SlideShare a Scribd company logo
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า 34
ตอนที่ ๒
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ตามแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา
๑.แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน
๑.๑ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ.๒๕๔๕ หมวด ๖
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์และ
วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามกฎกระทรวง
มาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่าง
ต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อ
สาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
๑.๒ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓
หมวด ๑ บททั่วไป
ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี โดยเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ทั้งนี้ ด้วยการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัดและการมีส่วนร่วมของชุมชน
ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผยรายงานนั้น
ต่อสาธารณชน
ข้อ ๗ สถานศึกษาต้องนาผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกไปประกอบการจัดทาแผนการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
หมวด ๒ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ส่วนที่ ๑ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อ ๑๔ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ
เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดาเนินการดังต่อไปนี้
(๑) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(๒) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
(๓) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
(๔) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
(๕) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
(๖) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(๗) จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
(๘) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยการส่งเสริม สนับสนุน และกากับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ไม่สามารถปฏิบัติงานบางประการตามที่กาหนดในวรรคหนึ่งในได้ให้
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า 35
หน่วยงานต้นสังกัดหรือสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แล้วแต่กรณี ประกาศผ่อนผันการปฏิบัติและวางแนวทาง
ในการประกันคุณภาพภายในให้เหมาะสมกับสภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น แล้วรายงานให้
รัฐมนตรีทราบ
ข้อ ๑๕ การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๑) ต้องสอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามที่
กระทรวงศึกษาธิการกาหนด และต้องครอบคลุมสาระการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งคานึงถึง
ศักยภาพของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่นด้วย
ข้อ ๑๖ การจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๒) ให้ดาเนินการ ดังนี้
(๑) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการที่จาเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
(๒) กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และความสาเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจนและ
เป็นรูปธรรม
(๓) กาหนดวิธีการดาเนินงานที่มีหลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ให้
ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้
การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อนาไปสู่มาตรฐาน
การศึกษาที่กาหนดไว้
(๔) กาหนดแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ
(๕) กาหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศึกษาและผู้เรียนรับผิดชอบและดาเนินงานตาม
ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๖) กาหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครองและองค์กร
ชุมชน
(๗) กาหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
(๘) จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี
จากการศึกษาแนวคิดการประกันคุณภาพภายในจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๔๒ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ.๒๕๔๕ หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา และ
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ หมวด ๑ บททั่วไป ข้อ
๕-๗ หมวด ๒ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ส่วนที่ ๑ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อ ๑๔-๑๖ โรงเรียนได้ดาเนินการตามแนวคิดดังกล่าว และมีการจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมิน
คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยใช้รูปแบบการรายงานประจาปีของสถานศึกษา
ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๘
๒. หลักการ/รูปแบบ/เทคนิคการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา
โรงเรียนกระแชงวิทยา แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 ฝ่าย ได้ แก่ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่าย
บริหารงานงบประมาณและแผนงาน ฝ่ายบริหารงานบุคคล และฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร/เทคนิคการบริหารแบบ การพัฒนาตามกระบวนการ PDCA โดยมีการ
ดาเนินการ ดังนี้
Plan (วางแผน) คือ มีการวางแผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถึงการกาหนดหัวข้อที่
ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
ประกอบด้วย การกาหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน Plan การจัดอันดับความสาคัญของ
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า 36
เป้าหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน กาหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ดาเนินการและ
กาหนดงบประมาณที่จะใช้ การเขียนแผนปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของลักษณะ การดาเนินงาน การ
วางแผนช่วยให้สามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ ฉะนั้น P
จะต้องมีแผน
1. วัตถุประสงค์เหมาะสม และสอดคลองกับแผนของฝ่าย/พันธกิจหรือไม่
2. มีการกาหนดผู้รับผิดชอบหรือไม่ (รายบุคคล/คณะบุคคล)
3. ระยะเวลาดาเนินการที่กาหนดไว้เหมาะสมหรือไม่
4. งบประมาณที่กาหนดเหมาะสมหรือไม่
5. มีการเสนอเพื่อขออนุมัติก่อนดาเนินการหรือไม่
Do (ปฏิบัติตามแผน) คือ มีการดาเนินการตามแผน อาจประกอบด้วย การมีโครงสร้างรองรับ การ
ดาเนินการ เช่น คณะกรรมการหรือหน่วยงานของคณะกรรมการ ซึ่งคณะเราก็มีการจัดตั้งไว้อยู่แล้ว จะต้องมี
วิธีการ ดาเนินการ D ต้องมีผลการดาเนินการตามแผน
1. มีการกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการดาเนินการหรือไม่
2. มีผู้รับผิดชอบดาเนินการได้ตามกาหนดไว้หรือไม่
3. มีการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องมากน้อยเพียงไร
4. สามารถดาเนินการตามระยะเวลาที่กาหนดได้หรือไม่
5. สามารถดาเนินการได้ตามงบประมาณที่กาหนดไว้หรือไม่
Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) คือ มีการประเมินแผน อาจประกอบด้วย การประเมิน
โครงสร้างที่รองรับ การดาเนินการ การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน และการประเมินผลของ การดาเนินงาน
ตามแผนที่ได้ตั้งไว้ โดยในการประเมินดังกล่าวสามารถ ทาได้เอง โดยคณะกรรมการที่รับผิดชอบแผนการ
ดาเนินงานนั้น ๆ ซึ่งเป็นลักษณะของการประเมินตนเอง โดยไม่จาเป็นต้องตั้งคณะกรรมการ อีกชุดมาประเมินแผน
หรือไม่จาเป็นต้องคิดเครื่องมือหรือแบบประเมิน ที่ยุ่งยากซับซ้อน C ต้องมีการประเมินการดาเนินการ
1. ได้มีการกาหนดวิธี/รูปแบบการประเมินหรือไม่
2. มีรูปแบบของการประเมินเหมาะสมหรือไม่
3. ผลของการประเมินตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่
4. ปัญหา/จุดอ่อนที่พบในการดาเนินการมีหรือไม่
5. ข้อดี/จุดแข็ง ของการดาเนินการมีหรือไม่
Act (ปรับปรุงแก้ไข) คือ มีการนาผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจประกอบด้วย การนาผลการ
ประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้าง หรือขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดี
ยิ่งขึ้นไปอีก และสังเคราะห์รูปแบบ การดาเนินการใหม่ที่เหมาะสม สาหรับการดาเนินการ ในปีต่อไป A ต้องมีการ
ปรับปรุงตามผลการประเมิน
1. มีการระดมสมองเพื่อหาทางแก้ไขปัญหา/จุดอ่อนที่ค้นพบ
2. มีการระดมสมองเพื่อหาทางเสริมข้อดี/จุดแข็งเพิ่มขึ้น
3. มีการนาผลที่ได้จากการระดมสมอง เสนอคณะกรรมการประกันคุณภาพของคณะเพื่อพิจารณา
สาหรับใช้วางแผนครั้งต่อไป
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๓๗
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนกระแชงวิทยา (ปรับปรุง 1 ตุลาคม 2557)
- งานแผนงาน
- งานจัดองค์กร
- งานสารสนเทศ
- งานประกันคุณภาพภายใน
- งานคานวณต้นทุนผลผลิต
- งานควบคุมภายใน
- งานบริหารการเงินและบัญชี
- งานบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์
- งานประเมินผลการดาเนินงาน
การเงินและพัสดุ
- งานเลขานุการ
ผู้อานวยการโรงเรียนกระแชงวิทยา
ฝ่ายบริหารงานงบประมาณและแผนงาน ฝ่ายบริหารงานทั่วไปฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล
- งานทะเบียนนักเรียน
- งานวัดผลและประเมินผลการเรียน
- งานพัฒนาคุณภาพวิชาการ
- งานหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
- งานจัดตารางเรียน ตารางสอน
- งานห้องสมุด
- งานแนะแนว
- งานวิจัยและส่งเสริมการวิจัย
- งานนิเทศ กากับติดตามและประเมินผล
- งานเอดส์และเพศศึกษา
- งานนักเรียนเรียนร่วม
- งานสานรัก ก.ช.ว.
