SlideShare a Scribd company logo
แนวปฏิ บ ั ต ิ ท ี ด ี ใ นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา : ด้ า น
                              กิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา
                    แนวปฏิ บ ั ต ิ ท ี ด ี (Best Practice)
    ในการนำ า งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาสู ่ ก ิ จ กรรมของ
                                    นั ก ศึ ก ษา
                คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี
                       วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ภ าคใต้
                               ปี ก ารศึ ก ษา 2554


บทนำา
      นักศึกษาในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงในการประกัน
คุณภาพการศึกษา คือเป็นผู้รับบริการ และเป็นผลผลิตสำาคัญของ
สถาบันอุดมศึกษาดังนั้นหน่วยงานต่าง ๆ ในสถาบันอุดมศึกษาจึงมีพันธ
กิจ สำาคัญในการทำาหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้กับ
ตัวนักศึกษา การที่นักศึกษาได้เข้ามา มีส่วนร่วมและเป็นพลังสำาคัญใน
การผลักดันงานประกันคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลมากขึ้น ซึ้งเป็นเหตุผลสำาคัญในการนำาประกันคุณภาพการ
ศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษาโดย ดำาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการ
ศึกษา (PDCA) ของคณะอย่างต่อเนื่อง
      คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ตระหนักถึงความสำาคัญของ
การประกันคุณภาพการศึกษา และมุ่งทีจะพัฒนางาน กระบวนการด้าน
การประกันคุณภาพฯ อย่างต่อเนือง ทั้งนี้ คณะฯ ยังคำานึงถึงการ พัฒนา
นักศึกษาโดยเฉพาะกิจกรรมของนักศึกษา โดยมีการจัดอบรมหรือ
สัมมนาเพื่อให้ความรู้เรื่องการ ประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจงานประกันคุณภาพฯ ในส่วนทีเกี่ยวกับ
นักศึกษา ทั้งนี้นักศึกษาต้องมีทักษะการประกันคุณภาพฯ เพื่อนำาไปปรับ
ใช้ในการดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยสอดคล้องกับกระบวนการ PDCA
(Plan – Do – Check – Act) เป็นสำาคัญ ดังนั้น
      คณะจึงได้เลือก แนวทางการดำาเนินการด้านการประกันคุณภาพ
การศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษาเพื่อให้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีต่อไป โดยเริ่มต้น
จากการถ่ายทอดความรู้และฝึกให้มีทักษะด้านการประกันคุณภาพฯ แก่
กลุ่มสโมสร นักศึกษาของคณะและผู้นำานักศึกษาในแต่ละหลักสูตรสาขา
วิชาของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลังจากนั้นนักศึกษาสามารถ
ที่จะใช้กระบวนการ PDCA มาดำาเนินกิจกรรมตามแผนงาน แล้วคณะจะ
ผลักดันนักศึกษาให้มีการสร้างเครือข่ายการประกันคุณภาพทั้งภายใน
และภายนอกสถาบันการศึกษารวมไปถึงการนำาผลการประเมินไป
พัฒนาการถ่ายทอดความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพเพื่อนำาไป
วางแผนในครั้งต่อไป
แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี เกี่ ยวกั บการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาสู่ กิ จกรรม
นักศึ กษา คณะวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้
ปฏิ บั ติ ตามแผนกลยุ ท ธ์ แ ละนโยบายด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
และด้ านการ พั ฒนานั ก ศึ ก ษาของคณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ปฏิ บั ติ ตามเกณฑ์ ตั ว บ่ ง ชี้ ของการประกั น
คุ ณภาพการศึ ก ษาโดยเน้ น ถ่ายทอดและฝึ ก ทั ก ษะแก่ นั กศึ กษาของคณะ
ให้ เข้ าใจกระบวนการ PDCA ร่วมกั นวางแผนการดำา เนิ นงาน (Plan)
ร่วมกั น ดำา เนิ นงานตามแผนที่ กำา หนดและจั ดให้ มี ก ารประเมิ น ย่ อ ย เพื่ อ
นำา ผลมาปรั บ ปรุ ง ในระหว่ างการดำา เนิ น กิ จ กรรม (Do & Check) มีการ
ประเมิ นผลรวมภายหลั ง การดำา เนิ นงานตามกิ จ กรรม / โครงการเสร็ จสิ้ น
และนำา ผลประเมิ น มาสรุ ป (Check) นำา ผลประเมิ น ไปปรั บ ปรุ งเพื่ อ
พั ฒนาการดำา เนิ นงาน ในครั้ งต่ อไปและนำา วางแผนงานต่ อ ไป (Action)
         แนวทางที่ ก่ อให้ เกิ ดแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี จากการดำา เนิ นงาน 3 ขันตอน
ข้างต้ นและระบบของแนวปฏิ บั ติ ที ดี ด้ านการประกั น คุ ณ ภาพสู่ กิจกรรม
นักศึ กษา คณะได้ ดำา เนิ น การส่ งเสริ มสนั บ สนุ น งานและวางแผนงานเพื่ อ
เอื้ อต่ อการปฏิ บั ติ และ ผลั กดั นให้ เกิ ดระบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพ
โดยมี องค์ ป ระกอบต่ า ง ๆ ดังนี้ วัตถุ ประสงค์ ในการดำา เนิ นงานประกั น
คุ ณภาพการศึ ก ษา คณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาลั ย
เทคโนโลยี ภาคใต้ ดำา เนิ นงานด้ า นประกั น คุณภาพการศึ ก ษา โดยมี เป้ า
หมายเพื่ อสร้ างความเป็ นเลิ ศ ทางวิ ช าการทั้ งในด้ า นการเรี ยน การสอน
การวิ จั ย การบริ การวิ ชาการ และการทำา นุ บำา รุ งศิ ล ปวั ฒ นธรรมอั น จะนำา
ไปสู่ การสร้ างความมั น ใจกั บ สั งคมว่ าได้ จั ด การศึ กษาอย่ า งมี คุ ณ ภาพ
และผลิ ตบั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ โดยกำา หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการดำา เนิ น
งานด้ านการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาดั งนี้
         1. เพื่ อพั ฒนาระบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน
คณะวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ใ ห้ มี
ประสิ ทธิ ภ าพ
         2. เพื่ อควบคุ มปั จจั ย ที่ มี ผ ลต่ อคุ ณ ภาพการศึ ก ษาให้ มี มาตรฐาน
         3. เพื่ อตรวจสอบและประเมิ น การดำา เนิ น งาน ของหน่ วยงาน
ภายในคณะในภาพรวมตามระบบ คุ ณภาพและกลไกการประเมิ น
คุ ณภาพที่ กำา หนดขึ้ นโดยวิ เ คราะห์ เ ปรี ยบเที ยบผลการดำา เนิ นงานตามตั ว
บ่งชี้ ในทุ ก องค์ ป ระกอบว่ าเป็ น ไปตามเกณฑ์ แ ละได้ ม าตรฐาน
         4. เพื่ อให้ หลั ก สู ต รสาขาวิ ชา และคณะทราบสถานภาพของตนเอง
อันจะนำา ไปสู่ การกำา หนดแนวทางในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพไปสู่ เป้ า หมาย
(target) และเป้ า ประสงค์ (goal) ที่ ตั้ งไว้
5. เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะทีเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ทำาให้มั่นใจว่า คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถสร้างผลผลิต
ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
       6. เพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้พร้อมสำาหรับ
การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) และการประเมินคุณภาพ (Quality
Assessment) โดยหน่วยงานภายนอก จากวัตถุประสงค์ของคณะ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำาให้นโยบายการดำาเนินงานด้านการ
ประกันคุณภาพการศึกษาตามมา ซึ่งบรรจุอยู่ในนโยบาย 5 ข้อ ที่เป็นจุด
เริ่มต้นในการนำาประกันคุณภาพ การศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษา (รายงาน
ประจำาปี 2553 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยี
ภาคใต้) และคณะยังจัดทำาแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ พ.ศ. 2554 (ฉบับปรับปรุง) ให้มี
ความทันสมัยและทันต่อสถานการณ์สังคมปัจจุบัน ทั้งนี้เพื่อให้สอดรับกับ
งานประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าประสงค์เพื่อแนวปฏิบัติที่ดีใน
การประกันคุณภาพการศึกษา ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ เป็นผู้มีความรู้
ความสามารถในทักษะวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ทั้งในระดับ
ชาติและนานาชาติและเพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ
คณะให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คณะจึงได้กำาหนดกลยุทธ์การพัฒนา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผูบริหารของคณะได้เลือกให้เป็นแนว
                                    ้
ปฏิบัติที่ดีด้านกิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพ คือ กลยุทธ์ ด้าน
พัฒนานักศึกษาและกลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพ รายละเอียดมีดังนี้
       1. กลยุทธ์ด้านพัฒนานักศึกษา วัตถุประสงค์ พัฒนานักศึกษาที่มี
คุณธรรมทีพึงประสงค์และเป็นไปตามคุณลักษณะที่กำาหนดในหลักสูตร
              1.1.จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาทั้งในด้าน
คุณธรรมจริยธรรม ด้านทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรม สืบสานงานตามแนว
พระราชดำาริและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น โครงการสืบสานประเพณี
สารทเดือนสิบเมืองนคร โครงการอนุรักษ์และสืบสานประเพณีวันลอย
กระทง โครงการรณรงค์การแต่งกายด้วยผ้าไทย โครงการสืบทอด
วัฒนธรรม “อาซูรอ” ฮ.ศ. ١٤٣٣ เป็นต้น
              1.2. พัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ให้อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถ แนะแนวด้านการศึกษา อาชีพและส่วนตัว
              1.3. สนับสนุนและส่งเสริมการดำาเนินงานของคณะกรรมการ
สโมสรนักศึกษา
              1.4. สนับสนุนและส่งเสริมการเสนอผลงานในระดับประเทศ
และนานาชาติของนักศึกษา ทุกหลักสูตรสาขาวิชา
1.5. สร้ างเครื อ ข่ า ยและจั ด โครงการแลกเปลี่ ยนนั ก ศึ ก ษากั บ
มหาวิ ทยาลั ย ในต่ า งประเทศ
                 1.6. สำา รวจติ ด ตามการมี ง านทำา ของนั ก ศึ ก ษา
                 1.7. อบรม / ถ่ายทอด ความรู้ เกี่ ยวกั บการประกั น คุ ณ ภาพ
ให้ กั บนั ก ศึ กษา
        2. กลยุ ทธ์ ด้ านการประกั น คุ ณ ภาพ วัตถุ ประสงค์ พัฒนาระบบ
ประกั นคุ ณ ภาพให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพทั้ งในระดั บ คณะ และหลั กสู ตรสาขา
วิชา กลวิ ธี
                 2.1. กำา หนดให้ ทุ ก หลั ก สู ต รบู ร ณาการดำา เนิ น งานควบคู่ ไปกั บ
        มาตรฐานคุ ณ ภาพ (สมศ. กพร.
และมหาวิ ท ยาลั ย ) และบริ หารงานโดยยึ ด วงจรคุ ณ ภาพเป็ น หลั ก (
วางแผนตามกรอบมาตรฐาน ดำา เนิ นงาน โดยยึ ดเป้ า หมาย ประเมิ นและ
ตรวจสอบการดำา เนิ น งาน และนำา ผลไปปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา )
                 2.2. กำา หนดให้ ค ณะ และหลั ก สู ต รสาขาวิ ชาจั ด ตั้ งฝ่ า ย
ประกั นคุ ณ ภาพ โดยมี คู่ มื อประกั น คุ ณ ภาพและเอกสารรายงานการ
ประเมิ นตนเองตามกำา หนดเวลา
                 2.3. ให้ ค ณะ และหลั กสู ตรสาขาวิ ช าจั ด ทำา แผนตามพั น ธกิ จ
และดำา เนิ น การ ต่อไปนี้
                       - แผนกลยุ ท ธ์ ระยะ 5 ปี
                       - แนวปฏิ บั ติ ที ดี ในการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
                       - แผนปฏิ บั ติ การตามกรอบมาตรฐานการศึ ก ษา
                       - แผนการเงิ น และงบประมาณ
                       - แผนการตรวจและติ ด ตามประเมิ น ผล
                       - แผนการจั ด การความรู้
                       - พั ฒนาฐานข้ อ มู ลสารสนเทศเพื่ อใช้ ใ นการบริ ห าร
จัดการทั้ งด้ านหลั กสู ตร อาจารย์ นักศึ กษาและอื่ นๆ
                 2.4. กำา หนดให้ มี ก ารปรั บ ปรุ งบริ ห ารจั ดการให้ ค รบถ้ ว นตาม
กระบวนการการประกั น คุ ณ ภาพ (PDCA) โดยทั้ ง 2 กลยุ ทธ์ นี้ มี ความ
สัมพั นธ์ กั นที สามารถนำา มาสร้ า งเป็ นแนวปฏิ บั ติ ที ดี กล่ าวคื อ นั ก ศึ กษา ได้
รับความรู้ ความเข้ า ใจและทั ก ษะด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาแล้ ว
สามารถนำา กระบวนการประกั น คุ ณ ภาพ (PDCA) เข้ามาดำา เนิ นงาน
กิจกรรมได้ ระบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ของคณะ
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ การประกั น
คุ ณภาพการศึ ก ษา ตามหลั กเป็ น การบริ การจั ด การของหน่ ว ยงานในการ
สร้ างขั้ นตอน การดำา เนิ นงานต่ า ง ๆ ทีมี ความสั ม พั นธ์ และเชื่ อมโยงกั น
อย่ างเป็ นระบบเพื่ อให้ เกิ ด 3 สิ่งสำา คั ญดั งนี้
                   1. การควบคุ ม คุ ณ ภาพ (Quality Control) เป็นการ
วางแผนและดำา เนิ นงานเพื่ อพั ฒ นาคุ ณ ภาพ
                   2. การตรวจสอบคุ ณ ภาพ (Quality Audit) เป็นการ
ตรวจสอบผลการดำา เนิ นงานตามหลั ก ฐาน หรื อร่ องรอยของการดำา เนิ น
งานตามแผน เพื่ อเป็ นการติ ด ตามความก้ า วหน้ า ของการดำา เนิ นงานต่ า ง
ๆ
                   3. การประเมิ น คุ ณ ภาพ (Quality Assessment) เป็ นการ
ประเมิ นผลการดำา เนิ น งานที่ ปฏิ บั ติ ตามกระบวนการประกั น คุ ณ ภาพ โดย
รับการประเมิ น คุ ณ ภาพจากกรรมการประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ทั้ งภายในและภายนอกสถานศึ ก ษา ระบบประกั น คุ ณ ภาพ กลไกการ
ประกั นคุ ณ ภาพ

