้ำมกับ "เอ็นดอร์ฟิน" เลยล่ะ อย่ำงที่รู้กันว่ำคน
ส่วนใหญ่อยำกมีฮอร์โมนเอ็นดอร์ฟินมำก ๆ จะได้มีควำมสุข แต่คงไม่มีใครอยำกมี
ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) มำก ๆ แน่ เพรำะนี่เป็นฮอร์โมนที่จะถูกปล่อยออกมำ
เมื่อเรำมีควำมเครียด แต่ถึงกระนั้น คอร์ติซอล ก็ถูกจัดเป็นฮอร์โมนที่จำเป็น
(Essential Hormone) ที่มีควำมสำคัญต่อชีวิต หำกขำดไปก็จะส่งผลอย่ำง
มำกต่อเซลล์ของร่ำงกำย
สำหรับฮอร์โมนคอร์ติซอลนี้ถูกผลิตจำกต่อมหมวกไต และจะถูกสร้ำงมำกขึ้นใน
ตอนเช้ำ เพื่อช่วยให้ร่ำงกำยตื่นตัว ช่วยให้หัวใจบีบตัวแรงขึ้น ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมอง
และช่วยเพิ่มระดับน้ำตำลในกระแสเลือดด้วย เพื่อให้เรำพร้อมที่จะรับมือกับปัญหำ
ระหว่ำงวัน ก่อนที่ระดับของฮอร์โมนจะค่อย ๆ ลดลง จนกระทั่งตกเย็น และนอนหลับไป
607.เลขที่14.40

More Related Content

Viewers also liked

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์dgnjamez
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์subhapit
 
Tense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมดTense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมดpitukpong
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5Wichai Likitponrak
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheLeslie Samuel
 

Viewers also liked (11)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Tense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมดTense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมด
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
 
สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1สอบปลายภาคชีวะ51 1
สอบปลายภาคชีวะ51 1
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your Niche
 

Similar to 607.เลขที่14.40

9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer ProjectBee Attarit
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์passaraporn
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48Unity' Aing
 
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfNutnutNutnut3
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมComputer ITSWKJ
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์Munin Tarkang
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์PluemSupichaya
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์Yanwadee Sittipanich
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์PluemSupichaya
 

Similar to 607.เลขที่14.40 (20)

ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์ภัสราภรณ์
ภัสราภรณ์
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
4
44
4
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
Sci onet49
Sci onet49Sci onet49
Sci onet49
 
Keysci onet49
Keysci onet49Keysci onet49
Keysci onet49
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
 

More from nabdowsj13

ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8  ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8 nabdowsj13
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษnabdowsj13
 
วิชาสังคมศึกษา
วิชาสังคมศึกษาวิชาสังคมศึกษา
วิชาสังคมศึกษาnabdowsj13
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยnabdowsj13
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาnabdowsj13
 
ฟิสิกส์
ฟิสิกส์ฟิสิกส์
ฟิสิกส์nabdowsj13
 
วิชาคณิตศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์วิชาคณิตศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์nabdowsj13
 
ใบงานที่1แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1แบบสำรวจตนเองใบงานที่1แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1แบบสำรวจตนเองnabdowsj13
 

More from nabdowsj13 (11)

ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8  ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
 
วิชาสังคมศึกษา
วิชาสังคมศึกษาวิชาสังคมศึกษา
วิชาสังคมศึกษา
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
44
4444
44
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
ฟิสิกส์
ฟิสิกส์ฟิสิกส์
ฟิสิกส์
 
วิชาคณิตศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์วิชาคณิตศาสตร์
วิชาคณิตศาสตร์
 
ใบงานที่1แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1แบบสำรวจตนเองใบงานที่1แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1แบบสำรวจตนเอง
 