- งานเลขานุการ
- งานระเบียบวินัยนักเรียน
- งานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
- งานกิจการนักเรียน
- งานครูที่ปรึกษา
- งาน 5 ส
- งานอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม
- งานอนามัยโรงเรียน
- งานสหกรณ์
- งานโสตทัศนูอุปกรณ์
- งานประชาสัมพันธ์
- งานธุรการ
- งานเวรยามรักษาความปลอดภัย
- งานเลขานุการ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการชมรมครูและผู้ปกครองนักเรียน
- งานคณะกรรมการสถานศึกษา
- งานชมรมครู และผู้ปกครอง
นักเรียน
- งานบุคคล
- งานทะเบียนสถิติ
- งานขวัญและกาลังใจครู
- งานจ้างครู
- งานจ้างลูกจ้าง
- งานชุมชนและภาคีเครือข่าย
นักเรียน
รองผู้อานวยการโรงเรียนกระแชงวิทยา
คณะครู/บุคลากรทางการศึกษา
สภานักเรียน
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๓๘
๔.สภาพบริบทและผลการจัดการศึกษา
๔.๑ ข้อเสนอแนะจากคณะผู้ประเมิน
๔.๑.๑ การประเมินคุณภาพภายใน ภาพรวมทั้ง ๕ ด้าน ใน ๑๕ มาตรฐาน ๖๕ ตัวบ่งชี้
ควรยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และพัฒนาระบบ
กระบวนการดาเนินการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
๔.๑.๒ การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โดยเขตพื้นที่ ใน ๘ องค์ประกอบ
ควรมีคณะกรรมการตรวจสอบความถูกต้องของรายงานประจาปี (SAR) ก่อนนาเสนอ
คณะกรรมการสถานศึกษาและต้นสังกัด
๔.๑.๓ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม
ผู้เรียนควรพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยครูควรทาการ
วิเคราะห์วัตถุประสงค์ของหลักสูตรและหน่วยการเรียนรู้ว่าต้องการให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอดในเรื่อง
ใดบ้างในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ นามาจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ประเมินและพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตาม
ศักยภาพของแต่ละบุคคล เตรียมการสอน สื่อ แบบฝึกหัด จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้ คิด
วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล ฝึกสรุปความเข้าใจให้รู้ถึงความต้องการของโจทย์
ปัญหา ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริงในการทดลองทุกขั้นตอน ฝึกสรุปผลด้วยตนเองในผลการทดลอง ฝึกการเขียน
รายงานผล เชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ
สถานศึกษาควรกาหนดมาตรฐาน เกณฑ์ให้ชัดเจนในการประเมินผลการดาเนินโครงการ ควร
ประเมินให้ตรงตามวัตถุประสงค์และเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เพื่อการนาผลไปวิเคราะห์ร่วมกับขบวนการดาเนินการ เพื่อ
นาไปพัฒนาให้ต่อเนื่อง
จากข้อเสนอแนะทั้ง ๓ องค์กร โรงเรียนได้นาไปวิเคราะห์ วางแผนนาข้อมูลนี้ไปพัฒนาใน
เรื่องต่อไปนี้
กาหนดแนวทางในการยกระดับผลการทดสอบ O-NET ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นมา โดยยึด
แนวทางการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 28 ดังนี้
1. ครูจัดเตรียมข้อสอบ O-NET และวิเคราะห์ข้อสอบและวิเคราะห์ผลคะแนนย้อนหลัง 3 ปี
เพื่อศึกษาจุดแข็ง จุดควรพัฒนาเร่งด่วน โดยเฉพาะมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตรในลาดับท้ายๆ ที่นักเรียนยัง
มีความรู้ความเข้าใจน้อยหรือน้อยมาก นาจุดควรพัฒนาเร่งด่วนมาวางแผนปรับปรุง แก้ไขต่อไป
2. ปรับวิธีการจัดการเรียนรู้ของครู มุ่งเน้นให้ครูจัดการเรียนรู้โดยยึดมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตาม
หลักสูตร (ไม่ใช่สอนตามหนังสือเรียน) จัดให้มีการแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอนที่นา
นักเรียนบรรลุมาตรฐาน/ตัวชี้วัดได้อย่างมีคุณภาพ
3. X-Ray นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาการอ่าน เขียน คิดคานวณ และแก้ปัญหา เป็นราย
สถานศึกษา รายห้องเรียน จนถึงรายบุคคล เร่งรัดให้มีการดูแลเป็นพิเศษเพื่อให้สมรรถนะทางด้านการเรียนรู้
ได้รับการพัฒนา
4. เตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนในการทดสอบสาคัญ ๆ อาทิ การทดสอบระดับชาติ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) การประเมินนักเรียนระดับนานาชาติ (PISA TIMSS) เป็นต้น สร้างความคุ้นเคย
การทาข้อสอบรูปแบบที่เน้นการคิดวิเคราะห์ขั้นสูง รวมทั้งสร้างความเข้าใจให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญ
ของประโยชน์ในการทดสอบ
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๓๙
5. เพิ่มสมรรถนะครูด้านการวัดและการประเมินผลนักเรียน โดยจะดาเนินการร่วมกับสถาบัน
ทดสอบแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เพื่อส่งเสริมสมรรถนะครูให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะด้านการวัด
และการประเมินที่เน้นการคิดวิเคราะห์ การประเมินความก้าวหน้า และสามารถวิเคราะห์นักเรียนจากผลการ
ประเมิน สามารถใช้ผลประเมินพัฒนานักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6. จัดตารางสอนเสริมนักเรียนเพื่อเตรียมความพร้อมทั้ง 8 กลุ่มสาระ ให้ครูและนักเรียนได้
เตรียมความพร้อมอย่างเข้ม
7. นิเทศการจัดการเรียนรู้ของครูอย่างสม่าเสมอ (อย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง)
8. ช่วยให้คาแนะนาผู้เรียนในการตรวจสอบเลขที่นั่งสอบ บัตรแสดงตน สนามสอบ ย้าเตือนไม่ให้
ผู้เรียนเข้าสอบช้ากว่ากาหนดเวลา (30 นาที) เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมในการสอบ ใช้เวลาในการสอบในการคิด
หาคาตอบให้ถี่ถ้วน และใช้เวลาคิดทบทวนให้รอบคอบ
9. สร้างความตระหนักให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของการทดสอบ O-NET และตั้งใจทาข้อสอบ
กาชับให้ครูดาเนินการสอบให้ได้มาตรฐานการจัดสอบอย่างเคร่งครัด
10. ฝึกให้ผู้เรียนทาข้อสอบที่ใกล้เคียงกับแบบทดสอบ O-NET เพื่อเป็นการสร้างความคุ้นเคย
ก่อนสอบจริง
11. ชี้แจงผู้เรียนให้เข้าใจถึงเหตุผล ความจาเป็น และความสาคัญของการสอบ โน้มน้าว จูงใจ
และย้าเตือนผู้เรียนให้ตั้งใจทาข้อสอบ O-NET ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ผลการสอบเป็นผลที่เกิดจากการ
เรียนรู้ที่แท้จริง ครูสามารถนาไปวางแผนพัฒนาการเรียนการสอนต่อไปได้
๔.๒ แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในอนาคต
4.2.1 ระบบการบริหารจัดการและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาองค์กร
ในการดาเนินการพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนที่มีมาตรฐานและคุณภาพให้เป็นที่
ยอมรับ และเป็นแกนหลักในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น จะต้องมีการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและ
สร้างระบบบริหารจัดการของโรงเรียนให้เข้มแข็งเพื่อทาให้โรงเรียนมีความพร้อมและสามารถแข่งขันทางด้าน
วิชาการ แหล่งเรียนสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้ ที่สาคัญต้องเป็นโรงเรียนที่เป็นศูนย์บริการทาง
วิชาการแก่ชุมชน
4.2.2 การพัฒนาการพัฒนาบุคลากร
ในการสร้างความเข้มแข็งด้านวิชาการ ครูเป็นบุคคลที่สาคัญเป็นอย่างยิ่งในการที่จะ
เป็นผู้ถ่ายทดและจัดกระบวนการเรียนรู้สู่นักเรียน จึงจะต้องพัฒนาครูสู่ความเป็นครูมืออาชีพ มีความรู้ความ
เข้าใจในเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและ
เข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูจะต้องเป็นผู้ที่ก้างทันสื่อเทคโนโลยี
เป็นผู้ใช้เทคโนโลยีอย่างมีคุณค่าและมีประสิทธิภาพ สามารถนาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ของ
ตนเองและจัดกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้เรียนให้ทันกับโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน เป็นผู้ที่มี
ความรู้ความเข้าใจการหลักการและแนวทางการประเมินผลการเรียนสอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้
ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียน มีนาผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา
ผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพอย่างแท้จริง
4.2.3 การพัฒนาระบบการเรียนรู้
การเปลี่ยนแปลของโลกปัจจุบัน ทาให้การศึกษาเรียนรู้จะต้องมีการปรับตัวและ
ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ทั้งภาวะเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้มและสื่อเทคโนโลยี ดังนั้นในการเรียนรู้ของ
นักเรียนจึงมีการปรับเปลี่ยนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนโรงเรียนจะต้องเพิ่ม
โอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข นั่นคือ การปรับเปลี่ยนตั้งแต่
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๐
หลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและ
น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลที่หลากหลายเหมาะสมกับ
กิจกรรมการเรียนรู้และศักยภาพของนักเรียน เพื่อให้นักเรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะชีวิต สามารถ
พัฒนาตนเองให้เป็นพลเมืองของชุมชน ประเทศชาติและสากล
4.2.4 การพัฒนาระบบชุมชนและภาคีเครือข่าย
ชุมชนและภาคีเครือข่ายเป็นปัจจัยหลักในการส่งเสริมการจัดการศึกษา จึงต้องมีการ
ประสานความสัมพันธ์และพัฒนาการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเพื่อให้การบริหารจัดการเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด ที่จัดทาข้อมูลพื้นฐานและสภาพแวดล้อมของชุมชนและภาคีเครือข่ายให้บริการแก่ชุมชนมี
ส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนประสานและขอรับการสนับสนุนด้านต่างๆจากชุมชนรวมทั้งประเมินผลความ
ต้องการและความพึงพอใจของชุมชนเพื่อสร้างเครือข่ายที่ยั่งยืนต่อไปสาคัญเป็นการสร้างความพร้อมในการ
กระจายอานาจ
๕.มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สถานศึกษาประกาศเพิ่มเติม พร้อมคาอธิบายระดับคุณภาพและ
ค่าน้าหนัก (ถ้ามี) คือ
ไม่มีการประกาศเพิ่มเติม
๖. วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
วิสัยทัศน์
ชุมชนร่วมคิด ชีวิตพอเพียง ลือเลื่องสิ่งแวดล้อม งามพร้อมคุณธรรม เลิศล้าวิชาการ ก้าวทันเทคโนโลยี
วิถีสู่สากล
พันธกิจ
1. พัฒนาระบบการบริหารงาน จัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้หลากหลาย สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
3. ระดมทรัพยากรจากชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
4. ส่งเสริมและพัฒนา ครู นักเรียน ชุมชน ให้มีคุณธรรมจริยธรรมและดารงชีวิตในสังคมอย่างมี
ความสุข
5. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ วิชาชีพ ศิลปะ ดนตรี กีฬาแก่ผู้เรียน
6. ส่งเสริมพัฒนาครูและนักเรียนนาเทคโนโลยีมาใช้อย่างเต็มศักยภาพ
7. จัดภูมิทัศน์ในสถานศึกษาให้โดดเด่นและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
8. ส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม วัฒนธรรม
สู่ประชาคมอาเซียน
9. น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการศึกษา
เป้าประสงค์
1. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ มีนิสัยดี สุขภาพ สมบูรณ์ แข็งแรง บุคลิกภาพดี ความรู้ดี
มีความสามารถเหมาะสมกับวัย มีพื้นฐานในการทางาน มีความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ดีมีความสามารถในการสอนและการปฏิบัติงาน
มีบุคลิกภาพดี มีจิตเมตตาต่อศิษย์
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๑
3. ผู้บริหารเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง มีบุคลิกภาพดี มีคุณธรรม
4.การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นวิธีการเรียนรู้ (คิด ทา นาเสนอ) เหมาะสม
สอดคล้องและทันสมัย
5. การบริหารจัดการดี เป็นระบบ มีความโปร่งใสและใช้หลักการมีส่วนร่วม
6. สถานศึกษามีอาคารสถานที่น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน น่าทางาน มีสื่อ อุปกรณ์ที่ดีและใช้ประโยชน์ได้
เต็มที่
อัตลักษณ์ของผู้เรียน
รักษ์สิ่งแวดล้อม งามพร้อมวัฒนธรรม น้อมนาเศรษฐกิจพอเพียง
เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
สวนป่าน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม
๗. ในปีการศึกษา ๒๕๕7 สถานศึกษามีโครงการที่ดาเนินการได้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา ใน ๑๕ มาตรฐาน ๖๕ ตัวบ่งชี้ มีทั้งหมดจานวน 15 โครงการ ดังนี้
จุดเน้น/กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้
กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น
กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปสถานศึกษาในทศวรรษที่สอง
กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมบริบทของสถานศึกษาให้โดดเด่น
กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
๑.โครงการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน
1. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีนิสัย
รักการอ่าน การเขียน และการ
ฟัง สูงขึ้น
2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ
กระบวนการแสวงหาความรู้ รัก
การเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 (91) , 2.2
(100), 2.3 (96) , 2.4
(81) , 3.1 (76) , 3.2
(81), 3.3 (100) , 3.4
(81) , 4.1 (91) , 4.2
(81), 4.3 (81) , 4.4 (81)
, 5.2 (86) 5.3 (91) , 6.1
(86) , 6.2 (81) , 6.3 (91)
, 6.4 (100) และ 11.3
(100)
มาตรฐานที่ 2 , 3 , 4 , 5 , 6 และ 11
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 , 2.2 , 2.3 ,2.4 , 3.1 ,
3.2 , 3.3 , 3.4 , 4.1 , 4.2 , 4.3 ,
4.4 , 5.2 , 5.3 , 5.4 , 6.1 , 6.2 ,
6.3 , 6.4 และ 11.3
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๒
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
เชิงคุณภาพ
- ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมี
สุนทรียภาพ
- ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
และค่านิยมที่พึงประสงค์
- ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้
และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
- ผู้เรียนมีความสามารถในการ
คิดอย่างเป็นระบบ คิด
สร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหา
ได้อย่างมีสติสมเหตุผล
- ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่
จาเป็นตามหลักสูตร
- ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน
รักการทางาน สามารถทางาน
ร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดี
ต่ออาชีพสุจริต
๒.โครงการยกระดับ
คุณภาพผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
1.. เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนได้ตามเกณฑ์
มาตรฐาน
2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนโดยภาพรวมของ
โรงเรียนให้สูงขึ้น
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 (86) , 5.2
(86) , 5.3 (91) และ 5.4
(61)
เชิงคุณภาพ
- ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่
จาเป็นตามหลักสูตร
มาตรฐานที่ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 , 5.2 , 5.3 และ 5.4
3.โครงการพัฒนางาน
เอดส์และเพศศึกษา
1. เพื่อสร้างเครือข่าย
ผู้ปกครองในการดูแลนักเรียน
ในเรื่องเพศศึกษา
2. เพื่อสร้างความตระหนักใน
การเรียนรู้เพศศึกษา ปัญหา
ของวัยรุ่นในวัยเรียน
3. นักเรียน เยาวชน ผู้ปกครอง
นาความรู้ที่ได้ใปใช้ใน
ชีวิตประจาวันและเผยแพร่ใน
ชุมชนต่อไป
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 (80)
เชิงคุณภาพ
- ผู้เรียนมีการป้องกันตนเอง
จากสิ่งเสพติดให้โทษและ
หลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะ
ที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย
อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ
มาตรฐานที่ 1
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3
4.โครงการส่งเสริม
สุขภาพกาย สุขภาพจิต
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมี
สุขภาพร่างกาย สุขภาพจิต ที่
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์
มาตรฐานที่ 1
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 , 1.4 , 1.5 และ 1.4
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๓
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
และสุนทรียภาพทาง
ดนตรี
แข็งแรงสมบูรณ์
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด
ทักษะด้านกีฬา มุ่งสู่ความเป็น
เลิศ
3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด
สุนทรียภาพทางดนตรี
ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 (90) , 1.4
(85) , 1.5 (90) และ 1.6
(100)
เชิงคุณภาพ
- ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมี
สุนทรียภาพ
5.โครงการพัฒนาระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียน
(โครงการโรงเรียนสีขาว)
1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทาง
อารมณ์ (EQ) และช่วยเหลือ
เด็กที่มีปัญหาทางด้านการเรียน
ครอบครัว สังคมและสุขภาพ
อนามัย
2. เพื่อสร้างสัมพันธภาพ
ความเข้าใจ ความเห็นอกเห็น
ใจอันดีระหว่างครู นักเรียน
ผู้ปกครอง
3. เพื่อให้บุคลากรของ
โรงเรียนเห็นความสาคัญและ
เข้าใจถึงแนวปฏิบัติในการดูแล
ช่วยเหลือ นักเรียนตาม
หลักการประกันคุณภาพ
การศึกษา
4. เพื่อพัฒนาศักยภาพ
นักเรียน ครู ผู้ปกครอง
5. เพื่อให้นักเรียนมี
พฤติกรรม/คุณลักษณะตามที่
โรงเรียนกาหนด
6. เพื่อจัดและพัฒนาระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมี
คุณภาพและทั่วถึง
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 (80) 2.1
(91) , 2.2 (100) ,2.3
(96) , 2.4 (81) และ 10.6
(91)
เชิงคุณภาพ
- ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ตามหลักสูตร
- ผู้เรียนมีความเอื้ออาทรผู้อื่น
และกตัญญูกตเวทีต่อผู้มี
พระคุณ
- ยอมรับความคิดและ
วัฒนธรรมที่แตกต่าง
- ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วม
อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 1 , 2 และ 10
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 , 2.2 , 2.3 , 2.4 และ
10.6
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๔
กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
1.โครงการประกันคุณภาพ
การศึกษา
1. เพื่อให้บุคลากรในโรงเรียน
มีความรู้ความเข้าใจในระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษา
2. เพื่อให้โรงเรียนมีระบบการ
ประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา
3. เพื่อให้โรงเรียนมีความ
เข้มแข็งพร้อมรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก รอบสาม
(พ.ศ. 2554 - 2558)
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของคุณภาพการ
บริหารงานประกันคุณภาพ
การศึกษาผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว
บ่งชี้ที่ 12.1 (91) , 12.2
(86) , 12.3 (83) , 12.4
(2)
เชิงคุณภาพ
- สถานศึกษามีการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรฐานที่ 12
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1-12.6
2.โครงการพัฒนาคุณภาพการ
จัดการศึกษาสู่มาตรฐาน
การศึกษา
1. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่มี
ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
ต่างๆ ในการปฏิบัติงาน
2. เพื่อให้โรงเรียนมีระบบการ
ทางานที่พร้อมให้บริการแก่
ผู้เรียนและหน่วยงานอื่นๆ
3. เพื่อให้โรงเรียนมีความ
เข้มแข็งด้านการบริหารงาน
พร้อมรับการประเมินจาก
หน่วยงานต้นสังกัด
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของคุณภาพการจัด
การศึกษาสู่มาตรฐาน
การศึกษาผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว
บ่งชี้ที่ 7.1 (76) , 7.2 (81) ,
7.3 (81) 7.4 (71) 7.5
(86) 7.6 (100) , 7.7 (86)
, 7.8 (100) และ 7.9
(100) 8.1-8.6 (100)
เชิงคุณภาพ
- สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการ
จัดการศึกษาสู่มาตรฐาน
การศึกษา
มาตรฐานที่ 7 และ 8
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 -7.9 และ 8.1-8.6
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๕
กลยุทธ์ที่ ๓ สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
1.โครงการส่งเสริมและ
พัฒนาบุคลากร
1. เพื่อให้บุคลากรได้พัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่องทั้งในด้าน
บุคลิกภาพ คุณธรรม จริยธรรม
และวิชาชีพครู
2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และ
ประสบการณ์แก่บุคลากร
3. เพื่อให้บุคลากรเข้าใจและ
ปฏิบัติตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อให้บุคลากรมีคุณภาพที่
เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพ
ชั้นสูง
5. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้รู้ทัน
สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูป
การเรียนการสอน
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับ
การส่งเสริมและพัฒนา ผ่าน
เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 13.1 (91) ,
และ 13.2 (100)
เชิงคุณภาพ
- บุคลากรในสถานศึกษาได้รับ
การส่งเสริมและพัฒนาใน
วิชาชีพของตนเอง
-สถานศึกษามีการสร้าง
ส่งเสริม สนับสนุนให้
สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการ
เรียนรู้
มาตรฐานที่ 13
ตัวบ่งชี้ที่ 13.1 และ 13.2
2.โครงการพัฒนางาน
ประชาสัมพันธ์และการ
สื่อสาร
1. เพื่อให้บริการนักเรียน – ครู
และบุคลากรภายในโรงเรียน
2. เพื่อให้บริการข้อมูลข่าวสาร
แก่หน่วยงานภายนอก
3. เพื่อปรับปรุงอุปกรณ์งานโสต
ทัศนศึกษาให้มีระดับเสียงและ
ภาพที่เหมาะสมต่อการเรียนการ
สอน
4. เพื่อจัดทาระบบเครือข่าย
ภายในให้ครอบคลุมศูนย์
เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
5. เพื่อปรับปรุงเครือข่ายในส่วน
ที่ชารุดเสียหาย
6. เพื่อจัดหาโปรแกรมฐานข้อมูล
การให้บริการศูนย์เทคโนโลยีและ
สื่อสารการศึกษาที่มี
ประสิทธิภาพและเป็นปัจจุบัน
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของผู้เรียนใช้
เทคโนโลยีในการเรียนรู้ การ
คิดจากเรื่องที่เรียนรู้โดยวิธีการ
สืบค้น และนาเสนอวิธีคิด
ผลงาน ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว
บ่งชี้ที่ 13.1 (91) , และ
13.2 (100)
เชิงคุณภาพ
- ผู้เรียนได้รับการสร้าง ส่งเสริม
สนับสนุน ให้เป็นบุคคลแห่งการ
เรียนรู้
-สถานศึกษามีการสร้าง
ส่งเสริม สนับสนุนให้
สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการ
เรียนรู้
มาตรฐานที่ 13
ตัวบ่งชี้ที่ 13.1 และ 13.2
3.โครงการส่งเสริมรักการ
อ่าน
1. เพื่อให้นักเรียนมีนิสัยรักการ
อ่าน เห็นความสาคัญของการ
อ่านหนังสือ
2. เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักถึง
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของผู้เรียนมีนิสัย และ
ทักษะในการอ่านและแสวงหา
ความรู้ ผ่านเกณฑ์ที่
มาตรฐานที่ 13
ตัวบ่งชี้ที่ 13.1 และ 13.2
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๖
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
ทักษะการอ่านในการช่วยเพิ่มพูน
ความรู้ที่กว้างขวาง
3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักวิธีการใช้
ห้องสมุดที่ถูกต้อง
4. เพื่อให้มีหนังสือ,เอกสาร,
คอมพิวเตอร์,สื่อที่หลากหลายใน
ห้องสมุด
สถานศึกษากาหนด ดังนี้
13.1 (91) , และ 13.2
(100)
เชิงคุณภาพ
- ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่านและ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
กลยุทธ์ที่ ๔ ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
1.โครงการสวน
พฤกษศาสตร์ในโรงเรียน
1. ปลูกจิตสานึกให้นักเรียนมีความ
รัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของพืช
พรรณไม้ตามแนวพระราชดาริฯ
2. เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งรวบรวม
ตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้และ
การเก็บรักษาเพื่อประโยชน์ของ
การศึกษาและเผยแพร่สู่ภายนอก
3. เพื่อใช้บูรณาการในการเรียนการ
สอนวิชาต่างๆได้หลากหลาย
4. เพิ่มความร่มรื่น สวยงามใน
บริเวณโรงเรียน ส่งผลดีต่อสุขภาพ
ของผู้เรียนและบุคลากร
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของความสาเร็จของ
การสร้างและพัฒนาสวน
พฤกษศาสตร์ในโรงเรียน ผ่าน
เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 14.1 (84)
เชิงคุณภาพ
- มีสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน
มาตรฐานที่ 14
ตัวบ่งชี้ที่ 14.1
2.โครงการพัฒนาแหล่ง
เรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง
1. เพื่อพัฒนานักเรียนด้านร่างกาย
อารมณ์ สังคมและสติปัญญาตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียง
2.เพื่อให้นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม
และลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดม่ง
หมายของหลักสูตร
3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ มีทักษะใน
อาชีพสุจริต
4. เพื่อให้นักเรียนมีรายได้ระหว่าง
เรียนเป็นการประหยัด
5. เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบ
อาชีพที่สุจริต
6. เพื่อให้โรงเรียนและชุมชนมีส่วน
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของความสาเร็จของ
การจัดการเรียนการสอนตาม
หลักเศรษฐกิจพอเพียง ผ่าน
เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 14.1 (84)
และ 14.2 (81)
เชิงคุณภาพ
- มีแหล่งเรียนรู้ตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงและครู
นามาใช้ในกิจกรรมการเรียนการ
สอน การพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานที่ 14
ตัวบ่งชี้ที่ 14.1 และ 14.2
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๗
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
ร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนของโรงเรียน
กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปสถานศึกษาในทศวรรษที่สอง
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
1.โครงการโรงเรียน
ส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียน
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุข
นิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตของตนเอง
2. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติตน
ในชีวิตประจาวัน
3. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักการป้องกันตนเองให้พ้น
จากสิ่งเสพติดให้โทษต่างๆ
4. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักป้องกันตนเองจากความ
รุนแรงและปัญหาทางเพศ
5. เพื่อให้ผู้เรียน มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก
6. เพื่อให้ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของผู้เรียนได้รับการ
ส่งเสริมสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว
บ่งชี้ที่ 1.2 (80) ,11.2
(68)
เชิงคุณภาพ
- ผู้เรียนมีสุขนิสัยในการดูแล
สุขภาพ ออกกาลังกายสม่าเสมอ
มาตรฐานที่ 1 และ 11
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 , 11.2
2.โครงการสาน
สัมพันธ์ชุมชน
1. เพื่อสร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างโรงเรียน
กับชุมชน
2. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ของโรงเรียน
3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยกันดูแล
นักเรียนให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่
4. สร้างเสริมความรู้แนวคิดในการจัดการศึกษา
ภายในชุมชน
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของผู้เรียนได้รับการ
ส่งเสริมสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว
บ่งชี้ที่ 9.1 (91) , 9.2 (86)
และ 9.3 (86)
เชิงคุณภาพ
- คณะกรรมการสถานศึกษา
ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ มีการ
กากับ ติดตาม ดูแลสถานศึกษา
ระดมทรัพยากรและให้การ
สนับสนุนการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 9
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 , 9.2 และ
9.3
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๘
กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมบริบทของสถานศึกษาให้โดเด่น
โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
สนอง
มาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียน
(มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)
1.โครงการพัฒนาอาคาร
สถานที่และสิ่งแวดล้อม
1. เพื่อจัดห้องเรียนได้ครบตามความต้องการ
เหมาะสม สวยงาม มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการ
เรียนการสอน
2. เพื่อจัดห้องสานักงานอย่างมีประสิทธิภาพ
มีระเบียบในการใช้อย่างชัดเจน
3.เพื่อจัดห้องสนับสนุนการเรียนการสอนได้
เพียงพอกับความต้องการของครูและนักเรียน
4. ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนให้สวยงาม
5. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในสวัสดิภาพ
ด้านต่างๆสาหรับนักเรียน
6. เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
เชิงปริมาณ
- ร้อยละของอาคาร สถานที่ได้รับ
การดูแล บารุง รักษา ผ่านเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว
บ่งชี้ที่ 11.1 (100)
เชิงคุณภาพ
- ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคาร
เรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มี
สิ่งอานวยความสะดวกพอเพียง อยู่
ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อม
ร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สาหรับ
ผู้เรียน
มาตรฐานที่ 11
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1

More Related Content

What's hot

Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
kanwan0429
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
krutang2151
 
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..Kroo Per Ka Santos
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
Totsaporn Inthanin
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
kruthai40
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 

What's hot (10)

Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
กลยุทธ์ที่ 2 25.1.61
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 

Similar to 2 ตอน2 sar57

9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
teerayut123
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
benty2443
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
gam030
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
fernfielook
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
poppai041507094142
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanneemayss
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
wanitchaya001
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
nattawad147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Theerayut Ponman
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
nattapong147
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
nattawad147
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Theerayut Ponman
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
poppai041507094142
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
wanitchaya001
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
fernfielook
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
benty2443
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
nattapong147
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
teerayut123
 

Similar to 2 ตอน2 sar57 (20)

9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Book pp56legal
Book pp56legalBook pp56legal
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Interractive simulation
Interractive simulationInterractive simulation
Interractive simulation
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Teacher
TeacherTeacher
Twitter
TwitterTwitter
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Phy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyuPhy1 m4 kruyu
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
Microscope
MicroscopeMicroscope

More from Miss.Yupawan Triratwitcha (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
Book pp56legal
Book pp56legalBook pp56legal
Book pp56legal
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Interractive simulation
Interractive simulationInterractive simulation
Interractive simulation
 
Teacher
TeacherTeacher
Teacher
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
Phy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyuPhy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyu
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 

2 ตอน2 sar57

  • 1. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า 34 ตอนที่ ๒ การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ตามแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา ๑.แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ๑.๑ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ.๒๕๔๕ หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์และ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามกฎกระทรวง มาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่าง ต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อ สาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ๑.๒ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ หมวด ๑ บททั่วไป ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี โดยเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ทั้งนี้ ด้วยการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัดและการมีส่วนร่วมของชุมชน ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผยรายงานนั้น ต่อสาธารณชน ข้อ ๗ สถานศึกษาต้องนาผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกไปประกอบการจัดทาแผนการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา หมวด ๒ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ส่วนที่ ๑ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อ ๑๔ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดาเนินการดังต่อไปนี้ (๑) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (๒) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา (๓) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ (๔) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (๕) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (๖) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (๗) จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน (๘) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยการส่งเสริม สนับสนุน และกากับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ไม่สามารถปฏิบัติงานบางประการตามที่กาหนดในวรรคหนึ่งในได้ให้
  • 2. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า 35 หน่วยงานต้นสังกัดหรือสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แล้วแต่กรณี ประกาศผ่อนผันการปฏิบัติและวางแนวทาง ในการประกันคุณภาพภายในให้เหมาะสมกับสภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น แล้วรายงานให้ รัฐมนตรีทราบ ข้อ ๑๕ การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๑) ต้องสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาของชาติ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกาหนด และต้องครอบคลุมสาระการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งคานึงถึง ศักยภาพของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่นด้วย ข้อ ๑๖ การจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อ ๑๔ (๒) ให้ดาเนินการ ดังนี้ (๑) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการที่จาเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ (๒) กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และความสาเร็จของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจนและ เป็นรูปธรรม (๓) กาหนดวิธีการดาเนินงานที่มีหลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ให้ ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อนาไปสู่มาตรฐาน การศึกษาที่กาหนดไว้ (๔) กาหนดแหล่งวิทยาการภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ (๕) กาหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศึกษาและผู้เรียนรับผิดชอบและดาเนินงานตาม ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ (๖) กาหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครองและองค์กร ชุมชน (๗) กาหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (๘) จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี จากการศึกษาแนวคิดการประกันคุณภาพภายในจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ.๒๕๔๕ หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา และ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ หมวด ๑ บททั่วไป ข้อ ๕-๗ หมวด ๒ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ส่วนที่ ๑ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อ ๑๔-๑๖ โรงเรียนได้ดาเนินการตามแนวคิดดังกล่าว และมีการจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมิน คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยใช้รูปแบบการรายงานประจาปีของสถานศึกษา ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๘ ๒. หลักการ/รูปแบบ/เทคนิคการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 ฝ่าย ได้ แก่ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่าย บริหารงานงบประมาณและแผนงาน ฝ่ายบริหารงานบุคคล และฝ่ายบริหารงานทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร/เทคนิคการบริหารแบบ การพัฒนาตามกระบวนการ PDCA โดยมีการ ดาเนินการ ดังนี้ Plan (วางแผน) คือ มีการวางแผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถึงการกาหนดหัวข้อที่ ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย การกาหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน Plan การจัดอันดับความสาคัญของ
  • 3. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า 36 เป้าหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน กาหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ดาเนินการและ กาหนดงบประมาณที่จะใช้ การเขียนแผนปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของลักษณะ การดาเนินงาน การ วางแผนช่วยให้สามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ ฉะนั้น P จะต้องมีแผน 1. วัตถุประสงค์เหมาะสม และสอดคลองกับแผนของฝ่าย/พันธกิจหรือไม่ 2. มีการกาหนดผู้รับผิดชอบหรือไม่ (รายบุคคล/คณะบุคคล) 3. ระยะเวลาดาเนินการที่กาหนดไว้เหมาะสมหรือไม่ 4. งบประมาณที่กาหนดเหมาะสมหรือไม่ 5. มีการเสนอเพื่อขออนุมัติก่อนดาเนินการหรือไม่ Do (ปฏิบัติตามแผน) คือ มีการดาเนินการตามแผน อาจประกอบด้วย การมีโครงสร้างรองรับ การ ดาเนินการ เช่น คณะกรรมการหรือหน่วยงานของคณะกรรมการ ซึ่งคณะเราก็มีการจัดตั้งไว้อยู่แล้ว จะต้องมี วิธีการ ดาเนินการ D ต้องมีผลการดาเนินการตามแผน 1. มีการกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการดาเนินการหรือไม่ 2. มีผู้รับผิดชอบดาเนินการได้ตามกาหนดไว้หรือไม่ 3. มีการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องมากน้อยเพียงไร 4. สามารถดาเนินการตามระยะเวลาที่กาหนดได้หรือไม่ 5. สามารถดาเนินการได้ตามงบประมาณที่กาหนดไว้หรือไม่ Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) คือ มีการประเมินแผน อาจประกอบด้วย การประเมิน โครงสร้างที่รองรับ การดาเนินการ การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน และการประเมินผลของ การดาเนินงาน ตามแผนที่ได้ตั้งไว้ โดยในการประเมินดังกล่าวสามารถ ทาได้เอง โดยคณะกรรมการที่รับผิดชอบแผนการ ดาเนินงานนั้น ๆ ซึ่งเป็นลักษณะของการประเมินตนเอง โดยไม่จาเป็นต้องตั้งคณะกรรมการ อีกชุดมาประเมินแผน หรือไม่จาเป็นต้องคิดเครื่องมือหรือแบบประเมิน ที่ยุ่งยากซับซ้อน C ต้องมีการประเมินการดาเนินการ 1. ได้มีการกาหนดวิธี/รูปแบบการประเมินหรือไม่ 2. มีรูปแบบของการประเมินเหมาะสมหรือไม่ 3. ผลของการประเมินตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่ 4. ปัญหา/จุดอ่อนที่พบในการดาเนินการมีหรือไม่ 5. ข้อดี/จุดแข็ง ของการดาเนินการมีหรือไม่ Act (ปรับปรุงแก้ไข) คือ มีการนาผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจประกอบด้วย การนาผลการ ประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้าง หรือขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดี ยิ่งขึ้นไปอีก และสังเคราะห์รูปแบบ การดาเนินการใหม่ที่เหมาะสม สาหรับการดาเนินการ ในปีต่อไป A ต้องมีการ ปรับปรุงตามผลการประเมิน 1. มีการระดมสมองเพื่อหาทางแก้ไขปัญหา/จุดอ่อนที่ค้นพบ 2. มีการระดมสมองเพื่อหาทางเสริมข้อดี/จุดแข็งเพิ่มขึ้น 3. มีการนาผลที่ได้จากการระดมสมอง เสนอคณะกรรมการประกันคุณภาพของคณะเพื่อพิจารณา สาหรับใช้วางแผนครั้งต่อไป