การควบคุ ม คุ ณ ภาพ (Quality Control)
                  - การกำา หนดปรั ช ญา วิสัยทั ศน์ พั นธกิ จ นโยบาย
วัตถุ ประสงค์ ปณิ ธาน และการวางแผนปฏิ บั ติ งาน
                  - การแต่ งตั้ งคณะทำา งานรั บ ผิ ด ชอบตามพั น ธกิ จ
                  - การกำา หนดเกณฑ์ ม าตรฐานที่ มี ผ ลต่ อคุ ณ ภาพ
                  - การกำา หนดตั ว บ่ ง ชี้
                  - การกำา หนดเกณฑ์ ตั ดสิ น การตรวจสอบหรื อ การ
ประเมิ นคุ ณ ภาพ
                  - การดำา เนิ นงานเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพตามกระบวนการ
P-D-C-A
                  - การรวบรวมหลั ก ฐานอ้ างอิ งตามกิ จ กรรมที ทำา เป็ น
รายตั วบ่ งชี้

ระบบประกั น คุ ณ ภาพ กลไกการประกั น คุ ณ ภาพ
การตรวจสอบคุ ณ ภาพ (Quality Audit)
                   - สังเกตการปฏิ บั ติ งานจริ ง สัมภาษณ์ บุ ค ลากรที่
เกี่ ยวข้ อง ฯลฯ การตรวจดู ร ายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) ตลอดจน
รายงานประจำา ปี
                          1) การตรวจสอบคุ ณ ภาพโดยผู้ ตรวจสอบภายใน
(Internal Auditor)
2) การตรวจสอบคุ ณ ภาพโดยผู้ ตรวจสอบ
ภายนอก (External Auditor) การประเมิ นคุ ณ ภาพ (Quality Assessment)
                  - การประเมิ นคุ ณ ภาพภายใน โดยกั ลยาณมิ ต รทาง
วิชาการภายใน วิทยาลั ย และภายนอกวิ ท ยาลั ย เช่น บุคลากรจาก
ภายใน วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ บุคลากรภายนอกในกลุ่ มเครื อข่ าย
อุดมศึ กษาภาคใต้ ต อนบน กรรมการภายนอกจาก สกอ. เป็นต้ น ซึ่ งจะมี
การประเมิ น คุ ณภาพทุ ก ปี การศึ ก ษา/ปีงบประมาณ
                  - การประเมิ นคุ ณ ภาพภายนอก โดยสำา นั กงานรั บรอง
มาตรฐานและ ประเมิ นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา : สมศ.(องค์ การมหาชน ) ซึ่ ง
จะประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาทุ ก 5 ปี
ระบบและกลไกการให้ ค วามรู้ และทั ก ษะด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพแก่
นักศึ กษา
               1. คณบดี ป ระชุ ม กลุ่ ม ผู้ นำา นั กศึ กษาและนั ก ศึ ก ษาทำา ความ
เข้าใจเกี่ ยวกั บ ระบบประกั น คุ ณ ภาพของงาน ต่างๆ และฝ่ า ยกิ จ การ
นักศึ กษาของคณะดำา เนิ น การจั ดโครงการโดยให้ นั กศึ ก ษาเข้ า มามี ส่ วน
ร่วม
               2. กำา หนดตั ว บ่ ง ชี้ และดำา เนิ นการตามขั้ น ตอนการประเมิ น
ตามตั วบ่ งชี้
               3. แต่งตั้ งคณะกรรมการนั ก ศึ ก ษารั บ ผิ ด ชอบติ ด ตามประเมิ น
ผลการปฏิ บั ติ งานตามตั ว ชี้ วั ด
               4. สรุ ปผลการประเมิ นโครงการ เพื่ อนำา มาทำา รายงานสรุ ป
และนำา ผลเข้ า ประชุ มเพื่ อปรั บปรุ ง ต่ อไป
               5. นำา ผลการประเมิ น และข้ อเสนอแนะมาปรั บ ปรุ ง แผนการ
ปฏิ บั ติ งานให้ มี คุ ณ ภาพมากขึ้ น

