SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
Volume 32/2560
ฉบับที่ 32
FREE COPYFREE COPY
ขอเชิญบริษัทซอฟต์แวร์ร่วมลงทะเบียน
เพื่อรับบริการจับคู่ธุรกิจ
10
OBVOC
ส่งเครื่องมือรับรู้พฤติกรรม
ของผู้บริโภคบนโลกออนไลน์
12
ทหารไทย
ใช้เครื่องมือรับฟังความคิดเห็น
บนสื่อสังคมออนไลน์ช่วยต่อยอดธุรกิจ
08
ไทยดอทคอม
พัฒนาตลาดกลางซื้อขายซอฟต์แวร์
หวังเพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรม
ซอฟต์แวร์ไทยตอบโจทย์ในประเทศ
ติดปีกเอสเอ็มอี
รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล
ติดปีกเอสเอ็มอี
รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล
ติดปีกเอสเอ็มอี
รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล
ติดปีกเอสเอ็มอี
รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล
การแข่งขันในโลกธุรกิจสมัยนี้	ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล	รวมทั้ง
การเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและตลอดเวลาเป็นกุญแจ
สำาคัญในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจ	เพื่อความเจริญเติบโต
หรือการอยู่รอดของธุรกิจ
	 กองบรรณาธิการ	Smart	Industry	จึงขอนำาเสนอการนำาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาเพื่อตอบโจทย์ของธุรกิจขนาดกลางและย่อม	หรือเอสเอ็มอี	รวมถึง
การดำาเนินนโยบายไทยแลนด์	4.0	ของรัฐบาลที่มีแนวทางส่งเสริมให้เอสเอ็มอี	
นำาเทคโนโลยีมาช่วยในการดำาเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
	 นอกจากนี้ทางกองบรรณาธิการยังได้นำาเสนอการให้บริการซอฟต์แวร์
ผ่านระบบคลาวด์	คอมพิวติ้ง	(Cloud	Computing)	โดยบริษัท	ไทยดอทคอม	
ที่มีการจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานและมาตรฐานระดับสากลเพื่อรองรับการเป็น
ตลาดกลางในการจำาหน่ายซอฟต์แวร์	เพื่อเป็นการบูรณาการและยกระดับการให้
บริการของธุรกิจซอฟต์แวร์ในประเทศ
	 ทางกองบรรณาธิการยังได้นำาเสนอเครื่องมือที่เก็บข้อมูลจากผู้บริโภค
บนโลกออนไลน์	เพื่อดูการตอบรับของผู้บริโภคกับสินค้าและแบรนด์บนโลก
ออนไลน์ที่จะมาตอบโจทย์การรับรู้ความต้องการของผู้บริโภคบนโลกออนไลน์	
	 ดังนั้น	ด้วยพฤติกรรมการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง
จากเดิม	รวมถึงการซื้อสินค้าที่มีความแตกต่างกันหลากหลายอย่างมาก	ในปัจจุบัน	
จึงจำาเป็นอย่างยิ่งที่ธุรกิจขนาดกลางและย่อมจะต้องสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม
มาช่วยเพื่อให้ธุรกิจสามารถแข่งขันในตลาดและสามารถยืนหยัดในธุรกิจของตนเอง
ได้ในอนาคต
กองบรรณาธิการ
บทบรรณาธิการ
เทคโนโลยี AI และ >> 3
Social Listening Tools
กับบทบาทการรับฟังความคิดเห็น
ของผู้บริโภคผ่านโลกออนไลน์
ติดปีกเอสเอ็มอี >> 4
รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล
ไทยดอทคอม >> 8
พัฒนาตลาดกลางซื้อขายซอฟต์แวร์
หวังเพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรม
ซอฟต์แวร์ไทยตอบโจทย์ในประเทศ
เอคอมเมิร์ซ ส่ง B2ALL >> 9
แพลตฟอร์มหนุนธุรกิจ
สู่โลกดิจิตอล
OBVOC >> 10
ส่งเครื่องมือรับรู้พฤติกรรมของ
ผู้บริโภคบนโลกออนไลน์ ช่วยเสริม
ความแข็งแกร่งของธุรกิจ
เอ็กซ์เพรส >> 11
เสริมทับด้วยบริการ
Express on Cloud เพิ่มทางเลือกธุรกิจ
ทหารไทย >> 12
ใช้เครื่องมือรับฟัง
ความคิดเห็นบนสื่อสังคมออนไลน์
ช่วยต่อยอดธุรกิจ
Formal Affair BKK >> 13
ร้านเช่าชุดออนไลน์ ใช้ดาต้าอนาเลติกส์
สร้างความมั่นใจในการทำาธุรกิจ
กิจกรรม >> 14
เปิดแผนกลยุทธ์ >> 15
ฉบับที่ 6
สวทช. รองรับไทยแลนด์ 4.0
พร้อมสร้างศักยภาพการแข่งขัน
ของประเทศ
จุลสารข่าว Smart Industry จัดท�าโดย เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand)