  • 4. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๓๗ โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนกระแชงวิทยา (ปรับปรุง 1 ตุลาคม 2557) - งานแผนงาน - งานจัดองค์กร - งานสารสนเทศ - งานประกันคุณภาพภายใน - งานคานวณต้นทุนผลผลิต - งานควบคุมภายใน - งานบริหารการเงินและบัญชี - งานบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ - งานประเมินผลการดาเนินงาน การเงินและพัสดุ - งานเลขานุการ ผู้อานวยการโรงเรียนกระแชงวิทยา ฝ่ายบริหารงานงบประมาณและแผนงาน ฝ่ายบริหารงานทั่วไปฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล - งานทะเบียนนักเรียน - งานวัดผลและประเมินผลการเรียน - งานพัฒนาคุณภาพวิชาการ - งานหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ - งานจัดตารางเรียน ตารางสอน - งานห้องสมุด - งานแนะแนว - งานวิจัยและส่งเสริมการวิจัย - งานนิเทศ กากับติดตามและประเมินผล - งานเอดส์และเพศศึกษา - งานนักเรียนเรียนร่วม - งานสานรัก ก.ช.ว. - งานเลขานุการ - งานระเบียบวินัยนักเรียน - งานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม - งานกิจการนักเรียน - งานครูที่ปรึกษา - งาน 5 ส - งานอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม - งานอนามัยโรงเรียน - งานสหกรณ์ - งานโสตทัศนูอุปกรณ์ - งานประชาสัมพันธ์ - งานธุรการ - งานเวรยามรักษาความปลอดภัย - งานเลขานุการ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการชมรมครูและผู้ปกครองนักเรียน - งานคณะกรรมการสถานศึกษา - งานชมรมครู และผู้ปกครอง นักเรียน - งานบุคคล - งานทะเบียนสถิติ - งานขวัญและกาลังใจครู - งานจ้างครู - งานจ้างลูกจ้าง - งานชุมชนและภาคีเครือข่าย นักเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียนกระแชงวิทยา คณะครู/บุคลากรทางการศึกษา สภานักเรียน
  • 5. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๓๘ ๔.สภาพบริบทและผลการจัดการศึกษา ๔.๑ ข้อเสนอแนะจากคณะผู้ประเมิน ๔.๑.๑ การประเมินคุณภาพภายใน ภาพรวมทั้ง ๕ ด้าน ใน ๑๕ มาตรฐาน ๖๕ ตัวบ่งชี้ ควรยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และพัฒนาระบบ กระบวนการดาเนินการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ๔.๑.๒ การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โดยเขตพื้นที่ ใน ๘ องค์ประกอบ ควรมีคณะกรรมการตรวจสอบความถูกต้องของรายงานประจาปี (SAR) ก่อนนาเสนอ คณะกรรมการสถานศึกษาและต้นสังกัด ๔.๑.๓ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ผู้เรียนควรพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยครูควรทาการ วิเคราะห์วัตถุประสงค์ของหลักสูตรและหน่วยการเรียนรู้ว่าต้องการให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอดในเรื่อง ใดบ้างในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ นามาจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ประเมินและพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตาม ศักยภาพของแต่ละบุคคล เตรียมการสอน สื่อ แบบฝึกหัด จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้ คิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล ฝึกสรุปความเข้าใจให้รู้ถึงความต้องการของโจทย์ ปัญหา ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริงในการทดลองทุกขั้นตอน ฝึกสรุปผลด้วยตนเองในผลการทดลอง ฝึกการเขียน รายงานผล เชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ สถานศึกษาควรกาหนดมาตรฐาน เกณฑ์ให้ชัดเจนในการประเมินผลการดาเนินโครงการ ควร ประเมินให้ตรงตามวัตถุประสงค์และเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เพื่อการนาผลไปวิเคราะห์ร่วมกับขบวนการดาเนินการ เพื่อ นาไปพัฒนาให้ต่อเนื่อง จากข้อเสนอแนะทั้ง ๓ องค์กร โรงเรียนได้นาไปวิเคราะห์ วางแผนนาข้อมูลนี้ไปพัฒนาใน เรื่องต่อไปนี้ กาหนดแนวทางในการยกระดับผลการทดสอบ O-NET ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นมา โดยยึด แนวทางการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 28 ดังนี้ 1. ครูจัดเตรียมข้อสอบ O-NET และวิเคราะห์ข้อสอบและวิเคราะห์ผลคะแนนย้อนหลัง 3 ปี เพื่อศึกษาจุดแข็ง จุดควรพัฒนาเร่งด่วน โดยเฉพาะมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตรในลาดับท้ายๆ ที่นักเรียนยัง มีความรู้ความเข้าใจน้อยหรือน้อยมาก นาจุดควรพัฒนาเร่งด่วนมาวางแผนปรับปรุง แก้ไขต่อไป 2. ปรับวิธีการจัดการเรียนรู้ของครู มุ่งเน้นให้ครูจัดการเรียนรู้โดยยึดมาตรฐาน/ตัวชี้วัดตาม หลักสูตร (ไม่ใช่สอนตามหนังสือเรียน) จัดให้มีการแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอนที่นา นักเรียนบรรลุมาตรฐาน/ตัวชี้วัดได้อย่างมีคุณภาพ 3. X-Ray นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาการอ่าน เขียน คิดคานวณ และแก้ปัญหา เป็นราย สถานศึกษา รายห้องเรียน จนถึงรายบุคคล เร่งรัดให้มีการดูแลเป็นพิเศษเพื่อให้สมรรถนะทางด้านการเรียนรู้ ได้รับการพัฒนา 4. เตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนในการทดสอบสาคัญ ๆ อาทิ การทดสอบระดับชาติ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) การประเมินนักเรียนระดับนานาชาติ (PISA TIMSS) เป็นต้น สร้างความคุ้นเคย การทาข้อสอบรูปแบบที่เน้นการคิดวิเคราะห์ขั้นสูง รวมทั้งสร้างความเข้าใจให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญ ของประโยชน์ในการทดสอบ
  • 6. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๓๙ 5. เพิ่มสมรรถนะครูด้านการวัดและการประเมินผลนักเรียน โดยจะดาเนินการร่วมกับสถาบัน ทดสอบแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เพื่อส่งเสริมสมรรถนะครูให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะด้านการวัด และการประเมินที่เน้นการคิดวิเคราะห์ การประเมินความก้าวหน้า และสามารถวิเคราะห์นักเรียนจากผลการ ประเมิน สามารถใช้ผลประเมินพัฒนานักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. จัดตารางสอนเสริมนักเรียนเพื่อเตรียมความพร้อมทั้ง 8 กลุ่มสาระ ให้ครูและนักเรียนได้ เตรียมความพร้อมอย่างเข้ม 7. นิเทศการจัดการเรียนรู้ของครูอย่างสม่าเสมอ (อย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง) 8. ช่วยให้คาแนะนาผู้เรียนในการตรวจสอบเลขที่นั่งสอบ บัตรแสดงตน สนามสอบ ย้าเตือนไม่ให้ ผู้เรียนเข้าสอบช้ากว่ากาหนดเวลา (30 นาที) เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมในการสอบ ใช้เวลาในการสอบในการคิด หาคาตอบให้ถี่ถ้วน และใช้เวลาคิดทบทวนให้รอบคอบ 9. สร้างความตระหนักให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของการทดสอบ O-NET และตั้งใจทาข้อสอบ กาชับให้ครูดาเนินการสอบให้ได้มาตรฐานการจัดสอบอย่างเคร่งครัด 10. ฝึกให้ผู้เรียนทาข้อสอบที่ใกล้เคียงกับแบบทดสอบ O-NET เพื่อเป็นการสร้างความคุ้นเคย ก่อนสอบจริง 11. ชี้แจงผู้เรียนให้เข้าใจถึงเหตุผล ความจาเป็น และความสาคัญของการสอบ โน้มน้าว จูงใจ และย้าเตือนผู้เรียนให้ตั้งใจทาข้อสอบ O-NET ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อให้ผลการสอบเป็นผลที่เกิดจากการ เรียนรู้ที่แท้จริง ครูสามารถนาไปวางแผนพัฒนาการเรียนการสอนต่อไปได้ ๔.๒ แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในอนาคต 4.2.1 ระบบการบริหารจัดการและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาองค์กร ในการดาเนินการพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนที่มีมาตรฐานและคุณภาพให้เป็นที่ ยอมรับ และเป็นแกนหลักในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น จะต้องมีการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและ สร้างระบบบริหารจัดการของโรงเรียนให้เข้มแข็งเพื่อทาให้โรงเรียนมีความพร้อมและสามารถแข่งขันทางด้าน วิชาการ แหล่งเรียนสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้ ที่สาคัญต้องเป็นโรงเรียนที่เป็นศูนย์บริการทาง วิชาการแก่ชุมชน 4.2.2 การพัฒนาการพัฒนาบุคลากร ในการสร้างความเข้มแข็งด้านวิชาการ ครูเป็นบุคคลที่สาคัญเป็นอย่างยิ่งในการที่จะ เป็นผู้ถ่ายทดและจัดกระบวนการเรียนรู้สู่นักเรียน จึงจะต้องพัฒนาครูสู่ความเป็นครูมืออาชีพ มีความรู้ความ เข้าใจในเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและ เข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูจะต้องเป็นผู้ที่ก้างทันสื่อเทคโนโลยี เป็นผู้ใช้เทคโนโลยีอย่างมีคุณค่าและมีประสิทธิภาพ สามารถนาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ของ ตนเองและจัดกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้เรียนให้ทันกับโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน เป็นผู้ที่มี ความรู้ความเข้าใจการหลักการและแนวทางการประเมินผลการเรียนสอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียน มีนาผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพอย่างแท้จริง 4.2.3 การพัฒนาระบบการเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลของโลกปัจจุบัน ทาให้การศึกษาเรียนรู้จะต้องมีการปรับตัวและ ปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา ทั้งภาวะเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้มและสื่อเทคโนโลยี ดังนั้นในการเรียนรู้ของ นักเรียนจึงมีการปรับเปลี่ยนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนโรงเรียนจะต้องเพิ่ม โอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข นั่นคือ การปรับเปลี่ยนตั้งแต่