แผนภู มิ ระบบกลไกการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
บทบาทนั กศึ ก ษากั บ การประกั น คุ ณ ภาพ
              1. บทบาทในการศึ ก ษา ติดตาม รับรู้ การดำา เนิ นงานประกั น
คุ ณภาพของคณะและมหาวิ ท ยาลั ย ทั้ งในภาพรวมและองค์ ป ระกอบใน
ส่วนที เกี่ ยวข้ องซึ่ งมี ผลต่ อ นั กศึ ก ษาโดยตรง ได้ แก่ องค์ ประกอบด้ านการ
เรียนการสอน ด้านกิ จ กรรมพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา ด้านการบริ ก ารวิ ช าการ
หรื อด้ านทำา นุ บำา รุ งและส่ งเสริ มศิ ลปวั ฒ นธรรม โดยควรศึ ก ษาว่ า คณะ /
มหาวิ ทยาลั ย ได้ กำา หนดนโยบายคุ ณ ภาพและแนวทางการ ดำา เนิ นงาน
ประกั นคุ ณ ภาพในแต่ ละองค์ ป ระกอบไว้ อ ย่ างไร คณบดี รองคณบดี ฝ่ า ย
กิจการนั ก ศึ ก ษา ประธานสโมสรนั ก ศึ ก ษา คณะกรรมการดำา เนิ น
กิจกรรมนั กศึ ก ษา คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพฝ่ า ยงานนั ก ศึ ก ษา
ติดตามประเมิ น การดำา เนิ นกิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา นำา ผลการประเมิ น มา
ปรั บปรุ ง การทำา งานในครั้ งต่ อไป เครื อข่ ายนั ก ศึ ก ษาภายนอก เครื อข่ าย
นักศึ กษาภายใน แผนกิ จ กรรม ปฏิ ทิ นปฏิ บั ติ งาน กิจกรรม ผลงาน
              2. บทบาทในการให้ ข้ อเสนอแนะการดำา เนิ น งานประกั น
คุ ณภาพต่ อ คณะ /มหาวิ ท ยาลั ยในส่ ว นที่ นั กศึ ก ษาพิ จ ารณาว่ า หากได้ มี
การกำา หนดตั ว บ่ งชี้ เพิ่ มเติ มในแต่ ละเรื อง จะก่ อให้ เกิ ด ประโยชน์ ห รื อเป็ น
การเพิ่ มประสิ ท ธิ ภาพในการดำา เนิ น งานมากยิ่ ง ขึ้ น
              3. บทบาทในการให้ ค วามร่ ว มมื อและให้ ข้ อมู ลย้ อนกลั บใน
       ส่วนที่ เกี่ ยวข้ องกั บ การประเมิ น การ
ดำา เนิ นงานประกั น คุ ณ ภาพ ซึ่ งคณะ/มหาวิ ท ยาลั ย ดำา เนิ น การด้ วยข้ อมู ล
ที่ ตรงไปตรงมา ให้ ข้ อเท็ จจริ งมาก
ทีสุ ด เพื่ อให้ ข้ อมู ล ความคิ ดเห็ น ของนั ก ศึ ก ษาเป็ น ข้ อ มู ล ที เ ชื่ อถื อได้ และ
เป็ นประโยชน์ ใ นการนำา มาใช้ ใ น
การพั ฒ นาการดำา เนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพของคณะ /วิทยาลั ย ในครั้ งต่ อ
ไป
                4. บทบาทในการสะท้ อ นภาพการดำา เนิ น งานของหน่ ว ยงาน
หรื อการดำา เนิ น บทบาทของคณาจารย์ และบุ ค ลากรต่ อ คณะ /
มหาวิ ทยาลั ย โดยตรง เพื่ อเป็ นการกระตุ้ นให้ ห น่ ว ยงานที เกี่ ยวข้ องได้
ปรั บปรุ งแนวทางการดำา เนิ น งานให้ เป็ นไปตามแนวทางการประกั น
คุ ณภาพต่ อ ไป
                5. บทบาทในการเผยแพร่ แ ละเชิ ญ ชวนให้ นั ก ศึ ก ษาในคณะ /
มหาวิ ทยาลั ย ได้ ให้ ความสนใจและให้ ค วามสำา คั ญ ในการดำา เนิ น งาน
ด้านประกั นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา
                6. บทบาทในการรวมกลุ่ มเพื่ อจั ดตั งสโมสรนั ก ศึ ก ษาของ
คณะเพื่ อส่ งเสริ มและสนั บ สนุ น การ ประกั น คุ ณ ภาพของคณะ /
มหาวิ ทยาลั ย เพื่ อสร้ างเครื อข่ ายในการร่ ว มติ ดตาม รับรู้ การดำา เนิ น งาน
ประกั นคุ ณ ภาพ สร้ างโอกาสในการแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้
เพื่ อสร้ างวิ สั ยทั ศน์ และโลกทั ศ น์ ด้ านกระบวนการประกั น คุ ณ ภาพ ทั้ ง
สนั บสนุ น ให้ การดำา เนิ นงานด้ า นประกั น คุ ณ ภาพมี ค วามเข้ มแข็ ง และก่ อ
ให้ เกิ ดประโยชน์ อ ย่ างแท้ จ ริ งแก่ นั ก ศึ ก ษาต่ อไป
                7. บทบาทในการส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษา และการ
        พั ฒนากระบวนการเรี ยนรู้
                        7.1 ให้ ข้ อมู ลแก่ ค ณะ /วิทยาลั ยเกี่ ยวกั บ การจั ด การเรี ย น
การสอนตามหลั ก สู ต รสาขาวิ ช า ทีสะท้ อนสภาพที เ กิ ด ขึ้ นจริ ง
                        7.2 ให้ ข้ อมู ลเกี่ ยวกั บคุ ณ ภาพการสอนของคณาจารย์
                และข้ อ มู ลที นำา ไปสู่ การเพิ่ ม
ประสิ ทธิ ภ าพการสอนของคณาจารย์
                        7.3 เสนอแนะรู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน
ทีสอดคล้ องกั บความต้ อ งการของผู้ เรี ยน
                        7.4 แสดงความสนใจในสิ่ งที่ ตนเองต้ องการเรี ย นรู้ ให้ ผู้
                สอนทราบ
                        7.5 ให้ ความร่ วมมื อในการเก็ บ ข้ อมู ล ของสถาบั น
                        7.6 พั ฒนาตนเองให้ อยู่ ในข่ า ยที จ ะได้ รั บการยกย่ อ ง
และทำา ตนไม่ ใ ห้ ค ณะ /วิทยาลั ยเสื่ อมเสี ยชื่ อเสี ยง
7.7 หาโอกาสในการสร้ างชื่ อเสี ยงในทางที่ ดี แก่ ค ณะ/
วิทยาลั ย ตามศั ก ยภาพของตนเอง
                         7.8 ช่วยให้ ข้ อมู ล และเผยแพร่ ข้ อ มู ล ของเพื่ อนั ก ศึ ก ษา
หรื อศิ ษย์ เก่ า ที ได้ รั บการยกย่ องให้ ส ถาบั น รั บ ทราบ
                         7.9 ให้ ข้ อมู ลต่ อคณะ /วิทยาลั ยเกี่ ยวกั บคุ ณ ภาพหรื อ
ความเหมาะสมของบริ ก ารที่ ค ณะ/ วิทยาลั ย จั ด ให้
                         7.10 เข้าร่ วมกิ จกรรมต่ า ง ๆ ที่ คณะ/วิทยาลั ยจั ดขึ้ นเพื่ อ
                พั ฒนาตนเอง
                         7.11 นำา กระบวนการคุ ณ ภาพไปใช้ ใ นการจั ด กิ จกรรม
                นักศึ กษา