ภายใต้ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เลขที่ 99/31 อาคาร Software Park
ถนนแจ้งวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884
เว็บไซต์: www.swpark.or.th | www.tmc.nstda.or.th | www.nstda.or.th
Contentสารบัญ
3Smart Industry
ท�าการค้นหา คัดกรอง และวิเคราะห์
ข้อมูลที่เกิดขึ้น พูดง่ายๆ ก็คือกระบวน
การตรวจสอบ รวบรวมจัดเก็บเสียง
สะท้อน หรือ feedback ของผู้บริโภค
ที่มีต่อแบรนด์ ผ่านทางสื่อออนไลน์
ช่องทางต่างๆ เพราะการวางกลยุทธ์
การตลาดออนไลน์นั้นไม่มีสูตรส�าเร็จ
เป็นเรื่องเฉพาะตัวของแบรนด์ สินค้า
แตกต่างกัน คุณลักษณะของกลุ่มลูกค้า
เป้าหมายและปัจจัยอื่นๆ ย่อมแตกต่างกัน
การเลือกใช้ Social Listening Tool
ที่ดี เหมาะสมกับการใช้งานของแบรนด์
นั้นสามารถช่วยให้เข้าใจถึงความคิด
และความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภค
วางแผนการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น
ทางด้านประโยชน์ทางธุรกิจของ
Social Listening Tools ท�าให้นักการตลาด
สามารถได้ข้อมูลจากผู้บริโภคในเบื้องต้น
สามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รวมถึงได้ข้อมูลที่เป็น
ความเคลื่อนไหวของผู้บริโภคนั้นจริงๆ
ท�าให้องค์กร ธุรกิจ และนักการตลาด
จะสามารถสร้างโอกาสทางการตลาด
และสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง
อย่างรวดเร็วและยั่งยืนบนโลกดิจิทัล
นอกจากนี้การใช้ Social Listening Tools
ในการตรวจสอบและเฝ้ามองปัญหาหรือ
ความไม่พอใจของลูกค้าเพื่อไม่ให้ปัญหา
ลุกลามใหญ่โตก็มีความส�าคัญอย่างมาก
เช่นกัน
AI เป็นค�าที่เราเรียกติดปาก มาจาก
ค�าว่า Artificial Intelligence หรือ
ปัญญาประดิษฐ์ เป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง
ของวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้อง
กับวิธีการท�าให้คอมพิวเตอร์มีความฉลาด
ในการโต้ตอบค�าถาม หรือการโต้ตอบ
จากการตรวจจับภาพ เสียง หรือสิ่งต่างๆ
จากเซ็นเซอร์ (Sensors) โดยการเชื่อมโยง
ข้อมูลจากข้อมูลในกลุ่มค�าที่ได้ถูกสร้าง
ขึ้นในระบบคอมพิวเตอร์ และการพัฒนา
ให้ระบบคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาต่อยอด
ออกไป โดยโปรแกรม machine learning
หรือ deep learning ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์
ให้สร้างความสามารถในการคิดเองได้
หรือมีปัญญานั่นเอง ปัญญานี้มนุษย์
เป็นผู้สร้างให้คอมพิวเตอร์ จึงเรียกว่า
ปัญญาประดิษฐ์
AI มีความสามารถท�างานคล้าย
มนุษย์ Acting Humanly สามารถสื่อสาร
	 กระแสความก้าวหน้าของนวัตกรรม
และเทคโนโลยีใหม่ๆ	ที่เข้ามาเพิ่มความ
สะดวกสบายและเอื้ออำานวยต่อการทำา
ธุรกิจมีจำานวนมากยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง
Smart	Industry	จึงขอนำาเสนอเทคโนโลยี	
AI	และ	Social	Listening	Tools	ซึ่งกำาลัง
เป็นที่กล่าวถึงและมีบทบาทที่สำาคัญ
อย่างมากในขณะนี้
เทคโนโลยี AI
และ Social Listening Tools
กับบทบาทการรับฟังความคิดเห็น
ของผู้บริโภคผ่านออนไลน์
ได้ด้วยภาษาปกติที่มนุษย์ใช้ เช่น
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาอื่นๆ
ตัวอย่างคือ การแปลงข้อความเป็นค�าพูด
และการแปลงค�าพูดเป็นข้อความมี
ประสาทรับสัมผัสคล้ายมนุษย์ เช่น
คอมพิวเตอร์รับภาพได้โดยอุปกรณ์
รับสัมผัส แล้วน�าภาพไปประมวลผล
และสามารถเคลื่อนไหวได้คล้ายมนุษย์
เช่น หุ่นยนต์ช่วยงานต่างๆ อย่างการ
ดูดฝุ่น เคลื่อนย้ายสิ่งของ การโต้ตอบ
การสื่อสารในระบบ messaging การ
มีปฏิกิริยาตอบสนองจากเหตุการณ์
ที่ sensor รับรู้
ในส่วนของประโยชน์ทางธุรกิจนั้น
AI นั้นถูกเอามาใช้ในงานแทนมนุษย์
หลายอย่าง เช่น Call Center