607.เลขที่14.40

  • 1.
  • 2. ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : รอบรู้เรื่องฮอร์โมน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : The Story of Hormones ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นาย เฉลิมราช สิมะวงศ์ เลขที่ 14 2 นางสาว นับดาว วงค์จันทร์แสง เลขที่ 40 ชื่อคุณครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
  • 3.
  • 5. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ฮอร์โมนทำหน้ำที่ด้ำนกำรควบคุมในร่ำงกำยมนุษย์ ฮอร์โมนอยู่ที่ระดับสูงสุด ระหว่ำงปีวัยรุ่นของเรำแล้วเริ่มลดลงเมื่ออำยุ 20 ปีของเรำ เมื่ออำยุ 40 ปีระดับฮอร์โมน ของคุณจะลดลงแล้ว 30-40% เพรำะฮอร์โมนควบคุมกลไกต่ำง ๆ มำกมำย ดังนั้นกำร ลดลงของฮอร์โมนย่อมส่งผลกระทบต่อระบบร่ำงกำย เมื่อร่ำงกำยไม่สำมำรถ สังเครำะห์ใหม่ได้ สิ่งที่มำมำคือกำรเสื่อมสภำพจะเริ่มขึ้นริ้วรอย,ปวดกล้ำมเนื้อ,ควำม หนำแน่นของกระดูกลดลง,อื่น ๆซึ่งทั้งมำจำกสำเหตุที่ร่ำงกำยไม่สำมำรถสังเครำะห์ ฮอร์โมนขึ้นมำใหม่ฮอร์โมนเจริญวัยหรือโกรทฮอร์โมนสังเครำะห์มำจำกต่อมใต้สมอง พิ ตูอิตำรี่ จำกโปรตีนที่มีกรดอะมิโน 191 โมเลกุลเพื่อ ควบคุมกำรเจริญเติบโตและ ควบคุมกำรทำงำนของเซลล์และเนื่องจำกในบทเรียนวิชำชีววิทยำของนักเรียนระดับชั้น ม.ปลำยมีกำรเรียนกำรสอนในเรื่องของฮอร์โมนซึ่งเป็นสำรเคมีที่สำคัญในร่ำงกำย ทำง ผู้จัดทำให้ควำมสนใจในกำรศึกษำเรื่องฮอร์โมนเป็นพิเศษจึงจัดทำโครงงำนเรื่องนี้ ขึ้นมำเพื่อเป็นสื่อในกำรศึกษำค้นคว้ำของผู้ที่สนใจในเรื่องนี้นำไปศึกษำต่อไป
  • 6. ฮอร์โมน ฮอร์โมน คือ คือ ตัวนำส่งสำรเคมีจำกเซลล์กลุ่มของเซลล์หนึ่งไปยังเซลล์อื่น ๆ สิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ ทั้งพืชและสัตว์ สำมำรถผลิตฮอร์โมนได้ที่ ต่อมไร้ท่อ โมเลกุลของ ฮอร์โมนจะถูกปล่อยโดยตรงยังกระแสเลือด ของเหลวในร่ำงกำยอื่นๆ หรือเนื้อเยื้อ ใกล้เคียง กำรทำงำนของอวัยวะส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย มีกำรประสำนงำนร่วมกันอย่ำง กลมกลืน โดยตัวที่มีหน้ำที่สำคัญในงำนนี้คือ เส้นประสำท และฮอร์โมน หน้ำที่หนึ่งของ ฮอร์โมน คือกำรทำหน้ำที่เช่นเดียวกับเป็นแม่บ้ำน คอยดูแลตรวจตรำให้แน่ใจว่ำ ส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยทำหน้ำที่ได้เป็นปกติ ในขณะที่เรำพบปะเจอะเจอกับสิ่งใหม่ๆ โดยไม่คำดคิดหรือเกิดควำมรู้สึกเครียด หรือเมื่ออยู่ในสถำนกำรณ์คับขัน ฮอร์โมนเป็น ตัวที่สำคัญในกำรสร้ำงปฏิกิริยำตอบโต้กับสถำนกำรณ์คับขันเหล่ำนั้น โดยที่ข้อมูล เกี่ยวกับสถำนกำรณ์นั้นๆ จะถูกส่งมำจำกอวัยวะรับควำมรู้สึก และจะถูกส่งต่อไปยัง ศูนย์ควบคุมที่สมอง หรือที่เรียกว่ำ "สมองส่วนนอก"
  • 8. ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง(pituitarygland) ต่อมใต้สมอง มีลักษณะเป็นติ่งยื่นออกจำกไฮโพทำลำมัส ต่อมใต้สมอง ของคนมีส้นผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 1.3 เซนติเมตร แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน 1.ต่อมใต้สมองส่วนหน้ำ - โกรทฮอร์โมน - โกนำโดโทฟิน - โพรแลคติน 2.ต่อมใต้สมองส่วนกลำง - เมลำโนไซด์สติมิวเลติงฮอร์โมน (melanicyte stimulating hormone : MSH) 3.ต่อมใต้สมองส่วนหลัง - วำโซเพรสซิน (vasopressin) - ออกซิโทซิน (oxytocin)