แนวปฏิ บั ติ ที ดี (Best Practice) ในการนำา งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาสู่
กิจกรรมของนั ก ศึ ก ษา
ระดั บนั กศึ ก ษาของคณะและผู้ นำา นั กศึ กษา คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี
               1. กระบวนการส่ งเสริ ม กลไก การจั ดอบรม ให้ ความรู้ และ
ทั กษะการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาแก่ นั กศึ ก ษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี คณะได้ ดำา เนิ น การจั ด โครงการ “โครงการอบรมให้ ค วามรู้
และทั กษะด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพแก่ นั ก ศึ ก ษา” ในวั นจั น ทร์ ที่ ٢٩
ตุลาคม 2554 ณ ห้องประชุ ม ราชาวดี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ โดย
โครงการนี้ มุ่ งเน้ นให้ นั กศึ กษามี ความรู้ ความเข้ าใจ ทั กษะเกี่ ยวกั บงาน
ประกั นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา โดยการจั ด กิ จ กรรมครั้ งนี้ ได้ ร่ วมมื อ กั บ คณะ
อื่ นภายในวิ ท ยาลั ย เพื่ อให้ นั กศึ กษาเกิ ด กระบวนการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้
และเกิ ดเครื อ ข่ า ยภายในวิ ท ยาลั ย ขึ้ น ทั้ งกลุ่ มสโมสรนั ก ศึ ก ษาและผู้ นำา
นักศึ กษาเกิ ดความสนใจในการสร้ างเครื อ ข่ า ยภายนอกสถาบั น ด้ วย ซึ่ง
ต่อมานั กศึ กษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วิทยาลั ยเทคโนโลยี
ภาคใต้ ไ ด้ เข้ าร่ ว มโครงการการประชุ ม ผู้ นำา นั ก ศึ ก ษาเครื อ ข่ า ย
อุดมศึ กษาภาใต้ ต อนบน ซึ่ งเป็ นเครื อข่ ายประกั น คุ ณ ภาพสำา หรั บ
นักศึ กษาและได้ ลงนามข้ อ ตกลงความร่ วมมื อ ด้ า นเครื อ ข่ ายด้ านการ
ประกั นคุ ณ ภาพนั ก ศึ ก ษาระหว่ า งเครื อ ข่ า ยอุ ด มศึ ก ษาภาคใต้ ต อนบน
ได้ แก่ วิทยาลั ย ชุ ม ชนระนอง มหาวิ ทยาลั ย แม่ โ จ้ -ชุมพร มหาวิ ทยาลั ย
เทคโนโลยี ร าชมงคลศรี วิ ชั ย นครศรี ธรรมราช (ขนอม) มหาวิ ท ยาลั ย
เทคโนโลยี ร าชมงคลศรี วิ ชั ย ตรั ง มหาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยี ราชมงคลศรี
วิชั ย (ทุ่ งใหญ่ ) ศูนย์ วิ ทยพั ฒ นา มหาวิ ทยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ราช
มหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต มหาวิ ทยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตสุ
ราษฏร์ ธานี มหาวิ ทยาลั ยราชภั ฏ สุ ร าษฏร์ ธานี วิทยาลั ยชุ มชนพั ง งา
เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง วิทยาลั ย พยาบาลบรม
ราชชนนี ตรั ง วิทยาลั ย พยาบาลบรมราชชนนี นครศรี ธรรมราช
มหาวิ ทยาลั ย วลั ยลั ก ษณ์ มหาวิ ทยาลั ยราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช
มหาวิ ทยาลั ย จุ ฬ าลงกรราชวิ ท ยาลั ย วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ซึ่งใน
ครั้ งนี้ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราชเป็ นเจ้ า ภาพในการจั ด โดยมี
กำา หนดเมื่ อ วันที่ 8 – 10 พฤษภาคม 2555 ณ ห้องประชุ ม พรหมโยธี
อาคาร١٩ ชั้ น ٤ สำา นั กวิ ทยบริ ก ารและเทคโนโลยี ส ารสนเทศ
มหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธรรมราช ซึ่ งนั กศึ ก ษาที่ ผ่ านการอบรมมา
นั้ นสามารถที่ จะจั ดกิ จกรรม โครงการโดยใช้ ก ระบวนการประกั น
คุ ณภาพ (PDCA) มาดำา เนิ นการ

เอกสารหลั ก ฐาน
                     1.1 รายงานสรุ ป ผลโครงการ “โครงการอบรมให้ ค วาม
รู้และทั กษะด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพแก่ นั ก ศึ ก ษา”
                     1.2 เอกสารประกอบการเข้ าโครงการ การประชุ ม ผู้ นำา
นักศึ กษาเครื อ ข่ า ยอุ ด มศึ ก ษาภาใต้ ต อนบน
                     1.3 ภาพการดำา เนิ น โครงการค่ า ยเครื อ ข่ า ยประกั น
คุ ณภาพสำา หรั บ นั ก ศึ ก ษา
                     1.4 แบบเสนอโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั นกี ฬ า
วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ”

                2. การจั ดโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั น กี ฬ าวิ ท ยาลั ย
เทคโนโลยี ภาคใต้ ” โดยใช้ ก ระบวนการ (PDCA) ฝ่ายกิ จการนั ก ศึ ก ษา
คณะวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ด้ เปิ ดโอกาสให้ นั กศึ ก ษาของ คณะ
ดำา เนิ น การเสนอโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั นกี ฬ าวิ ท ยาลั ย
เทคโนโลยี ภาคใต้ ” ต่อคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี จากนั้ นคณะ
กรรมการนั ก ศึ ก ษาได้ จั ดประชุ มเพื่ อวางแผนงาน กำา หนด ระยะเวลาใน
การจั ดกิ จกรรม รวมไปถึ งการใช้ งบประมาณจากวิ ท ยาลั ยเพื่ อ ดำา เนิ น
โครงการ โดยมี อาจารย์ ที่ ปรึ กษาโครงการเป็ น ผู้ ดู แลการดำา เนิ น
โครงการ ในระหว่ างการดำา เนิ น งานจะมี ก ารประเมิ น ผลย่ อ ยคื อ การ
ประชุ ม ย่ อยเพื่ อปรั บรู ป แบบให้ เ ป็ น ไปตามสถานการณ์ ที่ เกิ ด ขึ้ น หลั ง
เสร็ จสิ้ นโครงการมี ก ารประเมิ น ผลโดยรวม ซึ่ งประเมิ น ทั้ งผู้ จัดโครงการ
และผู้ เข้ าร่ วมโครงการด้ วย แล้ ว นำา ผลการประเมิ น ที่ ได้ มาสรุ ปเป็ น
รายงานต่ อ คณะฯ คณะกรรมการดำา เนิ น การสรุ ป และวางแผนสำา หรั บ การ
จัดในครั้ งต่ อไป โดยภาพรวมกิ จ กรรมนี้ ป ระสบความสำา เร็ จในด้ าน
การนำา กระบวนการ PDCA มาใช้ และอาจนำา ไปสู่ การขยายผลต่ อ ใน
การดำา เนิ นงานโครงการต่ อไป

เอกสารหลั ก ฐาน
                   2.1 รายงานสรุ ป ผลโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั น
กี ฬาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ”
                   2.2 การเตรี ยมงานเพื่ อรองรั บโครงการค่ า ยเครื อ ข่ า ย
ประกั นคุ ณ ภาพสำา หรั บ นั ก ศึ ก ษา

                3. การนำา ผลการประเมิ นไปพั ฒ นากระบวนการให้ ค วามรู้
และกลไก ดำา เนิ นงานประกั น คุ ณ ภาพที่ เกี่ ยวข้ องกั บนั กศึ ก ษา หลั งจาก
การสรุ ปงานโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั น กี ฬาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยี
ภาคใต้ ” แล้ ว ฝ่ายกิ จ การนั ก ศึ ก ษา และสโมสรนั ก ศึ ก ษาของคณะฯ ได้
ดำา เนิ น การสรุ ป ผลการดำา เนิ น งาน และนำา ข้ อเสนอแนะของนั ก ศึ ก ษา
และข้ อ คิ ดเห็ น ของผู้ มาเข้ าร่ วมโครงการไปใช้ ใ นการดำา เนิ น การ
รายงานผลโครงการ เพื่ อพั ฒ นา กระบวนการเรี ย นรู้ ของกลุ่ มนั ก ศึ ก ษา
เพื่ อให้ เกิ ดความต่ อเนื่ องตามกระบวนการ PDCA และเพื่ อเป็ นการ
วางแผนการดำา เนิ นงานในปี ต่ อ ไป

เอกสารหลั ก ฐาน
                   3.1 รายงานสรุ ป ผลโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั น
กี ฬาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ”


แหล่ งข้ อมู ล อ้ างอิ ง

มหาวิ ทยาลั ย พายั พ สำา นั กงานประกั น คุ ณ ภาพ . ตัวชี้ วั ดการประกั น
คุ ณภาพการศึ ก ษา (ระดั บองค์ กร
นักศึ กษา): บทนำา เชียงใหม่ : สำา นั กงานประกั น คุ ณ ภาพ มหาวิ ทยาลั ย .

มหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ อุ บลราชธานี คณะบริ หารธุ รกิ จและการจั ด การ . (27
พฤษภาคม 2554). การ
ประกั นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา : ความหมาย . 27 พฤษภาคม 2554. [ออน-
ไลน์ ]. แหล่ งที่ มา
http://bba.ubru.ac.th/home2/index.php/quality-assurance

สถาบั นเทคโนโลยี ไ ทย – ญี่ ปุ่ น . (27 พฤษภาคม 2554). งานประกั น
คุ ณภาพ . [ออน-ไลน์ ].

แหล่ งที่ มา http://qa.tni.ac.th/index.php?
option=com_content&view=article&id=50&Itemid=89

More Related Content

What's hot

แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
จุลี สร้อยญานะ
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Mechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA AlignmentMechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA Alignment
Sarawoot Watechagit
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนnokhongkhum
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนนางดวงใจ ฝุ่นแก้ว
 
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceEdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceSajee Sirikrai
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
วราภรณ์ อุ่นเที่ยว
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
kruskru
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
Chowwalit Chookhampaeng
 
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธินสรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
It Sdu
 
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
Sarawoot Watechagit
 
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlpanida428
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Piyapong Chaichana
 

What's hot (18)

แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
Mechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA AlignmentMechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA Alignment
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceEdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธินสรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
สรุปข้อมูลจากบทความ รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน
 
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
 
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 

Viewers also liked

Maintaining scholarly standards in the digital age: Publishing historical gaz...
Maintaining scholarly standards in the digital age: Publishing historical gaz...Maintaining scholarly standards in the digital age: Publishing historical gaz...
Maintaining scholarly standards in the digital age: Publishing historical gaz...
Humphrey Southall
 
Individual concept mapping exercise # 1
Individual concept mapping exercise # 1Individual concept mapping exercise # 1
Individual concept mapping exercise # 1
_magister_magi_
 
Graded assignment # 6
Graded assignment # 6Graded assignment # 6
Graded assignment # 6
_magister_magi_
 
How Open Source and Open Standards will Create a Successful M2M Ecosystem
 How Open Source and Open Standards will Create a Successful M2M Ecosystem  How Open Source and Open Standards will Create a Successful M2M Ecosystem
How Open Source and Open Standards will Create a Successful M2M Ecosystem
Ian Skerrett
 
ICT4D Principle 6 - Open Standards, Open Data, Open Source, & Open Innovation
ICT4D Principle 6 - Open Standards, Open Data, Open Source, & Open InnovationICT4D Principle 6 - Open Standards, Open Data, Open Source, & Open Innovation
ICT4D Principle 6 - Open Standards, Open Data, Open Source, & Open Innovation
msissine
 
2 pc enterprise summit cronin newfinal aug 18
2 pc enterprise summit cronin newfinal aug 182 pc enterprise summit cronin newfinal aug 18
2 pc enterprise summit cronin newfinal aug 18
IntelAPAC
 
Open Source vs. Open Standards by Sage Weil
Open Source vs. Open Standards by Sage WeilOpen Source vs. Open Standards by Sage Weil
Open Source vs. Open Standards by Sage Weil
Red_Hat_Storage
 

Viewers also liked (7)

Maintaining scholarly standards in the digital age: Publishing historical gaz...
Maintaining scholarly standards in the digital age: Publishing historical gaz...Maintaining scholarly standards in the digital age: Publishing historical gaz...
Maintaining scholarly standards in the digital age: Publishing historical gaz...
 