(คอล เซ็นเตอร์) ต่างๆ เพื่อลดการใช้
แรงงานคน และสร้างความพึงพอใจให้กับ
ลูกค้า แต่อนาคต AI จะสามารถมาแทน
การท�างานที่ซับซ้อนของคนได้แน่นอน
เช่น การวางแผน การท�ากลยุทธ์ทางการ
ตลาด และการสร้างเนื้องานต่างๆ เป็นต้น
ส�าหรับ Social Listening Tools
หรือเครื่องมือที่เก็บข้อมูลบนโลกดิจิทัล
องค์กรหรือธุรกิจสามารถรับฟังความคิด
เห็นของผู้บริโภคต่อสินค้าและบริการ
จากการที่คนให้ความเห็นต่างๆ บนโลก
โซเชียล และเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้
นักการตลาดจะสามารถรู้ได้ก็ต่อเมื่อ
4Smart Industry
รัฐบาลได้เล็งเห็นความส�าคัญและ
นโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 เพื่อกระตุ้นให้ทั้ง
ภาคเศรษฐกิจและสังคมในประเทศไทยได้
ตระหนักถึงการน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้
ในการด�าเนินธุรกิจและชีวิตประจ�าวัน
ในยุคใหม่
เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของ
ประเทศไปสู่การสร้างเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มี
ประสิทธิภาพและศักยภาพสูงขึ้น
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก-
รัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ (คสช.) กล่าวว่า ไทยแลนด์ 4.0
เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ โมเดล
พัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีภารกิจ
การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม
ผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วและ
การแข่งขันจากทุกมุมโลกท�าให้ธุรกิจ
ทุกแขนงต้องปรับตัวและน�าเอาเทคโนโลยี
ดิจิทัลและนวัตกรรมต่างๆ มาใช้เพื่อให้
สามารถแข่งขันในยุคดิจิทัลนี้ได้
ติดปีกเอสเอ็มอี
รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล
Traditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่า
ค่อนข้างต�่า ไปสู่การให้บริการที่มีมูลค่า
สูงมากขึ้นหรือ High Value Services และ
เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต�่่าไปสู่แรงงาน
ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง
โดยในปี2559 ที่ผ่านมา ประเทศไทย
มีเอสเอ็มอี จ�านวน 2.8 ล้านราย คิดเป็น
ร้อยละ 99 ของจ�านวนวิสาหกิจทั้งหมด
ของประเทศ มีการจ้างงานของเอสเอ็มอี
มากกว่า 11 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 80
ของการจ้างงานทั้งหมด และเอสเอ็มอี
ยังสามารถสร้างรายได้กว่า 6.04 ล้านล้าน
บาท คิดเป็นสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวม
ในประเทศ หรือ จีดีพี (Gross Domestic
Product หรือ GDP) รวมของประเทศที่
ร้อยละ42 และเอสเอ็มอีส่งออกสินค้าไปยัง
ต่างประเทศคิดเป็นมูลค่าอยู่ที่ 62,376
ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนต่อมูลค่า
การส่งออกรวมทั้งประเทศร้อยละ 29
ทั้งนี้ จากสถิติเอสเอ็มอีที่มีอยู่กว่า
2.8 ล้านราย พบว่า มีเพียง 20% หรือ
ประมาณ 550,000 ราย ที่น�าระบบ
เทคโนโลยีและเครื่องมือออนไลน์มา
ประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการด�าเนิน
อุตสาหกรรม [ที่มา : ส�านักงานส่งเสริม
อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ
(องค์การมหาชน)]
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ส�าคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศ
ด้านต่างๆ เพื่อปรับแก้ จัดระบบปรับ
ทิศทาง และสร้างหนทางพัฒนาประเทศ
ให้เจริญ สามารถรับมือกับโอกาสและ
ภัยคุกคามแบบใหม่ๆ ที่เปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วในศตวรรษที่ 21 ไทยแลนด์
4.0 เป็นแนวนโยบายที่จะสร้างให้เกิดตัว
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ (New Engines