  • 9. โกรทฮอร์โมน (growth hormone) : GH) โกรทฮอร์โมนหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ำ โซมำโตโทรฟิน (somatotrophin : STH) ฮอร์โมนนี้มีผลต่อกำรเจริญเติบโตของร่ำงกำยโดยเพิ่มกำรนำกรดอะมิโนเข้ำสู่เซลล์ และเพิ่มกำรสังเครำะห์โปรตีนของเซลล์ นอกจำกนั้นยังมีผลในกำรกระตุ้นกำร เจริญเติบโตของกระดูกทำงอ้อม กล่ำวคือ โกรทฮอร์โมนจะกระตุ้นให้ตับสังเครำะห์ พอลิเพปไทด์ชนิดหนึ่งชื่อว่ำ โซมำโตมีดีน ซึ่งจะมีผลกระตุ้นกำรเจริญเติบโตของกระดูก อีกต่อหนึ่ง ปัจจัยที่ควบคุมกำรหลั่งของโกรทฮอร์โมนคือ GH-releasing hormone และ GH-inhibiting hormone ซึ่งหลั่งจำกไฮโพทำลำมัส ในภำวะที่โกรทฮอร์โมนในกระแส เลือดมีปริมำณมำกจะกระตุ้นให้ไฮโพทำลำมัสหลั่ง GH-inhibiting hormone เพื่อ ยับนั้งกำรหลั่งโกรทฮอร์โมน และในภำวะที่โกรทฮอร์โมนในกระแสเลือดมีปริมำณ น้อยลงจะทำให้ไฮโพทำลำมัสหลั่ง GH-releasing hormone เพื่อกระตุ้นกำรหลั่ง โกรท ฮอร์โมน นอกจำกนี้ยังมีปัจจัยอื่นที่มีผลต่อกำรหลั่งโกรทฮอร์โมน เช่น ควำมเครียด ในภำวะปกติ ร่ำงกำยจะหลั่งโกรทฮอร์โมนในขณะนอนหลับและออกกำลังกำย ไทรอยด์สติมิงเลติงฮอร์โมน (thyroid stimulating hormone)
  • 10.
  • 11. โกนาโดโทรฟิน (gonodotrophin hormone) โกนาโดโทรฟินเป็นฮอร์โมนที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ และควบคุม ลักษณะทางเพศ ต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะเริ่มต้นหลั่งโกนาโดโทรฟินเมื่อเริ่มเข้าวัย หนุ่มสาว โดยไฮโปรทาลามัสจะเริ่มต้นหลั่งโกนาโดโทรฟินรีลิสซิงฮอร์โมน ซึ่งจะกระตุ้น ต่อมใต้สมองให้หลั่งโกนาโดโทรฟิน โกนาโดโทรฟินประกอบด้วยฮอร์โมนที่สาคัญ 2 ชนิด คือ ฟอลลิเคิลสติมิวเล ติงฮอร์โมน(FSH)และลูทิไนซิงฮอร์โมน(LH) ฮอร์โมนทั้งสองนี้ถึงแม้จะพบทั้งในชายและ หญิง แต่มีการทาหน้าที่ต่างกัน
  • 12. โพรแลคติน (prolactin) โพรแลคตินในหญิงที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ ไฮโพทำลำมัสจะหลั่งโพรแลคตินอินฮิบิติง ฮอร์โมน (prolactin inhibiting hormone) เพื่อยับยั้งกำรหลั่งโพรแลคตินจำกต่อมใต้ สมองส่วนหน้ำ เมื่อเกิดกำรตั้งครรภ์ โพรแลคตินอินฮิบิติงฮอร์โมน จะถูกยับยั้ง และมี กำรหลั่งโพรแลคตินรีลิสซิงฮอร์โมน (prolactin releasing hormone) ซึ่งจะกระตุ้นต่อม ใต้สมองส่วนหน้ำให้หลั่งโพรแลคติน ระดับโพรแลคตินในเลือดจะสูงเมื่อระยะกำร ตั้งครรภ์ครบกำหนด โพรแลคตินจะเริ่มมีกำรสร้ำงน้ำนมเมื่อคลอดลูกแล้ว ภำยหลังกำรคลอดระดับโพรแลคตินในเลือดจะค่อย ๆ ลดลง แต่ถ้ำให้ทำรก ดูดนมแม่จะทำให้ไฮโพทำลำมัสหลั่งPIHน้อยลง ทำให้ต่อมใต้สมองหลั่งโพรแลคติน เพิ่มขึ้นเป็นระยะ ทำให้มีกำรผลิตน้ำนมได้ตลอดเวลำ
  • 13. เมลาโนไซด์สติมิวเลติงฮอร์โมน (melanicyte stimulating hormone : MSH) MSH จะทำหน้ำที่กระตุ้นเมลำโนไซด์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ระหว่ำงหนังกำพร้ำ และหนังแท้ ให้สังเครำะห์สำรสีน้ำตำล-ดำที่เรียกว่ำ เมลำนิน (malanin) นอกจำกนั้น MSH ยังทำหน้ำที่กระตุ้นให้เมลำนินในเมลำโนไซด์กระจำยตัวออกไปทั่วเซลล์ เป็นผล ให้สีผิวเข้มขึ้น