Individual concept mapping exercise # 1
Individual concept mapping exercise # 1Individual concept mapping exercise # 1
Individual concept mapping exercise # 1
 
Graded assignment # 6
Graded assignment # 6Graded assignment # 6
Graded assignment # 6
 
How Open Source and Open Standards will Create a Successful M2M Ecosystem
 How Open Source and Open Standards will Create a Successful M2M Ecosystem  How Open Source and Open Standards will Create a Successful M2M Ecosystem
How Open Source and Open Standards will Create a Successful M2M Ecosystem
 
ICT4D Principle 6 - Open Standards, Open Data, Open Source, & Open Innovation
ICT4D Principle 6 - Open Standards, Open Data, Open Source, & Open InnovationICT4D Principle 6 - Open Standards, Open Data, Open Source, & Open Innovation
ICT4D Principle 6 - Open Standards, Open Data, Open Source, & Open Innovation
 
2 pc enterprise summit cronin newfinal aug 18
2 pc enterprise summit cronin newfinal aug 182 pc enterprise summit cronin newfinal aug 18
2 pc enterprise summit cronin newfinal aug 18
 
Open Source vs. Open Standards by Sage Weil
Open Source vs. Open Standards by Sage WeilOpen Source vs. Open Standards by Sage Weil
Open Source vs. Open Standards by Sage Weil
 

Similar to แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา

ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
paween
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2kruliew
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
kruliew
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนyana54
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
Kanchit004
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
JiruttiPommeChuaikho
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai40
 
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqfการประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
Prachyanun Nilsook
 
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา (20)

ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
Km kmutnb2
Km kmutnb2Km kmutnb2
Km kmutnb2
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
Organization intelligence2
Organization intelligence2Organization intelligence2
Organization intelligence2
 
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqfการประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
 

แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา

  • 1. แนวปฏิ บ ั ต ิ ท ี ด ี ใ นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา : ด้ า น กิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา แนวปฏิ บ ั ต ิ ท ี ด ี (Best Practice) ในการนำ า งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาสู ่ ก ิ จ กรรมของ นั ก ศึ ก ษา คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ภ าคใต้ ปี ก ารศึ ก ษา 2554 บทนำา นักศึกษาในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงในการประกัน คุณภาพการศึกษา คือเป็นผู้รับบริการ และเป็นผลผลิตสำาคัญของ สถาบันอุดมศึกษาดังนั้นหน่วยงานต่าง ๆ ในสถาบันอุดมศึกษาจึงมีพันธ กิจ สำาคัญในการทำาหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้กับ ตัวนักศึกษา การที่นักศึกษาได้เข้ามา มีส่วนร่วมและเป็นพลังสำาคัญใน การผลักดันงานประกันคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากขึ้น ซึ้งเป็นเหตุผลสำาคัญในการนำาประกันคุณภาพการ ศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษาโดย ดำาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการ ศึกษา (PDCA) ของคณะอย่างต่อเนื่อง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ตระหนักถึงความสำาคัญของ การประกันคุณภาพการศึกษา และมุ่งทีจะพัฒนางาน กระบวนการด้าน การประกันคุณภาพฯ อย่างต่อเนือง ทั้งนี้ คณะฯ ยังคำานึงถึงการ พัฒนา นักศึกษาโดยเฉพาะกิจกรรมของนักศึกษา โดยมีการจัดอบรมหรือ สัมมนาเพื่อให้ความรู้เรื่องการ ประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจงานประกันคุณภาพฯ ในส่วนทีเกี่ยวกับ นักศึกษา ทั้งนี้นักศึกษาต้องมีทักษะการประกันคุณภาพฯ เพื่อนำาไปปรับ ใช้ในการดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยสอดคล้องกับกระบวนการ PDCA (Plan – Do – Check – Act) เป็นสำาคัญ ดังนั้น คณะจึงได้เลือก แนวทางการดำาเนินการด้านการประกันคุณภาพ การศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษาเพื่อให้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีต่อไป โดยเริ่มต้น จากการถ่ายทอดความรู้และฝึกให้มีทักษะด้านการประกันคุณภาพฯ แก่ กลุ่มสโมสร นักศึกษาของคณะและผู้นำานักศึกษาในแต่ละหลักสูตรสาขา วิชาของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลังจากนั้นนักศึกษาสามารถ ที่จะใช้กระบวนการ PDCA มาดำาเนินกิจกรรมตามแผนงาน แล้วคณะจะ
  • 3. แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี เกี่ ยวกั บการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาสู่ กิ จกรรม นักศึ กษา คณะวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ปฏิ บั ติ ตามแผนกลยุ ท ธ์ แ ละนโยบายด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา และด้ านการ พั ฒนานั ก ศึ ก ษาของคณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ปฏิ บั ติ ตามเกณฑ์ ตั ว บ่ ง ชี้ ของการประกั น คุ ณภาพการศึ ก ษาโดยเน้ น ถ่ายทอดและฝึ ก ทั ก ษะแก่ นั กศึ กษาของคณะ ให้ เข้ าใจกระบวนการ PDCA ร่วมกั นวางแผนการดำา เนิ นงาน (Plan) ร่วมกั น ดำา เนิ นงานตามแผนที่ กำา หนดและจั ดให้ มี ก ารประเมิ น ย่ อ ย เพื่ อ นำา ผลมาปรั บ ปรุ ง ในระหว่ างการดำา เนิ น กิ จ กรรม (Do & Check) มีการ ประเมิ นผลรวมภายหลั ง การดำา เนิ นงานตามกิ จ กรรม / โครงการเสร็ จสิ้ น และนำา ผลประเมิ น มาสรุ ป (Check) นำา ผลประเมิ น ไปปรั บ ปรุ งเพื่ อ พั ฒนาการดำา เนิ นงาน ในครั้ งต่ อไปและนำา วางแผนงานต่ อ ไป (Action) แนวทางที่ ก่ อให้ เกิ ดแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี จากการดำา เนิ นงาน 3 ขันตอน ข้างต้ นและระบบของแนวปฏิ บั ติ ที ดี ด้ านการประกั น คุ ณ ภาพสู่ กิจกรรม นักศึ กษา คณะได้ ดำา เนิ น การส่ งเสริ มสนั บ สนุ น งานและวางแผนงานเพื่ อ เอื้ อต่ อการปฏิ บั ติ และ ผลั กดั นให้ เกิ ดระบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพ โดยมี องค์ ป ระกอบต่ า ง ๆ ดังนี้ วัตถุ ประสงค์ ในการดำา เนิ นงานประกั น คุ ณภาพการศึ ก ษา คณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาลั ย เทคโนโลยี ภาคใต้ ดำา เนิ นงานด้ า นประกั น คุณภาพการศึ ก ษา โดยมี เป้ า หมายเพื่ อสร้ างความเป็ นเลิ ศ ทางวิ ช าการทั้ งในด้ า นการเรี ยน การสอน การวิ จั ย การบริ การวิ ชาการ และการทำา นุ บำา รุ งศิ ล ปวั ฒ นธรรมอั น จะนำา ไปสู่ การสร้ างความมั น ใจกั บ สั งคมว่ าได้ จั ด การศึ กษาอย่ า งมี คุ ณ ภาพ และผลิ ตบั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ โดยกำา หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการดำา เนิ น งานด้ านการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาดั งนี้ 1. เพื่ อพั ฒนาระบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน คณะวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ใ ห้ มี ประสิ ทธิ ภ าพ 2. เพื่ อควบคุ มปั จจั ย ที่ มี ผ ลต่ อคุ ณ ภาพการศึ ก ษาให้ มี มาตรฐาน 3. เพื่ อตรวจสอบและประเมิ น การดำา เนิ น งาน ของหน่ วยงาน ภายในคณะในภาพรวมตามระบบ คุ ณภาพและกลไกการประเมิ น คุ ณภาพที่ กำา หนดขึ้ นโดยวิ เ คราะห์ เ ปรี ยบเที ยบผลการดำา เนิ นงานตามตั ว บ่งชี้ ในทุ ก องค์ ป ระกอบว่ าเป็ น ไปตามเกณฑ์ แ ละได้ ม าตรฐาน 4. เพื่ อให้ หลั ก สู ต รสาขาวิ ชา และคณะทราบสถานภาพของตนเอง อันจะนำา ไปสู่ การกำา หนดแนวทางในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพไปสู่ เป้ า หมาย (target) และเป้ า ประสงค์ (goal) ที่ ตั้ งไว้
  • 4. 5. เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะทีเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทำาให้มั่นใจว่า คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถสร้างผลผลิต ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ 6. เพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้พร้อมสำาหรับ การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) และการประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) โดยหน่วยงานภายนอก จากวัตถุประสงค์ของคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำาให้นโยบายการดำาเนินงานด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษาตามมา ซึ่งบรรจุอยู่ในนโยบาย 5 ข้อ ที่เป็นจุด เริ่มต้นในการนำาประกันคุณภาพ การศึกษาสู่กิจกรรมนักศึกษา (รายงาน ประจำาปี 2553 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยี ภาคใต้) และคณะยังจัดทำาแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ พ.ศ. 2554 (ฉบับปรับปรุง) ให้มี ความทันสมัยและทันต่อสถานการณ์สังคมปัจจุบัน ทั้งนี้เพื่อให้สอดรับกับ งานประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าประสงค์เพื่อแนวปฏิบัติที่ดีใน การประกันคุณภาพการศึกษา ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในทักษะวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ทั้งในระดับ ชาติและนานาชาติและเพื่อพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ คณะให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คณะจึงได้กำาหนดกลยุทธ์การพัฒนา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผูบริหารของคณะได้เลือกให้เป็นแนว ้ ปฏิบัติที่ดีด้านกิจกรรมนักศึกษากับการประกันคุณภาพ คือ กลยุทธ์ ด้าน พัฒนานักศึกษาและกลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพ รายละเอียดมีดังนี้ 1. กลยุทธ์ด้านพัฒนานักศึกษา วัตถุประสงค์ พัฒนานักศึกษาที่มี คุณธรรมทีพึงประสงค์และเป็นไปตามคุณลักษณะที่กำาหนดในหลักสูตร 1.1.จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาทั้งในด้าน คุณธรรมจริยธรรม ด้านทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรม สืบสานงานตามแนว พระราชดำาริและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น โครงการสืบสานประเพณี สารทเดือนสิบเมืองนคร โครงการอนุรักษ์และสืบสานประเพณีวันลอย กระทง โครงการรณรงค์การแต่งกายด้วยผ้าไทย โครงการสืบทอด วัฒนธรรม “อาซูรอ” ฮ.ศ. ١٤٣٣ เป็นต้น 1.2. พัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ให้อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถ แนะแนวด้านการศึกษา อาชีพและส่วนตัว 1.3. สนับสนุนและส่งเสริมการดำาเนินงานของคณะกรรมการ สโมสรนักศึกษา 1.4. สนับสนุนและส่งเสริมการเสนอผลงานในระดับประเทศ และนานาชาติของนักศึกษา ทุกหลักสูตรสาขาวิชา