of Growth) สร้างรายได้สูงโดยเปลี่ยน
โครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value-Based
Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อน
ด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐานคิดหลัก คือ
เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์”
ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” เปลี่ยนจาก
การขับเคลื่อนประเทศด้วยภาค
อุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วย
เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และ
นวัตกรรม และเปลี่ยนจากการเน้น
ภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาค
บริการมากขึ้น
ในส่วนของธุรกิจขนาดกลางและเล็ก
หรือเอสเอ็มอีนั้น รัฐบาลมีเป้าหมายที่จะ
ผลักดันให้ธุรกิจเอสเอ็มอี จากรูปแบบเดิม
หรือ Traditional SMEs ไปสู่การเป็น
Smart Enterprises และสร้าง Startups
บริษัทเกิดใหม่ที่มีศักยภาพสูง เปลี่ยน
จากการให้บริการในรูปแบบเดิมหรือ
5Smart Industry
การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม และ
นวัตกรรมชาวบ้าน (Frugal innovation)
โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาให้ค�าแนะน�า
กับเอสเอ็มอี รวมถึงจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้าน เพื่อให้ค�าปรึกษาเอสเอ็มอี
ในการเลือกเทคโนโลยีหรือนวัตกรรม
ที่เหมาะสม ไม่ซับซ้อนและมีต้นทุน
ในการพัฒนาที่ยอมรับได้มาประยุกต์ใช้
เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตและบริการ
เพื่อยกระดับสินค้าและบริการให้มีคุณภาพ
และประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ ยัง
ส่งเสริมการน�าสิทธิบัตรที่ไม่อยู่ภายใต้การ
คุ้มครองมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
สินค้าและบริการเพื่อน�ามาใช้เป็นต้นแบบ
หรือแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
ส�าหรับเอสเอ็มอี เพื่อเร่งพัฒนายกระดับ
เอสเอ็มอีไทยทุกระดับให้มีศักยภาพ
มีความสามารถในการท�าธุรกิจระดับ
สากลมากขึ้น
เทคโนโลยีมาช่วยในการเสริมสร้างธุรกิจ
ประกอบด้วย 3 แนวทาง คือ
1. เสริมสร้างขีดความสามารถการ
ใช้ไอทีของเอสเอ็มอี มีการสร้างความ
ตระหนักให้เอสเอ็มอีเห็นความส�าคัญของ
การใช้ไอทีรวมถึงสนับสนุนให้เอสเอ็มอี
มีการพัฒนาความรู้และทักษะแก่บุคลากร
ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ไอที
และช่วยให้เอสเอ็มอีสามารถเลือกใช้
ระบบไอทีที่เหมาะสมกับรูปแบบของธุรกิจ
และตรงกับความต้องการในการใช้งาน
อาทิ ระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์
ระบบบัญชีและบริหารการเงิน และ
ระบบการจัดการโลจิสติกส์ เป็นต้น
2. ส่งเสริมและถ่ายทอดนวัตกรรม
ให้กับเอสเอ็มอี โดย สสว. สนับสนุนให้มี
การบริการถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี
ที่ครบวงจรแก่เอสเอ็มอี ในจ�านวนที่เพิ่ม
มากขึ้น เช่น การทดลองผลิตภัณฑ์ใน
ห้องทดลอง (lab scale) ไปสู่การผลิต
เชิงพาณิชย์ (commercial scale) เพื่อ
ให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดกับเอสเอ็มอี
นอกจากนี้ยังให้ค�าปรึกษาในการยกระดับ
เทคโนโลยีเพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งใน
การพัฒนาและยกระดับเทคโนโลยีให้
เอสเอ็มอีโดยการจัดให้มีพี่เลี้ยงที่ปรึกษา
ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความช�านาญเฉพาะ
ด้านเพื่อให้ค�าแนะน�าปรึกษาแก่เอสเอ็มอี
3. สนับสนุนให้เอสเอ็มอี เข้าถึง
สสว. สานรับนโยบายรัฐ
สร้างเอสเอ็มอี 4.0
ส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่อม (สสว.) เป็น
หน่วยงานหลักที่มีบทบาทโดยตรงในการ
ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจเอสเอ็มอี