  • 14. วาโซเพรสซิน (vasopressin) ทำหน้ำที่กระตุ้นกำรดูดซึมน้ำกลับสู่กระแสเลือดบริเวณท่อรวม (collecting duct) ของหน่วยไต ซึ่งช่วยรักษำสมดุลน้ำในร่ำงกำย ออกซิโทซิน (oxytocin) คือฮอร์โมนที่มีสูตรเคมีคล้ำยกับ ADH มำก แต่มีหน้ำที่แตกต่ำงกัน ออกซิโทซินจะถูกหลั่งออกมำมำกในหญิงตั้งครรภ์ที่ใกล้คลอด โดยมีผลกระตุ้นให้ มดลูกหดตัวเป็นระยะ ๆ ซึ่งช่วยให้เกิดกระบวนกำรคลอด นอกจำกนั้นภำยหลังคลอด กำรดูดนมของทำรกจะเป็นกำรกระตุ้นกำรหลั่งออกซิโทซิน นอกจำกนั้นจะทำให้มดลูก เข้ำอู่เร็ว เนื่องจำกมีกำรหดตัวของมดลูก
  • 15. ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ (thyroid gland) ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมที่มีขนำดใหญ่ที่สุดในร่ำงกำย น้ำหนักประมำณ 25 กรัม มีลักษณะเป็น 2 พู หำกส่องกล้องจุลทรรศน์ จะพบว่ำเนื้อเยื่อของต่อมไทรอยด์ ประกอบด้วย ฟอลลิเคิล จำนวนมำก นอกจำกนี้ยังมีเซลล์อีกชนิดหนึ่งเรียกว่ำ พำรำ ฟอลลิคิวล่ำเซลล์ หรือ เซลล์ C ต่อมไทรอยด์จะผลิตฮอร์โมน - ไทรอกซินและ ไตรไอโอโดไทโรนีน - แคลซิโทนิน
  • 16. ไทรอกซิน และไตรไอโอโดไทโรนีน ผลิตมำจำกฟอลลิคิวลำร์เซลล์ แล้วเก็บสะสมไว้ในช่องว่ำงภำยในฟอลลิเคิล ไทรอกซิน และไตรไอโอโดไทโรนีนถูกสังเครำะห์จำกกรดอะมิโนไทโรซีน (thyrosine) และไอโอดีน โดยไทรอกซีนจะมีอะตอม 4 อะตอม จึงมักเรียกอีกชื่อว่ำ T4 ส่วนไตรไอโอ โดไทโรนีนจะมีไอโอดีน 3 อะตอม จึงมักเรียกอีกชื่อว่ำT3 ทั้งT3 และT4 จะมีผลต่อ ร่ำงกำยเหมือน โดยT3 มีฤทธิ์มำกกว่ำT4 ประมำณ 4 เท่ำ แต่ภำวะปกติฮอร์โมนจำก ต่อมไทรอยด์ภำยในร่ำงกำยส่วนใหญ่จะพบในรูปของT4 T3 และT4 ทำหน้ำที่กระตุ้นอัตรำเมตำบอลิซึมของเซลล์ และเนื้อเยื่อต่ำงๆทั่ว ร่ำงกำย ทำหน้ำที่รวมกับ โกรทฮอร์โมน ในกำรส่งเสริมกำรเจริญเติบโตของร่ำงกำย โดยกระตุ้นกำรสังเครำะห์โปรตีน นอกจำกนั้นยังควบคุมพัฒนำกำรของเซลล์ (cellular differentiation) ต่ำงๆ โดยเฉพำะพัฒนำกำรของเซลล์สมอง
  • 17. แคลซิโทนิน ถูกผลิตและหลั่งจำก พำรำฟอลลิเคิลเซลล์ มีหน้ำที่ลดปริมำณแคลเซียมและ ฟอสเฟสในเลือดซึ่งจะออกฤทธิ์ ที่กระดูกและไต โดยเพิ่มกำรนำแคลเซียมเข้สู่กระดูก และลดกำรสลำยของกระดูกนอกจำกนั้นจะเพิ่มกำรขับถ่ำย ฟอสเฟสทำงไต แคลซิโท นิน จะทำหน้ำที่ร่วมกับฮอร์โมน จำกต่อม พำรำไทรอยด์ และวิตำมิน D ในกำรรักษำ สมดุล ของแคลเซียมและฟอสเฟสในร่ำงกำย
  • 18. ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต ต่อมหมวกไต (adrenal gland)เป็นต่อมไร้ท่อที่อยู่เหนือไตทั้ง 2 ข้ำง แต่ละ ข้ำงหนักประมำณ 5 กรัม ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ เนื้อเยื่อชั้นนอก (adrenal cortex) เนื้อเยื่อชั้นใน (adrenal medulla) ทำหน้ำที่ผลิตฮอร์โมน - กลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid) -มิเนอลำโรคลอติคอยด์ (mineralocorticoid) -ฮอร์โมนเพศ (sex hormone) -อะดรีนำลีน (adrenaline) และ นอร์อะดรีนำลีน (noradrenaline)