  • 5. 1.5. สร้ างเครื อ ข่ า ยและจั ด โครงการแลกเปลี่ ยนนั ก ศึ ก ษากั บ มหาวิ ทยาลั ย ในต่ า งประเทศ 1.6. สำา รวจติ ด ตามการมี ง านทำา ของนั ก ศึ ก ษา 1.7. อบรม / ถ่ายทอด ความรู้ เกี่ ยวกั บการประกั น คุ ณ ภาพ ให้ กั บนั ก ศึ กษา 2. กลยุ ทธ์ ด้ านการประกั น คุ ณ ภาพ วัตถุ ประสงค์ พัฒนาระบบ ประกั นคุ ณ ภาพให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพทั้ งในระดั บ คณะ และหลั กสู ตรสาขา วิชา กลวิ ธี 2.1. กำา หนดให้ ทุ ก หลั ก สู ต รบู ร ณาการดำา เนิ น งานควบคู่ ไปกั บ มาตรฐานคุ ณ ภาพ (สมศ. กพร. และมหาวิ ท ยาลั ย ) และบริ หารงานโดยยึ ด วงจรคุ ณ ภาพเป็ น หลั ก ( วางแผนตามกรอบมาตรฐาน ดำา เนิ นงาน โดยยึ ดเป้ า หมาย ประเมิ นและ ตรวจสอบการดำา เนิ น งาน และนำา ผลไปปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา ) 2.2. กำา หนดให้ ค ณะ และหลั ก สู ต รสาขาวิ ชาจั ด ตั้ งฝ่ า ย ประกั นคุ ณ ภาพ โดยมี คู่ มื อประกั น คุ ณ ภาพและเอกสารรายงานการ ประเมิ นตนเองตามกำา หนดเวลา 2.3. ให้ ค ณะ และหลั กสู ตรสาขาวิ ช าจั ด ทำา แผนตามพั น ธกิ จ และดำา เนิ น การ ต่อไปนี้ - แผนกลยุ ท ธ์ ระยะ 5 ปี - แนวปฏิ บั ติ ที ดี ในการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา - แผนปฏิ บั ติ การตามกรอบมาตรฐานการศึ ก ษา - แผนการเงิ น และงบประมาณ - แผนการตรวจและติ ด ตามประเมิ น ผล - แผนการจั ด การความรู้ - พั ฒนาฐานข้ อ มู ลสารสนเทศเพื่ อใช้ ใ นการบริ ห าร จัดการทั้ งด้ านหลั กสู ตร อาจารย์ นักศึ กษาและอื่ นๆ 2.4. กำา หนดให้ มี ก ารปรั บ ปรุ งบริ ห ารจั ดการให้ ค รบถ้ ว นตาม กระบวนการการประกั น คุ ณ ภาพ (PDCA) โดยทั้ ง 2 กลยุ ทธ์ นี้ มี ความ สัมพั นธ์ กั นที สามารถนำา มาสร้ า งเป็ นแนวปฏิ บั ติ ที ดี กล่ าวคื อ นั ก ศึ กษา ได้ รับความรู้ ความเข้ า ใจและทั ก ษะด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาแล้ ว สามารถนำา กระบวนการประกั น คุ ณ ภาพ (PDCA) เข้ามาดำา เนิ นงาน กิจกรรมได้ ระบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ของคณะ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ การประกั น คุ ณภาพการศึ ก ษา ตามหลั กเป็ น การบริ การจั ด การของหน่ ว ยงานในการ
  • 6. สร้ างขั้ นตอน การดำา เนิ นงานต่ า ง ๆ ทีมี ความสั ม พั นธ์ และเชื่ อมโยงกั น อย่ างเป็ นระบบเพื่ อให้ เกิ ด 3 สิ่งสำา คั ญดั งนี้ 1. การควบคุ ม คุ ณ ภาพ (Quality Control) เป็นการ วางแผนและดำา เนิ นงานเพื่ อพั ฒ นาคุ ณ ภาพ 2. การตรวจสอบคุ ณ ภาพ (Quality Audit) เป็นการ ตรวจสอบผลการดำา เนิ นงานตามหลั ก ฐาน หรื อร่ องรอยของการดำา เนิ น งานตามแผน เพื่ อเป็ นการติ ด ตามความก้ า วหน้ า ของการดำา เนิ นงานต่ า ง ๆ 3. การประเมิ น คุ ณ ภาพ (Quality Assessment) เป็ นการ ประเมิ นผลการดำา เนิ น งานที่ ปฏิ บั ติ ตามกระบวนการประกั น คุ ณ ภาพ โดย รับการประเมิ น คุ ณ ภาพจากกรรมการประเมิ น ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ทั้ งภายในและภายนอกสถานศึ ก ษา ระบบประกั น คุ ณ ภาพ กลไกการ ประกั นคุ ณ ภาพ การควบคุ ม คุ ณ ภาพ (Quality Control) - การกำา หนดปรั ช ญา วิสัยทั ศน์ พั นธกิ จ นโยบาย วัตถุ ประสงค์ ปณิ ธาน และการวางแผนปฏิ บั ติ งาน - การแต่ งตั้ งคณะทำา งานรั บ ผิ ด ชอบตามพั น ธกิ จ - การกำา หนดเกณฑ์ ม าตรฐานที่ มี ผ ลต่ อคุ ณ ภาพ - การกำา หนดตั ว บ่ ง ชี้ - การกำา หนดเกณฑ์ ตั ดสิ น การตรวจสอบหรื อ การ ประเมิ นคุ ณ ภาพ - การดำา เนิ นงานเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพตามกระบวนการ P-D-C-A - การรวบรวมหลั ก ฐานอ้ างอิ งตามกิ จ กรรมที ทำา เป็ น รายตั วบ่ งชี้ ระบบประกั น คุ ณ ภาพ กลไกการประกั น คุ ณ ภาพ การตรวจสอบคุ ณ ภาพ (Quality Audit) - สังเกตการปฏิ บั ติ งานจริ ง สัมภาษณ์ บุ ค ลากรที่ เกี่ ยวข้ อง ฯลฯ การตรวจดู ร ายงานการประเมิ น ตนเอง (SAR) ตลอดจน รายงานประจำา ปี 1) การตรวจสอบคุ ณ ภาพโดยผู้ ตรวจสอบภายใน (Internal Auditor)
  • 7. 2) การตรวจสอบคุ ณ ภาพโดยผู้ ตรวจสอบ ภายนอก (External Auditor) การประเมิ นคุ ณ ภาพ (Quality Assessment) - การประเมิ นคุ ณ ภาพภายใน โดยกั ลยาณมิ ต รทาง วิชาการภายใน วิทยาลั ย และภายนอกวิ ท ยาลั ย เช่น บุคลากรจาก ภายใน วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ บุคลากรภายนอกในกลุ่ มเครื อข่ าย อุดมศึ กษาภาคใต้ ต อนบน กรรมการภายนอกจาก สกอ. เป็นต้ น ซึ่ งจะมี การประเมิ น คุ ณภาพทุ ก ปี การศึ ก ษา/ปีงบประมาณ - การประเมิ นคุ ณ ภาพภายนอก โดยสำา นั กงานรั บรอง มาตรฐานและ ประเมิ นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา : สมศ.(องค์ การมหาชน ) ซึ่ ง จะประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาทุ ก 5 ปี
  • 8. ระบบและกลไกการให้ ค วามรู้ และทั ก ษะด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพแก่ นักศึ กษา 1. คณบดี ป ระชุ ม กลุ่ ม ผู้ นำา นั กศึ กษาและนั ก ศึ ก ษาทำา ความ เข้าใจเกี่ ยวกั บ ระบบประกั น คุ ณ ภาพของงาน ต่างๆ และฝ่ า ยกิ จ การ นักศึ กษาของคณะดำา เนิ น การจั ดโครงการโดยให้ นั กศึ ก ษาเข้ า มามี ส่ วน ร่วม 2. กำา หนดตั ว บ่ ง ชี้ และดำา เนิ นการตามขั้ น ตอนการประเมิ น ตามตั วบ่ งชี้ 3. แต่งตั้ งคณะกรรมการนั ก ศึ ก ษารั บ ผิ ด ชอบติ ด ตามประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ งานตามตั ว ชี้ วั ด 4. สรุ ปผลการประเมิ นโครงการ เพื่ อนำา มาทำา รายงานสรุ ป และนำา ผลเข้ า ประชุ มเพื่ อปรั บปรุ ง ต่ อไป 5. นำา ผลการประเมิ น และข้ อเสนอแนะมาปรั บ ปรุ ง แผนการ ปฏิ บั ติ งานให้ มี คุ ณ ภาพมากขึ้ น แผนภู มิ ระบบกลไกการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา บทบาทนั กศึ ก ษากั บ การประกั น คุ ณ ภาพ 1. บทบาทในการศึ ก ษา ติดตาม รับรู้ การดำา เนิ นงานประกั น คุ ณภาพของคณะและมหาวิ ท ยาลั ย ทั้ งในภาพรวมและองค์ ป ระกอบใน ส่วนที เกี่ ยวข้ องซึ่ งมี ผลต่ อ นั กศึ ก ษาโดยตรง ได้ แก่ องค์ ประกอบด้ านการ เรียนการสอน ด้านกิ จ กรรมพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา ด้านการบริ ก ารวิ ช าการ หรื อด้ านทำา นุ บำา รุ งและส่ งเสริ มศิ ลปวั ฒ นธรรม โดยควรศึ ก ษาว่ า คณะ / มหาวิ ทยาลั ย ได้ กำา หนดนโยบายคุ ณ ภาพและแนวทางการ ดำา เนิ นงาน ประกั นคุ ณ ภาพในแต่ ละองค์ ป ระกอบไว้ อ ย่ างไร คณบดี รองคณบดี ฝ่ า ย กิจการนั ก ศึ ก ษา ประธานสโมสรนั ก ศึ ก ษา คณะกรรมการดำา เนิ น กิจกรรมนั กศึ ก ษา คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพฝ่ า ยงานนั ก ศึ ก ษา ติดตามประเมิ น การดำา เนิ นกิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา นำา ผลการประเมิ น มา ปรั บปรุ ง การทำา งานในครั้ งต่ อไป เครื อข่ ายนั ก ศึ ก ษาภายนอก เครื อข่ าย นักศึ กษาภายใน แผนกิ จ กรรม ปฏิ ทิ นปฏิ บั ติ งาน กิจกรรม ผลงาน 2. บทบาทในการให้ ข้ อเสนอแนะการดำา เนิ น งานประกั น คุ ณภาพต่ อ คณะ /มหาวิ ท ยาลั ยในส่ ว นที่ นั กศึ ก ษาพิ จ ารณาว่ า หากได้ มี การกำา หนดตั ว บ่ งชี้ เพิ่ มเติ มในแต่ ละเรื อง จะก่ อให้ เกิ ด ประโยชน์ ห รื อเป็ น การเพิ่ มประสิ ท ธิ ภาพในการดำา เนิ น งานมากยิ่ ง ขึ้ น 3. บทบาทในการให้ ค วามร่ ว มมื อและให้ ข้ อมู ลย้ อนกลั บใน ส่วนที่ เกี่ ยวข้ องกั บ การประเมิ น การ
  • 9. ดำา เนิ นงานประกั น คุ ณ ภาพ ซึ่ งคณะ/มหาวิ ท ยาลั ย ดำา เนิ น การด้ วยข้ อมู ล ที่ ตรงไปตรงมา ให้ ข้ อเท็ จจริ งมาก ทีสุ ด เพื่ อให้ ข้ อมู ล ความคิ ดเห็ น ของนั ก ศึ ก ษาเป็ น ข้ อ มู ล ที เ ชื่ อถื อได้ และ เป็ นประโยชน์ ใ นการนำา มาใช้ ใ น การพั ฒ นาการดำา เนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพของคณะ /วิทยาลั ย ในครั้ งต่ อ ไป 4. บทบาทในการสะท้ อ นภาพการดำา เนิ น งานของหน่ ว ยงาน หรื อการดำา เนิ น บทบาทของคณาจารย์ และบุ ค ลากรต่ อ คณะ / มหาวิ ทยาลั ย โดยตรง เพื่ อเป็ นการกระตุ้ นให้ ห น่ ว ยงานที เกี่ ยวข้ องได้ ปรั บปรุ งแนวทางการดำา เนิ น งานให้ เป็ นไปตามแนวทางการประกั น คุ ณภาพต่ อ ไป 5. บทบาทในการเผยแพร่ แ ละเชิ ญ ชวนให้ นั ก ศึ ก ษาในคณะ / มหาวิ ทยาลั ย ได้ ให้ ความสนใจและให้ ค วามสำา คั ญ ในการดำา เนิ น งาน ด้านประกั นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา 6. บทบาทในการรวมกลุ่ มเพื่ อจั ดตั งสโมสรนั ก ศึ ก ษาของ คณะเพื่ อส่ งเสริ มและสนั บ สนุ น การ ประกั น คุ ณ ภาพของคณะ / มหาวิ ทยาลั ย เพื่ อสร้ างเครื อข่ ายในการร่ ว มติ ดตาม รับรู้ การดำา เนิ น งาน ประกั นคุ ณ ภาพ สร้ างโอกาสในการแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ เพื่ อสร้ างวิ สั ยทั ศน์ และโลกทั ศ น์ ด้ านกระบวนการประกั น คุ ณ ภาพ ทั้ ง สนั บสนุ น ให้ การดำา เนิ นงานด้ า นประกั น คุ ณ ภาพมี ค วามเข้ มแข็ ง และก่ อ ให้ เกิ ดประโยชน์ อ ย่ างแท้ จ ริ งแก่ นั ก ศึ ก ษาต่ อไป 7. บทบาทในการส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษา และการ พั ฒนากระบวนการเรี ยนรู้ 7.1 ให้ ข้ อมู ลแก่ ค ณะ /วิทยาลั ยเกี่ ยวกั บ การจั ด การเรี ย น การสอนตามหลั ก สู ต รสาขาวิ ช า ทีสะท้ อนสภาพที เ กิ ด ขึ้ นจริ ง 7.2 ให้ ข้ อมู ลเกี่ ยวกั บคุ ณ ภาพการสอนของคณาจารย์ และข้ อ มู ลที นำา ไปสู่ การเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภ าพการสอนของคณาจารย์ 7.3 เสนอแนะรู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน ทีสอดคล้ องกั บความต้ อ งการของผู้ เรี ยน 7.4 แสดงความสนใจในสิ่ งที่ ตนเองต้ องการเรี ย นรู้ ให้ ผู้ สอนทราบ 7.5 ให้ ความร่ วมมื อในการเก็ บ ข้ อมู ล ของสถาบั น 7.6 พั ฒนาตนเองให้ อยู่ ในข่ า ยที จ ะได้ รั บการยกย่ อ ง และทำา ตนไม่ ใ ห้ ค ณะ /วิทยาลั ยเสื่ อมเสี ยชื่ อเสี ยง