  • 7. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๐ หลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและ น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลที่หลากหลายเหมาะสมกับ กิจกรรมการเรียนรู้และศักยภาพของนักเรียน เพื่อให้นักเรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะชีวิต สามารถ พัฒนาตนเองให้เป็นพลเมืองของชุมชน ประเทศชาติและสากล 4.2.4 การพัฒนาระบบชุมชนและภาคีเครือข่าย ชุมชนและภาคีเครือข่ายเป็นปัจจัยหลักในการส่งเสริมการจัดการศึกษา จึงต้องมีการ ประสานความสัมพันธ์และพัฒนาการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนเพื่อให้การบริหารจัดการเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ที่จัดทาข้อมูลพื้นฐานและสภาพแวดล้อมของชุมชนและภาคีเครือข่ายให้บริการแก่ชุมชนมี ส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนประสานและขอรับการสนับสนุนด้านต่างๆจากชุมชนรวมทั้งประเมินผลความ ต้องการและความพึงพอใจของชุมชนเพื่อสร้างเครือข่ายที่ยั่งยืนต่อไปสาคัญเป็นการสร้างความพร้อมในการ กระจายอานาจ ๕.มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สถานศึกษาประกาศเพิ่มเติม พร้อมคาอธิบายระดับคุณภาพและ ค่าน้าหนัก (ถ้ามี) คือ ไม่มีการประกาศเพิ่มเติม ๖. วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ ชุมชนร่วมคิด ชีวิตพอเพียง ลือเลื่องสิ่งแวดล้อม งามพร้อมคุณธรรม เลิศล้าวิชาการ ก้าวทันเทคโนโลยี วิถีสู่สากล พันธกิจ 1. พัฒนาระบบการบริหารงาน จัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้หลากหลาย สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. ระดมทรัพยากรจากชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 4. ส่งเสริมและพัฒนา ครู นักเรียน ชุมชน ให้มีคุณธรรมจริยธรรมและดารงชีวิตในสังคมอย่างมี ความสุข 5. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ วิชาชีพ ศิลปะ ดนตรี กีฬาแก่ผู้เรียน 6. ส่งเสริมพัฒนาครูและนักเรียนนาเทคโนโลยีมาใช้อย่างเต็มศักยภาพ 7. จัดภูมิทัศน์ในสถานศึกษาให้โดดเด่นและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 8. ส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม วัฒนธรรม สู่ประชาคมอาเซียน 9. น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการศึกษา เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ มีนิสัยดี สุขภาพ สมบูรณ์ แข็งแรง บุคลิกภาพดี ความรู้ดี มีความสามารถเหมาะสมกับวัย มีพื้นฐานในการทางาน มีความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ดีมีความสามารถในการสอนและการปฏิบัติงาน มีบุคลิกภาพดี มีจิตเมตตาต่อศิษย์
  • 8. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๑ 3. ผู้บริหารเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง มีบุคลิกภาพดี มีคุณธรรม 4.การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นวิธีการเรียนรู้ (คิด ทา นาเสนอ) เหมาะสม สอดคล้องและทันสมัย 5. การบริหารจัดการดี เป็นระบบ มีความโปร่งใสและใช้หลักการมีส่วนร่วม 6. สถานศึกษามีอาคารสถานที่น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน น่าทางาน มีสื่อ อุปกรณ์ที่ดีและใช้ประโยชน์ได้ เต็มที่ อัตลักษณ์ของผู้เรียน รักษ์สิ่งแวดล้อม งามพร้อมวัฒนธรรม น้อมนาเศรษฐกิจพอเพียง เอกลักษณ์ของสถานศึกษา สวนป่าน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ๗. ในปีการศึกษา ๒๕๕7 สถานศึกษามีโครงการที่ดาเนินการได้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ใน ๑๕ มาตรฐาน ๖๕ ตัวบ่งชี้ มีทั้งหมดจานวน 15 โครงการ ดังนี้ จุดเน้น/กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา กลยุทธ์ที่ 3 สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปสถานศึกษาในทศวรรษที่สอง กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมบริบทของสถานศึกษาให้โดดเด่น กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ๑.โครงการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน 1. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีนิสัย รักการอ่าน การเขียน และการ ฟัง สูงขึ้น 2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ กระบวนการแสวงหาความรู้ รัก การเรียนรู้และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 (91) , 2.2 (100), 2.3 (96) , 2.4 (81) , 3.1 (76) , 3.2 (81), 3.3 (100) , 3.4 (81) , 4.1 (91) , 4.2 (81), 4.3 (81) , 4.4 (81) , 5.2 (86) 5.3 (91) , 6.1 (86) , 6.2 (81) , 6.3 (91) , 6.4 (100) และ 11.3 (100) มาตรฐานที่ 2 , 3 , 4 , 5 , 6 และ 11 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 , 2.2 , 2.3 ,2.4 , 3.1 , 3.2 , 3.3 , 3.4 , 4.1 , 4.2 , 4.3 , 4.4 , 5.2 , 5.3 , 5.4 , 6.1 , 6.2 , 6.3 , 6.4 และ 11.3
  • 9. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๒ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมี สุนทรียภาพ - ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ - ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง - ผู้เรียนมีความสามารถในการ คิดอย่างเป็นระบบ คิด สร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหา ได้อย่างมีสติสมเหตุผล - ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่ จาเป็นตามหลักสูตร - ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดี ต่ออาชีพสุจริต ๒.โครงการยกระดับ คุณภาพผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 1.. เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนได้ตามเกณฑ์ มาตรฐาน 2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนโดยภาพรวมของ โรงเรียนให้สูงขึ้น เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 (86) , 5.2 (86) , 5.3 (91) และ 5.4 (61) เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่ จาเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 5 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 , 5.2 , 5.3 และ 5.4 3.โครงการพัฒนางาน เอดส์และเพศศึกษา 1. เพื่อสร้างเครือข่าย ผู้ปกครองในการดูแลนักเรียน ในเรื่องเพศศึกษา 2. เพื่อสร้างความตระหนักใน การเรียนรู้เพศศึกษา ปัญหา ของวัยรุ่นในวัยเรียน 3. นักเรียน เยาวชน ผู้ปกครอง นาความรู้ที่ได้ใปใช้ใน ชีวิตประจาวันและเผยแพร่ใน ชุมชนต่อไป เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 (80) เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนมีการป้องกันตนเอง จากสิ่งเสพติดให้โทษและ หลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะ ที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ มาตรฐานที่ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 4.โครงการส่งเสริม สุขภาพกาย สุขภาพจิต 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมี สุขภาพร่างกาย สุขภาพจิต ที่ เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานที่ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 , 1.4 , 1.5 และ 1.4
  • 10. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๓ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) และสุนทรียภาพทาง ดนตรี แข็งแรงสมบูรณ์ 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด ทักษะด้านกีฬา มุ่งสู่ความเป็น เลิศ 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด สุนทรียภาพทางดนตรี ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 (90) , 1.4 (85) , 1.5 (90) และ 1.6 (100) เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมี สุนทรียภาพ 5.โครงการพัฒนาระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน (โครงการโรงเรียนสีขาว) 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทาง อารมณ์ (EQ) และช่วยเหลือ เด็กที่มีปัญหาทางด้านการเรียน ครอบครัว สังคมและสุขภาพ อนามัย 2. เพื่อสร้างสัมพันธภาพ ความเข้าใจ ความเห็นอกเห็น ใจอันดีระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง 3. เพื่อให้บุคลากรของ โรงเรียนเห็นความสาคัญและ เข้าใจถึงแนวปฏิบัติในการดูแล ช่วยเหลือ นักเรียนตาม หลักการประกันคุณภาพ การศึกษา 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง 5. เพื่อให้นักเรียนมี พฤติกรรม/คุณลักษณะตามที่ โรงเรียนกาหนด 6. เพื่อจัดและพัฒนาระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมี คุณภาพและทั่วถึง เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 (80) 2.1 (91) , 2.2 (100) ,2.3 (96) , 2.4 (81) และ 10.6 (91) เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ตามหลักสูตร - ผู้เรียนมีความเอื้ออาทรผู้อื่น และกตัญญูกตเวทีต่อผู้มี พระคุณ - ยอมรับความคิดและ วัฒนธรรมที่แตกต่าง - ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วม อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ 1 , 2 และ 10 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 , 2.2 , 2.3 , 2.4 และ 10.6
  • 11. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๔ กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) 1.โครงการประกันคุณภาพ การศึกษา 1. เพื่อให้บุคลากรในโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจในระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา 2. เพื่อให้โรงเรียนมีระบบการ ประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา 3. เพื่อให้โรงเรียนมีความ เข้มแข็งพร้อมรับการประเมิน คุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. 2554 - 2558) เชิงปริมาณ - ร้อยละของคุณภาพการ บริหารงานประกันคุณภาพ การศึกษาผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว บ่งชี้ที่ 12.1 (91) , 12.2 (86) , 12.3 (83) , 12.4 (2) เชิงคุณภาพ - สถานศึกษามีการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรฐานที่ 12 ตัวบ่งชี้ที่ 12.1-12.6 2.โครงการพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาสู่มาตรฐาน การศึกษา 1. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่มี ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ ในการปฏิบัติงาน 2. เพื่อให้โรงเรียนมีระบบการ ทางานที่พร้อมให้บริการแก่ ผู้เรียนและหน่วยงานอื่นๆ 3. เพื่อให้โรงเรียนมีความ เข้มแข็งด้านการบริหารงาน พร้อมรับการประเมินจาก หน่วยงานต้นสังกัด เชิงปริมาณ - ร้อยละของคุณภาพการจัด การศึกษาสู่มาตรฐาน การศึกษาผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว บ่งชี้ที่ 7.1 (76) , 7.2 (81) , 7.3 (81) 7.4 (71) 7.5 (86) 7.6 (100) , 7.7 (86) , 7.8 (100) และ 7.9 (100) 8.1-8.6 (100) เชิงคุณภาพ - สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาสู่มาตรฐาน การศึกษา มาตรฐานที่ 7 และ 8 ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 -7.9 และ 8.1-8.6