  • 19. ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoid) เป็นกลุ่มฮอร์โมนที่ทำหน้ำที่ควบคุมเมทำบอลิซึมของคำร์โบไฮเดรต ฮอร์โมน ที่สำคัญได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol) คอลติซอล เป็นฮอร์โมนที่ช่วยให้ร่ำงกำยปรับตัวในภำวะเครียด (stress) เช่น ช็อค บำดเจ็บ เป็นต้น เมื่อร่ำงกำยมีควำมเครียดจะทำให้ไฮโปทำลำมัสหลั่งฮอร์โมน (corticotriphin releasing factor : CAF) ออกมำ CRF จะกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วน หน้ำให้หลั่ง ACTH และ ACTH จะกระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทกซ์ให้หลั่งคอร์ติซอล บทบำทคือ เพิ่มระดับน้ำตำลในเลือดโดยยับยั้งกำรทำงำนของอินซูลินและ กระตุ้นให้เซลล์ตับเปลี่ยนกรดอะมิโน และกรดไขมันเป็นไกลโคเจนสะสมไว้ แล้ว เปลี่ยนเป็นกลูโคสเพื่อส่งเข้ำสู้กระแสเลือด นอกจำกนั้นยังทำหน้ำที่ลดกำรอักเสบของ ร่ำงกำยด้วย ดังนั้นจึงมีกำรนำมำทำเป็นยำลดกำรอักเสบที่ไม่ได้ติดเชื้อ
  • 20.
  • 21. ฮอร์โมนมิเนอราโลคอร์ติคอยด์ เป็นฮอร์โมนที่ช่วยรักษำสมดุลของน้ำและแร่ธำตุภำยในร่ำงกำย ฮอร์โมนที่ สำคัญในกลุ่มนี้คือ แอลโดสเทอโรน (aldosterone) ซึ่งจะหลั่งออกมำมำกขึ้นในขณะที่ ร่ำงกำยขำดน้ำหรือควำมเข้มข้นของโซเดียมในเลือดลดต่ำลง โดยทำหน้ำที่กระตุ้นท่อ ไตให้ดูดซึมน้ำ และโซเดียมเข้ำสู่กระแสเลือด และขับถ่ำยโพแทสเซียมออกสู่ท่อไต
  • 22. ฮอร์โมนเพศ อะดรีนัลคอร์เทกซ์สังเครำะห์ฮอร์โมนเพศ ทั้งชำยและหญิง (เทสโทสเทอโรน และเอสโทรเจน) โดยจะผลิตฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนมำก แต่เมื่อเทียบกับกำร สังเครำะห็จำกอวัยวะเพศแล้วถือว่ำน้อยมำก ทำให้กำรสังเครำะห์จำกอะดรีนัลคอร์ เทกซ์มีผลน้อยมำก ยกเว้นฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนจะมีผลทำให้เกดขนที่รักแร้ หัวเหน่ำ ทั้งเพศชำยและเพศหญิงเมื่อเข้ำสู่วัยรุ่น
  • 23. อะดรีนาลีน อะดรีนำลีน หรือ เอพิเนฟรีน (epinepinephirne) มีผลต่อกำรทำงำนของ อวัยวะและระบบต่ำง ๆ ของร่ำงกำยมำกมำยได้แก่ ทำให้ร่ำงกำยตื่นตัว หัวใจเต้นแรง และเร็วขึ้น ควำมดันเลือดสูง หลอดลมขยำย ม่ำนตำขยำย ระดับน้ำตำลในเลือดเพิ่ม มำกขึ้น เส้นเลือด artery ที่ไปหล่อเลี้ยงที่สมอง หัวใจ ปอด และกล้ำมเนื้อขยำย เป็นต้น นอร์อะดรีนาลีน นอร์อะดรีนำลีน หรือ นอร์เอพิเนฟรีน (norepinefphirne) เป็นสำรเดียวกับ สำรสื่อประสำทที่หลั่งจำกปลำยประสำทที่ซิมพำเทติก ผลของฮอร์โมนชนิดนี้คล้ำยกับ อะดรีนำลีน ยกเว้นผลที่มีต่อเส้นเลือด เมื่อร่ำงกำยเผชิญกับภำวะต่ำง ๆ เช่น เมื่อเผชย หน้ำกับสัตว์ร้ำย หรือศัตรู ตื่นเต้น ตกใจ ฯลฯ ไฮโพทำลำมัสจะส่งกระแสประสำทซิมพำ เทติกมำกระตุ้นอะดรีนัลเมดัลลำ ให้หลั่งฮอร์โมนอะดรีนำลีน และนอร์อะดรีนำลีน ฮอร์โมนทั้งสองจะทำให้ร่ำงกำยพร้อมที่จะสู้และตอบสนองต่อภำำวะเครียดต่ำง ๆ