ในประเทศให้มีศักยภาพในการแข่งขัน
ทั้งในและต่างประเทศ
อัครพงศ์ ศรีสุพรรณดิฐ รอง-
ผู้อ�านวยการส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) เล่าว่า
เพื่อรองรับการเติบโตและการขยายตัว
ของเอสเอ็มอีที่มีประสิทธิภาพ สสว. ได้จัด
ท�าแผนเอสเอ็มอี ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2560-
2564) ซึ่งตั้งเป้าหมายให้เอสเอ็มอีสามารถ
ขยายจีดีพีจาก ร้อยละ 29 เป็นร้อยละ 50
ในปี พ.ศ. 2564 โดยมีแนวทางในการ
ยกระดับและสร้างศักยภาพทางด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอทีของเอสเอ็มอี
ให้สามารถน�าเทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือ
ที่จะมาช่วยเพิ่มศักยภาพการแข่งขันให้กับ
เอสเอ็มอี ทั้งเพื่อการบริหารจัดการที่มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อการขยาย
ตลาดให้กว้างขึ้น และเป็นการลดต้นทุน
รวมทั้งแนวทางที่ส่งเสริมให้เอสเอ็มอีใช้
ไอทีในการขยายธุรกิจให้มากขึ้น
ส�าหรับยุทธศาสตร์ภายใต้การ
ส่งเสริมเอสเอ็มอี ฉบับที่ 4 ที่เกี่ยวข้อง
กับการส่งเสริมธุรกิจเอสเอ็มอีในการใช้
อัครพงศ์ ศรีสุพรรณดิฐ
6Smart Industry
ดร.พสุ โลหารชุน
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
เปิดตัว 5 แอพพลิเคชั่นเสริมทับเอสเอ็มอี
Money Flow Application ระบบควบคุม
การรับและจ่ายเงินสด และกระแสเงินสด
Billing Flow Application ระบบขาย
และออกบิลส�าหรับร้านค้าที่ซื้อมาขายไป
Stock Flow Application ระบบควบคุม
สต็อกสินค้า ส�าหรับธุรกิจที่ซื้อมาขายไป
DIP Business Evaluation Application
แอพพลิเคชั่นส�าหรับประเมินผลการ
ด�าเนินงานและผลประกอบการธุรกิจ
และ SMEs DIP Business Plan
Application ระบบการจัดท�าแผนธุรกิจ
ส�าหรับธุรกิจการผลิตรายย่อย
โดยทั้ง 5 แอพพลิเคชั่นจะเป็นปัจจัย
ช่วยส่งเสริมและลดต้นทุนในการด�าเนิน
ธุรกิจของผู้ประกอบการ โดยเฉพาะในด้าน
ระบบบัญชีและการเงินให้มีความต่อเนื่อง
ในทุกสถานการณ์ ลดความล่าช้าและ
ความซับซ้อนที่เกิดขึ้นประจ�าวัน เพิ่ม
ประสิทธิภาพและความแม่นย�าในระบบ
บัญชีและการเงินได้มากขึ้น รวมทั้งยัง
ช่วยลดต้นทุนจากการใช้ทรัพยากรมนุษย์
อีกด้วย
ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรม
ส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้มีการพัฒนา
แอพพลิเคชั่นเพื่อตอบสนองการแก้
ปัญหาและตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของธุรกิจ
เอสเอ็มอีและผู้ประกอบการในยุคที่ระบบ
4G ก�าลังครอบคลุมวิถีชีวิตและการ
ด�าเนินงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดี
ยิ่งขึ้น โดยได้พัฒนา 5 แอพพลิเคชั่นเพื่อ
เป็นตัวช่วยให้กับผู้ประกอบการสามารถ
ด�าเนินธุรกิจได้คล่องตัวมากขึ้น ได้แก่
7Smart Industry
ทันท่วงที อีกทั้งยังก่อให้เกิดประโยชน์
กับผู้ประกอบการในการเชื่อมโยงข้อมูล
การสร้างมูลค่าเพิ่ม สามารถยกระดับ
การบริหารจัดการ การลดต้นทุนใน
ขั้นตอนการผลิต รวมถึงการสร้างไอเดีย
หรือมุมมองใหม่ๆ ที่จะน�าไปประยุกต์ใน
การใช้สร้างโอกาสช่องทางทางการตลาด
หรือการต่อยอดธุรกิจให้เกิดประสิทธิภาพ
ที่ดียิ่งขึ้น กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
คาดว่าจะสามารถผลักดันให้ผู้ประกอบการ
หันมาใช้ประโยชน์จากบริการและระบบ
ดิจิทัลไม่น้อยกว่า 1 แสนราย ภายในปีนี้
ทั้งนี้ Thailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์
เชิงนโยบายของรัฐบาลที่จะเปลี่ยนระบบ
เศรษฐกิจของประเทศไทยจากรูปแบบเดิม
ไปสู่รูปแบบใหม่ และมุ่งสู่การเป็นประเทศ
ที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไป
เพื่อให้ประเทศก้าวไปสู่ประเทศที่พัฒนา
ดร.พสุ ยังกล่าวต่ออีกว่า ขณะนี้
วงการอุตสาหกรรมในระดับสากลได้หัน