  • 12. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๕ กลยุทธ์ที่ ๓ สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) 1.โครงการส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร 1. เพื่อให้บุคลากรได้พัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่องทั้งในด้าน บุคลิกภาพ คุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพครู 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และ ประสบการณ์แก่บุคลากร 3. เพื่อให้บุคลากรเข้าใจและ ปฏิบัติตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้บุคลากรมีคุณภาพที่ เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพ ชั้นสูง 5. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้รู้ทัน สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอน เชิงปริมาณ - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับ การส่งเสริมและพัฒนา ผ่าน เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 13.1 (91) , และ 13.2 (100) เชิงคุณภาพ - บุคลากรในสถานศึกษาได้รับ การส่งเสริมและพัฒนาใน วิชาชีพของตนเอง -สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุนให้ สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้ มาตรฐานที่ 13 ตัวบ่งชี้ที่ 13.1 และ 13.2 2.โครงการพัฒนางาน ประชาสัมพันธ์และการ สื่อสาร 1. เพื่อให้บริการนักเรียน – ครู และบุคลากรภายในโรงเรียน 2. เพื่อให้บริการข้อมูลข่าวสาร แก่หน่วยงานภายนอก 3. เพื่อปรับปรุงอุปกรณ์งานโสต ทัศนศึกษาให้มีระดับเสียงและ ภาพที่เหมาะสมต่อการเรียนการ สอน 4. เพื่อจัดทาระบบเครือข่าย ภายในให้ครอบคลุมศูนย์ เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 5. เพื่อปรับปรุงเครือข่ายในส่วน ที่ชารุดเสียหาย 6. เพื่อจัดหาโปรแกรมฐานข้อมูล การให้บริการศูนย์เทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษาที่มี ประสิทธิภาพและเป็นปัจจุบัน เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียนใช้ เทคโนโลยีในการเรียนรู้ การ คิดจากเรื่องที่เรียนรู้โดยวิธีการ สืบค้น และนาเสนอวิธีคิด ผลงาน ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว บ่งชี้ที่ 13.1 (91) , และ 13.2 (100) เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนได้รับการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้เป็นบุคคลแห่งการ เรียนรู้ -สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุนให้ สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้ มาตรฐานที่ 13 ตัวบ่งชี้ที่ 13.1 และ 13.2 3.โครงการส่งเสริมรักการ อ่าน 1. เพื่อให้นักเรียนมีนิสัยรักการ อ่าน เห็นความสาคัญของการ อ่านหนังสือ 2. เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักถึง เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียนมีนิสัย และ ทักษะในการอ่านและแสวงหา ความรู้ ผ่านเกณฑ์ที่ มาตรฐานที่ 13 ตัวบ่งชี้ที่ 13.1 และ 13.2
  • 13. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๖ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ทักษะการอ่านในการช่วยเพิ่มพูน ความรู้ที่กว้างขวาง 3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักวิธีการใช้ ห้องสมุดที่ถูกต้อง 4. เพื่อให้มีหนังสือ,เอกสาร, คอมพิวเตอร์,สื่อที่หลากหลายใน ห้องสมุด สถานศึกษากาหนด ดังนี้ 13.1 (91) , และ 13.2 (100) เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่านและ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กลยุทธ์ที่ ๔ ส่งเสริมอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) 1.โครงการสวน พฤกษศาสตร์ในโรงเรียน 1. ปลูกจิตสานึกให้นักเรียนมีความ รัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของพืช พรรณไม้ตามแนวพระราชดาริฯ 2. เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งรวบรวม ตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้และ การเก็บรักษาเพื่อประโยชน์ของ การศึกษาและเผยแพร่สู่ภายนอก 3. เพื่อใช้บูรณาการในการเรียนการ สอนวิชาต่างๆได้หลากหลาย 4. เพิ่มความร่มรื่น สวยงามใน บริเวณโรงเรียน ส่งผลดีต่อสุขภาพ ของผู้เรียนและบุคลากร เชิงปริมาณ - ร้อยละของความสาเร็จของ การสร้างและพัฒนาสวน พฤกษศาสตร์ในโรงเรียน ผ่าน เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 14.1 (84) เชิงคุณภาพ - มีสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน มาตรฐานที่ 14 ตัวบ่งชี้ที่ 14.1 2.โครงการพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง 1. เพื่อพัฒนานักเรียนด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง 2.เพื่อให้นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม และลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดม่ง หมายของหลักสูตร 3. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ มีทักษะใน อาชีพสุจริต 4. เพื่อให้นักเรียนมีรายได้ระหว่าง เรียนเป็นการประหยัด 5. เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบ อาชีพที่สุจริต 6. เพื่อให้โรงเรียนและชุมชนมีส่วน เชิงปริมาณ - ร้อยละของความสาเร็จของ การจัดการเรียนการสอนตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง ผ่าน เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ 14.1 (84) และ 14.2 (81) เชิงคุณภาพ - มีแหล่งเรียนรู้ตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียงและครู นามาใช้ในกิจกรรมการเรียนการ สอน การพัฒนาผู้เรียน มาตรฐานที่ 14 ตัวบ่งชี้ที่ 14.1 และ 14.2
  • 14. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๗ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) ร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนของโรงเรียน กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปสถานศึกษาในทศวรรษที่สอง โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) 1.โครงการโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียน 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุข นิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตของตนเอง 2. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติตน ในชีวิตประจาวัน 3. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักการป้องกันตนเองให้พ้น จากสิ่งเสพติดให้โทษต่างๆ 4. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักป้องกันตนเองจากความ รุนแรงและปัญหาทางเพศ 5. เพื่อให้ผู้เรียน มีความมั่นใจ กล้าแสดงออก 6. เพื่อให้ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียนได้รับการ ส่งเสริมสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว บ่งชี้ที่ 1.2 (80) ,11.2 (68) เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนมีสุขนิสัยในการดูแล สุขภาพ ออกกาลังกายสม่าเสมอ มาตรฐานที่ 1 และ 11 ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 , 11.2 2.โครงการสาน สัมพันธ์ชุมชน 1. เพื่อสร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างโรงเรียน กับชุมชน 2. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ของโรงเรียน 3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยกันดูแล นักเรียนให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ 4. สร้างเสริมความรู้แนวคิดในการจัดการศึกษา ภายในชุมชน เชิงปริมาณ - ร้อยละของผู้เรียนได้รับการ ส่งเสริมสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว บ่งชี้ที่ 9.1 (91) , 9.2 (86) และ 9.3 (86) เชิงคุณภาพ - คณะกรรมการสถานศึกษา ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ มีการ กากับ ติดตาม ดูแลสถานศึกษา ระดมทรัพยากรและให้การ สนับสนุนการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 9 ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 , 9.2 และ 9.3
  • 15. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕7 หน้า ๔๘ กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมบริบทของสถานศึกษาให้โดเด่น โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) สนอง มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้) 1.โครงการพัฒนาอาคาร สถานที่และสิ่งแวดล้อม 1. เพื่อจัดห้องเรียนได้ครบตามความต้องการ เหมาะสม สวยงาม มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรียนการสอน 2. เพื่อจัดห้องสานักงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีระเบียบในการใช้อย่างชัดเจน 3.เพื่อจัดห้องสนับสนุนการเรียนการสอนได้ เพียงพอกับความต้องการของครูและนักเรียน 4. ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนให้สวยงาม 5. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในสวัสดิภาพ ด้านต่างๆสาหรับนักเรียน 6. เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น เชิงปริมาณ - ร้อยละของอาคาร สถานที่ได้รับ การดูแล บารุง รักษา ผ่านเกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด ดังนี้ ตัว บ่งชี้ที่ 11.1 (100) เชิงคุณภาพ - ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคาร เรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มี สิ่งอานวยความสะดวกพอเพียง อยู่ ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อม ร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สาหรับ ผู้เรียน มาตรฐานที่ 11 ตัวบ่งชี้ที่ 11.1