  • 24. ฮอร์โมนจากรังไข่ (Ovary) แหล่งที่ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมนเพศหญิงคือ รังไข่ โดยเมื่อเข้ำสู่วัยสำว ไฮโพทำลำมัสจะหลั่งโกนำโดโทฟินรีลิสซิงฮอร์โมนกำรตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้ำให้หลั่ง ฮอร์โมน 2 ชนิด คือ FSH และ LH -FSH จะกระตุ้นกำรสร้ำงไข่ซึ่งจะเจริญเปลี่ยนแปลงอยู่ภำยในฟอลลิเคิล ในขณะที่ไข่ และฟอลลิเคิลเจริญเติบโตขึ้น เนื่อเยื่อรังไข่ที่อยู่รอบ ๆ ฟอลลิเคิลนั้น ๆ จะผลิต และ หลั่งฮอร์โมนเอสโทรเจนออกมำ -LH จะหลั่งออกมำมำกขึ้นในระยะที่ฟอลลิเคิลเจริญเต็มที่ LH จะทำงำนร่วมกับ FSH ทำให้เกิดกำรตกไข่ โดยทำให้ฟอลลิเคิลที่เจริญเต็มที่แตกออก ปล่อยไข่เข้ำสู่ท่อนำไข่ นอกจำกนั้น LH จะกระตุ้นให้เนื้อเยื่อของฟอลลิเคิลที่แตกแล้วเจริญเปลี่ยนไปเป็น คอร์พัสลูเทียม (corpus luteum) ทำหน้ำที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมนเอสโทรเจน และ โพรเจสเทอโรน
  • 25.
  • 26. ฮอร์โมนจากอัณฑะ (testis) แหล่งที่ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมนเพศชำยคือ อินเตอร์สติเชียลเซลล์ (interstitial cells) ซึ่งเป็นกลุ่มเซลล์ที่อยู่ระหว่ำงหลอดสร้ำงตัวอสุจิในอัณฑะ โดยเมื่อเข้ำสู่วัยรุ่น ประมำณอำยุ 10 ปี ไฮโพทำลำมัสจะหลั่งโกนำโดโทรฟินรีลีสซิงฮอร์โมน กระตุ้นต่อม ใต้สมองส่วนหน้ำให้หลั่งโกนำโดโทรฟิน 2 ชนิด คือ FSH และ ICSH FSH จะกระตุ้นกำรสร้ำงสเปิร์ม ส่วน ICSH จะกระตุ้นอินเตอร์สติเชียลเซลล์ ให้ผลิตและหลั่งฮอร์โมนเพศชำยที่เรียกว่ำ แอนโดรเจน (androgen) ซึ่งประกอบด้วย ฮอร์โมนหลำยชนิดแต่ที่สำคัญที่สุดคือ เทสโทสเทอโรน (testosterone) เทสโทสเทอโรน เป็นฮอร์โมนที่ทำให้เกิดลักษณะเพศชำย ได้แก่ กำรมีเสียงห้ำว นมขึ้นพำน ลูกกระเดือก แหลม มีหนวด เครำ ขนที่หน้ำแข้ง เป็นต้น นอกจำกนี้ยังทำให้ร่ำงกำยมีกำร เจริญเติบโตอย่ำงรวดเร็วในระยะวัยรุ่น
  • 27.
  • 28. ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ อินซูลิน เป็นสำรจำพวกพอลิเพปไทด์ซึ่งประกอบด้วยกรดอะมิโน 51 โมเลกุล มีบทบำทเกี่ยวข้องกับเมทำบอลิซึมของกลูโคส ได้แก่ 1. เพิ่มอัตรำกกำรหำยใจของเซลล์โดยกำรสลำยกลูโคสเป็นพลังงำน 2. เพิ่มกำรนำกลูโคสเข้ำสู่เซลล์กล้ำมเนื้อ และเซลล์ไขมัน 3. เพิ่มกำรเก็บสะสมกลูโคสในรูปไกลโคเจนในเซลล์ตับ และเซลลล์กล้ำมเนื้อ กลูคากอน เป็นสำรจำพวกพอลิเพปไทด์ซึ่งประกอบด้วยกรดอะมิโน 29 โมเลกุล มี บทบำทเกี่ยวข้องกับเมทำบอลิซึมของกลูโคส ได้แก่ 1. เพิ่มกำรสลำยไกลโคเจนในเซลล์ตับให้เป็นกลูโคส 2. เพิ่มกำรสังเครำะห์กลูโคสจำกกรดอะมิโน และกรดไขมัน อินซูลินและกลูคำกอนจะออกฤทธิ์ตรงกันข้ำม โดยอินซูลินจะทำให้ระดับกลูโคสใน เลือดลดลงแต่กลูคำกอนจะทำให้ระดับน้ำตำลในเลือดเพิ่มมำกขึ้น
  • 29.
  • 30. ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส(hypothalamus) ไฮโพทำลำมัสเป็นส่วนหนึ่งของสมองที่เป็นฐำนสมอง โดยด้ำนบนติดต่อกับ ทำลำมัส ด้ำนล่ำงติดต่อกับก้ำนสมอง ภำยในไฮโพทำลำมัสประกอดไปด้วยเซลล์ ประสำทมำกมำนและมีเส้นประสำทเชื่อมต่อกับสมองส่วนอื่นๆ ทำหน้ำที่เป็นส่วนหนึ่ง ของระบบประสำท นอกจำกนั้นไฮโพทำลำมัสยังทำหน้ำที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมนหลำย ชนิด ภำยในไฮโพทำลำมัสจะมีเซลล์ประสำทที่ผลิตฮอร์โมนกลุ่มแรกจะผลิต ฮอร์โมน 2 ชนิด คือ วำโซเพรสซิน และออกซิโทซิน ซึ่งจะถูกลำเลียงไปตำมแอกซอน และถูกเก็บไว้บริเวณปลำยแอกซอนที่อยู่ในต่อมใต้สมองส่วนหลัง เมื่อเซลล์ประสำท ดังกล่ำวถูกกระตุ้นก็จะปลดปล่อยฮอร์โมนออกมำ ซึ่งจะถูกดูดซึม และลำเลียงตำม กระแสเลือดไปยังเนื้อเยื่อเป้ ำหมำย เซลล์ประสำทที่ผลิตฮอร์โมนภำยในไฮโพทำลำมัส อีกกลุ่มหนึ่งจะทำหน้ำที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมนที่จะควบคุมกำรหลั่ง หรือยับยั้งฮอร์โมน แต่ละชนิดจำกต่อมใต้สมองส่วนหน้ำ