มาใช้ประโยชน์จากโปรแกรมประยุกต์
บนช่องทางการสื่อสารออนไลน์ หรือที่
เรียกกันว่า Mobile Application มาเป็น
จุดส�าคัญในการด�าเนินธุรกิจ พร้อมทั้ง
ผนวกเข้ากับกิจกรรมต่างๆ กันอย่าง
แพร่หลายมากขึ้น ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่า
แอพพลิเคชั่นที่เกิดขึ้นมาอย่างมากมาย
และหลากหลายประเภทนี้คือปัจจัย
และอาวุธที่ส�าคัญประเภทหนึ่งที่ท�าให้
การด�าเนินธุรกิจมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลมากขึ้น มีความรวดเร็ว และ
สามารถป้องกันและแก้ปัญหาได้อย่าง
แล้วตามแผน 20 ปีของรัฐบาล การน�า
เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรม
มาใช้ในการท�างานและเพิ่มมูลค่าของ
สินค้าและบริการเพื่อรองรับผู้บริโภค
ในยุคดิจิทัลจึงเป็นสิ่งที่จ�าเป็นและ
จะก่อให้เกิดประโยชน์ในการแข่งขัน
และเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจในทุกมิติ
อย่างแท้จริง
ดังนั้น ผู้ประกอบการจึงต้อง
พิจารณาอย่างเร่งด่วน เพื่อเข้าถึงทักษะ
การใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และ
แอพพลิเคชั่นที่มีการพัฒนาอย่างมากมาย
นี้เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพในองค์กร
อย่างสมบูรณ์แบบมากขึ้น และเพื่อให้
ก้าวทันโลกแห่งการค้าที่ไร้พรมแดน
ในปัจจุบันและอนาคต
8Smart Industry
สามารถบริหารงานได้รวดเร็วและแม่นย�า
มากขึ้น มีค่าใช้จ่ายที่ถูกลง ช่วยลด
ความผิดพลาดในการท�าธุรกิจ มีการ
รวบรวมข้อมูลมาช่วยในการตัดสินใจ
ได้ง่ายขึ้น รวมถึงผู้พัฒนาซอฟต์แวร์
สามารถพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ช่วยเพิ่มมูลค่า
ของผลิตภัณฑ์และบริการของธุรกิจให้มี
ศักยภาพและท�าให้เกิดที่สูงขึ้น และ
เกิดประโยชน์ทั้งสองฝ่าย รวมถึงสามารถ
รองรับการพัฒนาศักยภาพของประเทศ
ไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 ได้ในอนาคต
วัลล์ชัย เวชชีวะด�ารงค์
ไทยดอทคอม
พัฒนาตลาดกลางซื้อขายซอฟต์แวร์ หวังเพิ่มศักยภาพ
อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยตอบโจทย์ในประเทศ
ระบบการวางแผนขององค์กร (Enterprise
Resource Planning) เป็นต้น
ทั้งนี้ บริษัทคาดว่าภายในปีนี้จะมี
บริษัทซอฟต์แวร์ไทยเข้ามาร่วมจ�าหน่าย
ซอฟต์แวร์ผ่านThaidotcommarketplace
อย่างน้อย 20 ราย และจะสามารถกระตุ้น
การเติบโตการใช้งานของซอฟต์แวร์
ทั้งในส่วนของธุรกิจขนาดใหญ่ และ
ธุรกิจขนาดกลางและเล็ก ซึ่งจะช่วยเพิ่ม
ศักยภาพของธุรกิจโดยรวมในราคาที่
เหมาะสมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการด�าเนิน
ธุรกิจให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืน
“ผมอยากเป็นศูนย์กลาง
(Software marketplace) ที่รวม
ซอฟต์แวร์ไทยมาไว้ด้วยกันท�าให้เกิด
แพลตฟอร์มของอีคอมเมิร์ซใน
ประเทศไทยขึ้น ท�าให้ข้อมูลธุรกิจอยู่ใน
ระบบของคนไทย และถ้าซอฟต์แวร์ไทย
รวมตัวกันได้ เราจะแข่งกับซอฟต์แวร์จาก
ต่างประเทศได้” วัลล์ชัย กล่าวและว่า
การน�าเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์
มาใช้ในการบริหารธุรกิจจะท�าให้ธุรกิจ
“ไทยดอทคอม มองว่าถ้าตลาด
ไอทีของบ้านเราโต คนไทยทั้งประเทศ
ได้ประโยชน์การเป็นตัวกลางของเรา
ก็จะสามารถช่วยส่งเสริมตลาดซอฟต์แวร์
ไทยเป็นหลัก ท�าให้ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์
สามารถขายซอฟต์แวร์ได้ง่ายขึ้น
ผมอยากท�าไทยดอทคอมเป็นแพลตฟอร์ม
เพื่อให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์คนไทยทั้งหมด
สามารถน�าความเก่งในการพัฒนา
ซอฟต์แวร์มาต่อเชื่อมกับแพลตฟอร์ม
ที่เราพัฒนาขึ้น เช่น ระบบการช�าระเงิน
(payment) ท�าให้เกิดการซื้อขาย
ซอฟต์แวร์ระหว่างบริษัทซอฟต์แวร์
และผู้ใช้ที่ง่ายขึ้นและผู้ใช้งานสามารถ