  • 10. 7.7 หาโอกาสในการสร้ างชื่ อเสี ยงในทางที่ ดี แก่ ค ณะ/ วิทยาลั ย ตามศั ก ยภาพของตนเอง 7.8 ช่วยให้ ข้ อมู ล และเผยแพร่ ข้ อ มู ล ของเพื่ อนั ก ศึ ก ษา หรื อศิ ษย์ เก่ า ที ได้ รั บการยกย่ องให้ ส ถาบั น รั บ ทราบ 7.9 ให้ ข้ อมู ลต่ อคณะ /วิทยาลั ยเกี่ ยวกั บคุ ณ ภาพหรื อ ความเหมาะสมของบริ ก ารที่ ค ณะ/ วิทยาลั ย จั ด ให้ 7.10 เข้าร่ วมกิ จกรรมต่ า ง ๆ ที่ คณะ/วิทยาลั ยจั ดขึ้ นเพื่ อ พั ฒนาตนเอง 7.11 นำา กระบวนการคุ ณ ภาพไปใช้ ใ นการจั ด กิ จกรรม นักศึ กษา แนวปฏิ บั ติ ที ดี (Best Practice) ในการนำา งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาสู่ กิจกรรมของนั ก ศึ ก ษา ระดั บนั กศึ ก ษาของคณะและผู้ นำา นั กศึ กษา คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี 1. กระบวนการส่ งเสริ ม กลไก การจั ดอบรม ให้ ความรู้ และ ทั กษะการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาแก่ นั กศึ ก ษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี คณะได้ ดำา เนิ น การจั ด โครงการ “โครงการอบรมให้ ค วามรู้ และทั กษะด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพแก่ นั ก ศึ ก ษา” ในวั นจั น ทร์ ที่ ٢٩ ตุลาคม 2554 ณ ห้องประชุ ม ราชาวดี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ โดย โครงการนี้ มุ่ งเน้ นให้ นั กศึ กษามี ความรู้ ความเข้ าใจ ทั กษะเกี่ ยวกั บงาน ประกั นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา โดยการจั ด กิ จ กรรมครั้ งนี้ ได้ ร่ วมมื อ กั บ คณะ อื่ นภายในวิ ท ยาลั ย เพื่ อให้ นั กศึ กษาเกิ ด กระบวนการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ และเกิ ดเครื อ ข่ า ยภายในวิ ท ยาลั ย ขึ้ น ทั้ งกลุ่ มสโมสรนั ก ศึ ก ษาและผู้ นำา นักศึ กษาเกิ ดความสนใจในการสร้ างเครื อ ข่ า ยภายนอกสถาบั น ด้ วย ซึ่ง ต่อมานั กศึ กษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภาคใต้ ไ ด้ เข้ าร่ ว มโครงการการประชุ ม ผู้ นำา นั ก ศึ ก ษาเครื อ ข่ า ย อุดมศึ กษาภาใต้ ต อนบน ซึ่ งเป็ นเครื อข่ ายประกั น คุ ณ ภาพสำา หรั บ นักศึ กษาและได้ ลงนามข้ อ ตกลงความร่ วมมื อ ด้ า นเครื อ ข่ ายด้ านการ ประกั นคุ ณ ภาพนั ก ศึ ก ษาระหว่ า งเครื อ ข่ า ยอุ ด มศึ ก ษาภาคใต้ ต อนบน ได้ แก่ วิทยาลั ย ชุ ม ชนระนอง มหาวิ ทยาลั ย แม่ โ จ้ -ชุมพร มหาวิ ทยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลศรี วิ ชั ย นครศรี ธรรมราช (ขนอม) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลศรี วิ ชั ย ตรั ง มหาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยี ราชมงคลศรี วิชั ย (ทุ่ งใหญ่ ) ศูนย์ วิ ทยพั ฒ นา มหาวิ ทยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ราช มหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต มหาวิ ทยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตสุ
  • 11. ราษฏร์ ธานี มหาวิ ทยาลั ยราชภั ฏ สุ ร าษฏร์ ธานี วิทยาลั ยชุ มชนพั ง งา เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง วิทยาลั ย พยาบาลบรม ราชชนนี ตรั ง วิทยาลั ย พยาบาลบรมราชชนนี นครศรี ธรรมราช มหาวิ ทยาลั ย วลั ยลั ก ษณ์ มหาวิ ทยาลั ยราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช มหาวิ ทยาลั ย จุ ฬ าลงกรราชวิ ท ยาลั ย วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ซึ่งใน ครั้ งนี้ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราชเป็ นเจ้ า ภาพในการจั ด โดยมี กำา หนดเมื่ อ วันที่ 8 – 10 พฤษภาคม 2555 ณ ห้องประชุ ม พรหมโยธี อาคาร١٩ ชั้ น ٤ สำา นั กวิ ทยบริ ก ารและเทคโนโลยี ส ารสนเทศ มหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธรรมราช ซึ่ งนั กศึ ก ษาที่ ผ่ านการอบรมมา นั้ นสามารถที่ จะจั ดกิ จกรรม โครงการโดยใช้ ก ระบวนการประกั น คุ ณภาพ (PDCA) มาดำา เนิ นการ เอกสารหลั ก ฐาน 1.1 รายงานสรุ ป ผลโครงการ “โครงการอบรมให้ ค วาม รู้และทั กษะด้ า นการประกั น คุ ณ ภาพแก่ นั ก ศึ ก ษา” 1.2 เอกสารประกอบการเข้ าโครงการ การประชุ ม ผู้ นำา นักศึ กษาเครื อ ข่ า ยอุ ด มศึ ก ษาภาใต้ ต อนบน 1.3 ภาพการดำา เนิ น โครงการค่ า ยเครื อ ข่ า ยประกั น คุ ณภาพสำา หรั บ นั ก ศึ ก ษา 1.4 แบบเสนอโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั นกี ฬ า วิทยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ” 2. การจั ดโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั น กี ฬ าวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ภาคใต้ ” โดยใช้ ก ระบวนการ (PDCA) ฝ่ายกิ จการนั ก ศึ ก ษา คณะวิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ด้ เปิ ดโอกาสให้ นั กศึ ก ษาของ คณะ ดำา เนิ น การเสนอโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั นกี ฬ าวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ภาคใต้ ” ต่อคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี จากนั้ นคณะ กรรมการนั ก ศึ ก ษาได้ จั ดประชุ มเพื่ อวางแผนงาน กำา หนด ระยะเวลาใน การจั ดกิ จกรรม รวมไปถึ งการใช้ งบประมาณจากวิ ท ยาลั ยเพื่ อ ดำา เนิ น โครงการ โดยมี อาจารย์ ที่ ปรึ กษาโครงการเป็ น ผู้ ดู แลการดำา เนิ น โครงการ ในระหว่ างการดำา เนิ น งานจะมี ก ารประเมิ น ผลย่ อ ยคื อ การ ประชุ ม ย่ อยเพื่ อปรั บรู ป แบบให้ เ ป็ น ไปตามสถานการณ์ ที่ เกิ ด ขึ้ น หลั ง เสร็ จสิ้ นโครงการมี ก ารประเมิ น ผลโดยรวม ซึ่ งประเมิ น ทั้ งผู้ จัดโครงการ และผู้ เข้ าร่ วมโครงการด้ วย แล้ ว นำา ผลการประเมิ น ที่ ได้ มาสรุ ปเป็ น รายงานต่ อ คณะฯ คณะกรรมการดำา เนิ น การสรุ ป และวางแผนสำา หรั บ การ
  • 12. จัดในครั้ งต่ อไป โดยภาพรวมกิ จ กรรมนี้ ป ระสบความสำา เร็ จในด้ าน การนำา กระบวนการ PDCA มาใช้ และอาจนำา ไปสู่ การขยายผลต่ อ ใน การดำา เนิ นงานโครงการต่ อไป เอกสารหลั ก ฐาน 2.1 รายงานสรุ ป ผลโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั น กี ฬาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ” 2.2 การเตรี ยมงานเพื่ อรองรั บโครงการค่ า ยเครื อ ข่ า ย ประกั นคุ ณ ภาพสำา หรั บ นั ก ศึ ก ษา 3. การนำา ผลการประเมิ นไปพั ฒ นากระบวนการให้ ค วามรู้ และกลไก ดำา เนิ นงานประกั น คุ ณ ภาพที่ เกี่ ยวข้ องกั บนั กศึ ก ษา หลั งจาก การสรุ ปงานโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั น กี ฬาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยี ภาคใต้ ” แล้ ว ฝ่ายกิ จ การนั ก ศึ ก ษา และสโมสรนั ก ศึ ก ษาของคณะฯ ได้ ดำา เนิ น การสรุ ป ผลการดำา เนิ น งาน และนำา ข้ อเสนอแนะของนั ก ศึ ก ษา และข้ อ คิ ดเห็ น ของผู้ มาเข้ าร่ วมโครงการไปใช้ ใ นการดำา เนิ น การ รายงานผลโครงการ เพื่ อพั ฒ นา กระบวนการเรี ย นรู้ ของกลุ่ มนั ก ศึ ก ษา เพื่ อให้ เกิ ดความต่ อเนื่ องตามกระบวนการ PDCA และเพื่ อเป็ นการ วางแผนการดำา เนิ นงานในปี ต่ อ ไป เอกสารหลั ก ฐาน 3.1 รายงานสรุ ป ผลโครงการ “สนั บ สนุ น การแข่ ง ขั น กี ฬาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยี ภ าคใต้ ” แหล่ งข้ อมู ล อ้ างอิ ง มหาวิ ทยาลั ย พายั พ สำา นั กงานประกั น คุ ณ ภาพ . ตัวชี้ วั ดการประกั น คุ ณภาพการศึ ก ษา (ระดั บองค์ กร นักศึ กษา): บทนำา เชียงใหม่ : สำา นั กงานประกั น คุ ณ ภาพ มหาวิ ทยาลั ย . มหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ อุ บลราชธานี คณะบริ หารธุ รกิ จและการจั ด การ . (27 พฤษภาคม 2554). การ ประกั นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา : ความหมาย . 27 พฤษภาคม 2554. [ออน- ไลน์ ]. แหล่ งที่ มา
  • 13. http://bba.ubru.ac.th/home2/index.php/quality-assurance สถาบั นเทคโนโลยี ไ ทย – ญี่ ปุ่ น . (27 พฤษภาคม 2554). งานประกั น คุ ณภาพ . [ออน-ไลน์ ]. แหล่ งที่ มา http://qa.tni.ac.th/index.php? option=com_content&view=article&id=50&Itemid=89