  • 31.
  • 32. เทสโทสเตอโรน...ฮอร์โมนเพศชาย เมื่อคนเรำเริ่มเข้ำสู่วัยหนุ่มสำวแล้ว ก็ได้เวลำที่ร่ำงกำยจะผลิตฮอร์โมนเพศ ออกมำ ซึ่งเจ้ำ "เทสโทสเตอโรน" (Testosterone) นี่แหละคือฮอร์โมนที่สำคัญ ที่สุดของเพศชำย เพรำะจะไปกระตุ้นให้แสดงลักษณะควำมเป็นเพศชำยออกมำ และ นี่เองที่ทำให้ผู้ชำยมีรูปร่ำงลักษณะ อำรมณ์ นิสัย ฯลฯ ที่แตกต่ำงไปจำกคุณสำว ๆ ไม่ ว่ำจะเป็น กำรมีเสียงทุ้มใหญ่ มีหนวด มีเครำ ขนตำมร่ำงกำย ศีรษะล้ำน กำรสร้ำง เชื้ออสุจิ ลักษณะกล้ำมเนื้อและกระดูกที่ใหญ่และแข็งแรง ทำให้ผู้ชำยมีนิสัยชอบ แข่งขัน ชอบเอำชนะ รักสนุก ชอบควำมท้ำทำย ขณะเดียวกัน ในบำงช่วงฮอร์โมนนี้ก็ยัง ทำให้ผู้ชำยรู้สึกเครียด วิตกกังวล หดหู่ได้มำกกว่ำปกติเช่นกัน ทำให้สนใจเพศตรงข้ำม มำกขึ้น คิดถึงเรื่องเพศ มีควำมต้องกำรทำงเพศ ชอบเรื่องเซ็กส์
  • 33.
  • 34. เอสโตรเจน...ฮอร์โมนเพศหญิง พูดถึงฮอร์โมนเพศชำยไปแล้ว ต่อไปเรำมำรู้จัก "เอสโตรเจน" (Estrogen) ฮอร์โมนเพศหญิงกันบ้ำงดีกว่ำเคยสังเกตไหมว่ำ สำว ๆ บำงคนมีหน้ำอกตู้ม สะโพก ผำย สัดส่วนโค้งเว้ำสวยเสียจนต้องเหลียวมอง (แม้แต่คุณผู้หญิงเองก็ยังอดอิจฉำไม่ได้ ^^) รูปร่ำงเช่นนี้เป็นผลมำจำกฮอร์โมนเอสโตรเจนนี่แหละ ซึ่งถูกผลิตขึ้นมำจำกรังไข่ แล้วกระจำยไปตำมกระแสเลือด ส่งต่อไปตำมอวัยวะต่ำง ๆ จึงส่งผลต่อรูปร่ำง นิสัย อำรมณ์ของเพศหญิง คือ ทำให้มีหน้ำอก เต้ำนมเต่งตึง สะโพกผำย ผิวพรรณเปล่งปลั่ง ช่วยเสริมสร้ำงเซลล์ให้เจริญเติบโต ซ่อมแซมระบบสืบพันธุ์ รักษำสภำพผนัง ช่องคลอด ควบคุมเมือกในช่องคลอดเพื่อป้ องกันกำรอักเสบ ทำให้ไข่ในรังไข่ เจริญเติบโต ควบคุมกำรตกไข่ กระตุ้นกำรหนำตัวของเยื่อบุผนังมดลูกชั้นใน เพื่อรองรับ กำรปฏิสนธิร่วมกับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
  • 35. โปรเจสเตอโรน...ฮอร์โมนเพศหญิง (สาคัญสาหรับสาวตั้งครรภ์) นอกจำก "เอสโตรเจน" แล้ว สำว ๆ ก็ยังมีฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Progesterone) อีกหนึ่งฮอร์โมนเพศหญิงที่สำคัญมำก ๆ โดยถูกสร้ำงขึ้นมำจำก รังไข่ และรก ทำงำนร่วมกันกับฮอร์โมนเอสโตรเจนมีหน้ำที่สำคัญคือ ช่วยกระตุ้นให้เยื่อ บุผนังมดลูกชั้นในหนำตัวขึ้น เพื่อเตรียมกำรตั้งครรภ์ โดยเอสโตรเจนนั้นจะไปกระตุ้นให้ มดลูกขยำย พร้อมจะหดรัดตัว แต่โปรเจสเตอโรนจะไปยับยั้งไม่ให้มดลูกรัดตัวมำก จนเกินไป เพื่อให้ทำรกฝังตัวที่มดลูกได้ นอกจำกนี้โปรเจสเตอโรนและเอสโตรเจนยังช่วยกันควบคุมกำรตั้งครรภ์ใน ช่วงแรก ๆ เช่น ปรับสภำพเยื่อบุโพรงมดลูกให้เหมำะสม เพื่อให้เกิดกำรฝังตัวได้ ช่วย สะสมไขมันให้ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ เพื่อให้มีพลังงำน และสำรอำหำรเลี้ยงทำรก รวมทั้งช่วย ทำให้เต้ำนมขยำยใหญ่ขึ้น เพื่อเตรียมผลิตน้ำนมให้ลูกหลังคลอด นอกจำกนี้ยังกระตุ้น ให้ร่ำงกำยหำยใจเร็วขึ้น เพื่อสูดออกซิเจนเข้ำปอดมำก ๆ นั่นจึงทำให้ผู้หญิงตั้งครรภ์จะ รู้สึกเหนื่อยง่ำยกว่ำเดิม อีกทั้งยังรู้สึกเมื่อยเนื้อเมื่อยตัว ปวดแข้งปวดขำ เพรำะฮอร์โมน จะไปทำให้กล้ำมเนื้อ เอ็น ข้อต่อยืดขยำยนั่นเอง