ช�าระค่าใช้บริการซอฟต์แวร์ในรูปแบบ
รายเดือน เป็นต้น” กรรมการบริหาร
กล่าวและว่า
ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่ให้บริการ
ใน Thaidotcom marketplace
หลายรายการ อาทิ ซอฟต์แวร์บัญชี
เอ็กซ์เพรส จาก บริษัท เอ็กซ์เพรส
ซอฟต์แวร์กรุ๊ป จ�ากัด ซอฟต์แวร์
ระบบบริการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer
Relationship Management) ซอฟต์แวร์
วัลล์ชัย เวชชีวะด�ารงค์ กรรมการบริหาร บริษัท ไทยดอทคอม จ�ากัด ศูนย์กลาง
การให้บริการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Software
marketplace) เล่าว่า บริษัท ไทยดอทคอม มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการใช้
ซอฟต์แวร์ในประเทศให้มากขึ้น บริษัทจึงได้พัฒนาศูนย์กลางในการซื้อขายซอฟต์แวร์
ระหว่างบริษัทและผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ในประเทศโดยบริษัทเป็นตัวกลางในการจ�าหน่าย
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาโดยคนไทย ผู้ใช้บริการซอฟต์แวร์สามารถช�าระค่าซอฟต์แวร์
ตามการใช้งาน หรือที่เรียกว่า Service base ผ่าน Software marketplace ที่บริษัท
พัฒนาขึ้น โดยบริษัทผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สามารถน�าซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาจ�าหน่าย
ซอฟต์แวร์ในรูปแบบการซื้อขายซอฟต์แวร์ที่มีการช�าระเงินตามการใช้งานจริง
(Software as a service) ผ่านระบบคลาวด์ คอมพิวติ้ง (Cloud Computing)
โดยบริษัทไทยดอทคอม จะจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานที่ได้มาตรฐานในระดับสากล
เพื่อศูนย์กลางในการจ�าหน่ายซอฟต์แวร์ไทย อีกทั้งยังเป็นการบูรณาการพร้อมยกระดับ
การให้บริการของธุรกิจซอฟต์แวร์ในประเทศ
TechnologicalCircui
Background
TechnologicalCircui
Background
9Smart Industry
และเล็ก รวมถึงธุรกิจขนาดใหญ่ให้มี
ศักยภาพในการท�าอีคอมเมิร์ซในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากขึ้นและ
สามารถสร้างขีดความสามารถในการ
แข่งขันในตลาดระหว่างประเทศ และ
ในส่วนของธุรกิจยังสามารถที่จะจัดการ
ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าเพื่อเป็นการเพิ่ม
ศักยภาพในการท�าตลาดและต่อยอด
ในการท�าธุรกิจในอนาคตด้วย”
พอลกล่าว
พอล ศรีวรกุล
เอคอมเมิร์ซ ส่ง B2ALL
แพลตฟอร์มหนุนธุรกิจสู่โลกดิจิทัล
พอล ศรีวรกุล ประธานกรรมการ
บริหารบริษัท เอคอมเมิร์ซ จ�ากัด กล่าวว่า
บริษัทได้พัฒนาอีคอมเมิร์ซแพลตฟอร์ม
ภายใต้ชื่อ B2ALL (Business-to-ALL)
เพื่อให้บริการอีคอมเมิร์ซและการค้าปลีก
ออนไลน์ครบวงจรในภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ ซึ่งประกอบไปด้วยบริการ
ออกแบบและสร้างเว็บไซต์ท�าการตลาด
ออนไลน์บริหารจัดการร้านค้าในหลายๆ
ช่องทางการจัดการช่องทางจัดจ�าหน่าย
จัดเก็บสินค้า รวมถึงบริการหลังการขาย
การส่งสินค้าระหว่างประเทศ การบริหาร
คลังและการเติมสินค้า และการจัดส่ง
สินค้า เป็นต้น
นอกจากนี้ บริษัทยังได้พัฒนา
อีคอมเมิร์ซแพลตฟอร์มที่ใช้งานง่ายส�าหรับ
ธุรกิจขนาดกลางและเล็กที่ต้องการขยาย
ธุรกิจสู่ออนไลน์ อาทิ แพลตฟอร์มการส่ง
ข้อความ (messaging platform) โซเชียล
มีเดีย ระบบการช�าระเงิน และบริการ
	 เอคอมเมิร์ซ	หนึ่งในผู้น�ำในกำร
ให้บริกำรอีคอมเมิร์ชแพลตฟอร์ม	ส่ง	
B2ALL	อีคอมเมิร์ซแพลตฟอร์มครบวงจร	
มุ่งสร้ำงศักยภำพ	ธุรกิจขนำดใหญ่	ธุรกิจ
ขนำดกลำงและเล็ก	ท�ำตลำดออนไลน์
จัดส่งสินค้า เพื่อช่วยลดความยุ่งยาก
ในการท�าธุรกิจ
“เราพัฒนาเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซ
แพลตฟอร์มเชื่อมต่อกับระบบการขาย
ที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างธุรกิจ
กับลูกค้าที่สามารถสื่อสารกันได้สองทาง