  • 36.
  • 37. โดพามีน...ฮอร์โมนหนึ่งมิตรชิดใกล้ โดพำมีน Dopamine อีกหนึ่งฮอร์โมนที่สำคัญมำก ผลิตจำกกรดอะมิโนไท โรซีน Tyrosine ซึ่งสังเครำะห์โดยเนื้อเยื่อประสำทและต่อมหมวกไตเป็นส่วนใหญ่ ทำหน้ำที่เป็นสำรสื่อประสำทไปกระตุ้นโดพำมีน รีเซพเตอร์ Dopamine Receptor ในระบบประสำทซิมพำเทติค sympathetic nervous systemทำให้อัตรำกำรเต้นของหัวใจ และควำมดันโลหิตเพิ่มขึ้น นอกจำกนี้โดพำมีนยังจัดเป็นนิวโรฮอร์โมน (Neurohormone) ที่หลั่ง จำกสมองส่วนไฮโปธำลำมัส ซึ่งทำหน้ำที่ยับยั้งกำรหลั่งโปรแลคตินจำกกลีบส่วนหน้ำ ของต่อมใต้สมอง (ต่อมพิทูอิทำรี) พร้อมกับเพิ่มกำรหลั่งฮอร์โมนที่ช่วยในกำร เจริญเติบโต ((Growth Hormone) ซึ่งเป็นพัฒนำกำรสำคัญของคนกำลังเป็น หนุ่มเป็นสำวนั่นเอง
  • 38.
  • 39. เอ็นดอร์ฟิน...ฮอร์โมนหลั่งเมื่อฉันฟิน มีใครไม่รู้จักฮอร์โมนเอ็นดอร์ฟิน (Endorphin) บ้ำงเอ่ย? นี่เป็นหนึ่งใน ฮอร์โมนที่คนน่ำจะได้ยินชื่อกันบ่อยที่สุดเลยล่ะ เพรำะคงจะเคยได้ยินคนพูดว่ำฮอร์โมน นี้ทำให้เรำมีควำมสุข คลำยเครียด ซึ่งนั่นก็เป็นเพรำะเมื่อเรำมีควำมสุขกำยสบำยใจ สำรเอ็นดอร์ฟินจะหลั่งออกมำมำกขึ้น แล้วเข้ำสู่กระแสเลือด จนสำมำรถไปกดกำร สร้ำงฮอร์โมนแห่งควำมเครียด เช่น นอร์เอพิเนฟริน ทำให้เรำรู้สึกหำยเครียด และยังเป็น ผลให้ระดับภูมิคุ้มกัน (antibody) ในเลือดเพิ่มขึ้นด้วย แต่ไม่ใช่แค่นั้นนะ เพรำะหน้ำที่หลักของเอ็นดอร์ฟินไม่ใช่แค่ทำให้เรำเคลิบเคลิ้ม มีควำมสุข แต่คือกำรเป็นยำระงับปวดตำมธรรมชำติ ที่ต่อมใต้สมองและไฮโปทำลำมัส ในกระดูกสันหลังสร้ำงขึ้นมำให้ออกฤทธิ์ไปยับยั้งและบรรเทำควำมเจ็บปวดให้เรำ นั่นเอง ซึ่งกำรทำงำนของเอ็นดอร์ฟินจะคล้ำย ๆ กับกำรทำงำนของยำมอร์ฟีน (Morphine) ที่ในทำงกำรแพทย์จะใช้ฉีดระงับควำมเจ็บปวดให้คนไข้ และ นอกจำกจะมีบทบำทควบคุมควำมรู้สึกเจ็บปวดแล้ว เอ็นดอร์ฟิน ก็ยังควบคุมควำมรู้สึก หิว และเชื่อมโยงกับกำรผลิตฮอร์โมนเพศด้วย
  • 40. คอร์ติซอล...ฮอร์โมนแห่งความเครียด (แถมโรคอ้วน) ต้องบอกว่ำฮอร์โมนตัวนี้ตรงกันข้ำมกับ "เอ็นดอร์ฟิน" เลยล่ะ อย่ำงที่รู้กันว่ำคน ส่วนใหญ่อยำกมีฮอร์โมนเอ็นดอร์ฟินมำก ๆ จะได้มีควำมสุข แต่คงไม่มีใครอยำกมี ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) มำก ๆ แน่ เพรำะนี่เป็นฮอร์โมนที่จะถูกปล่อยออกมำ เมื่อเรำมีควำมเครียด แต่ถึงกระนั้น คอร์ติซอล ก็ถูกจัดเป็นฮอร์โมนที่จำเป็น (Essential Hormone) ที่มีควำมสำคัญต่อชีวิต หำกขำดไปก็จะส่งผลอย่ำง มำกต่อเซลล์ของร่ำงกำย สำหรับฮอร์โมนคอร์ติซอลนี้ถูกผลิตจำกต่อมหมวกไต และจะถูกสร้ำงมำกขึ้นใน ตอนเช้ำ เพื่อช่วยให้ร่ำงกำยตื่นตัว ช่วยให้หัวใจบีบตัวแรงขึ้น ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมอง และช่วยเพิ่มระดับน้ำตำลในกระแสเลือดด้วย เพื่อให้เรำพร้อมที่จะรับมือกับปัญหำ ระหว่ำงวัน ก่อนที่ระดับของฮอร์โมนจะค่อย ๆ ลดลง จนกระทั่งตกเย็น และนอนหลับไป