ท�าให้สามารถน�าข้อมูลที่ได้มาช่วยเพิ่ม
ศักยภาพในการขายสินค้าผ่านออนไลน์
และธุรกิจยังสามารถจัดส่งสินค้าให้กับ
ลูกค้าได้รวดเร็วมากขึ้น รวมทั้งธุรกิจ
สามารถน�าข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อรองรับ
ความต้องการของลูกค้าได้” พอลกล่าว
และว่า
ปัจจุบันบริษัทให้บริการอยู่ใน
4 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศไทย
ซึ่งเป็นส�านักงานใหญ่ ประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศสิงคโปร์
มีพนักงานมากกว่า 1,500 คน มีลูกค้า
มากกว่า 200 ราย อาทิ ลาซาด้า
11street ซัมซุง เนสเลย์ ลอรีอัล และ
ยูนิลีเวอร์ เป็นต้น
“เราเน้นการลงทุนทางด้าน
เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาบุคคลากรที่มี
ความเชี่ยวชาญทางด้านมีเดีย โฆษณา
และอีคอมเมิร์ซโดยเฉพาะ เพื่อรองรับ
การเติบโตของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ เรามี
เป้าหมายที่จะช่วยธุรกิจขนาดกลาง
พเนิน อัศววิภาส
วโรดม ด่านสุวรรณ
10Smart Industry
ท�าให้องค์กร หรือธุรกิจสามารถฟังความ
คิดเห็นของผู้บริโภคหรือประชาชนบนโลก
ออนไลน์ได้
วโรดม ด่านสุวรรณ ประธาน
เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีของโอบีว็อค
(OBVOC) กล่าวว่า โปรแกรมซอฟต์แวร์
ช่วยค้นหาค�า และเครื่องมือติดตาม
ความเคลื่อนไหวของแบรนด์บนสื่อสังคม
ออนไลน์จากโซเชียลมีเดียในทุกช่องทาง
ไม่ว่าจะเป็นเฟสบุ๊ค อินสตาแกรม
ทวิตเตอร์ ยูทูป และเว็บบอร์ดต่างๆ
ซึ่งครอบคลุมทุกช่องทางที่คนไทยนิยม
ใช้งานกันในปัจจุบันท�าให้ธุรกิจรู้ว่า
ผู้บริโภคพูดถึงสินค้าและแบรนด์ของ
ธุรกิจบนโลกออนไลน์อย่างไรบ้าง เมื่อได้
ข้อมูลความคิดเห็นจากผู้บริโภคบนโลก
ออนไลน์ องค์กร หรือธุรกิจสามารถน�า
ข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงหรือพัฒนาสินค้า
หรือบริการให้ตรงกับความต้องการของ
ผู้บริโภค เพื่อเสริมภาพลักษณ์ขององค์กร
หรือธุรกิจ ซึ่งจะช่วยตอบโจทย์การท�าธุรกิจ
บนโลกดิจิทัลที่ต้องการข้อมูลที่รวดเร็ว
น่าเชื่อถือมาช่วยในการพัฒนาธุรกิจ
โดยบริษัทให้บริการเครื่องมือที่
รับฟังความคิดเห็นของผู้บริโภคบนโลก
ออนไลน์ใน 3 รูปแบบ ประกอบด้วย
1. เครื่องมือที่คอยติดตาม
แจ้งเตือนความคิดเห็นของผู้บริโภคบน
พเนิน อัศววิภาส ประธานเจ้าหน้าที่
บริหาร บริษัท วันบิต แมทเทอร์ จ�ากัด
หรือที่เป็นที่รู้จักกันในนามโอบีว็อค
(OBVOC) เล่าว่า บริษัทเริ่มธุรกิจจาก
การเป็นบริษัทรับจ้างพัฒนาซอฟต์แวร์
หรือ ซอฟต์แวร์เฮ้าส์ตามความต้องการ
ของลูกค้า อาทิ ซอฟต์แวร์โลจิสติกส์
เมื่อ 6 ปีที่ผ่านมา ก่อนที่จะพัฒนา
โปรแกรมออกสู่ตลาดของตัวเอง ภายใต้
สินค้าโอบีว็อคเพื่อเป็นเครื่องมือที่รับฟัง
ความคิดเห็นของผู้บริโภคบนโลกออนไลน์
หรือที่เรียกกันว่าSocialMediaMonitoring
หรือ Social Listening Tools โดยมี
หลักการท�างาน คือ องค์กร หรือธุรกิจ
สามารถน�าเอาคีย์เวิร์ดอะไรก็ได้ที่อยาก
รู้หรือสนใจ ใส่เข้าไปในระบบ ระบบจะ
แสดงความคิดเห็นที่มีคีย์เวิร์ดนั้นขึ้นมา
OBVOC
โอบีว็อค ส่งเครื่องมือรับรู้พฤติกรรมผู้บริโภคบนโลกออนไลน์
ช่วยเสริมความแข็งแกร่งของธุรกิจ
โอบีว็อค หรือ OBVOC มาจาก
One Bit Voice of Customer เป็น
เครื่องมือที่เก็บข้อมูลจากผู้บริโภคบนโลก
ออนไลน์ เพื่อดูการตอบรับของผู้บริโภค
กับสินค้าและแบรนด์สินค้าบนโลก
ออนไลน์ ท�าให้ธุรกิจสามารถที่จะน�าข้อมูล
ที่ได้รับมาปรับปรุงสินค้าและบริการของ
ตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการ
และพฤติกรรมของผู้บริโภคในยุคดิจิทัล
โลกออนไลน์ต่อองค์กรหรือธุรกิจ
(Social Listening Tools) ซึ่งเป็นเครื่องมือ
ที่ช่วยในการรวบรวมความคิดเห็นของ
ผู้บริโภค บนโลกออนไลน์ที่มีต่อองค์กร
หรือธุรกิจและแบรนด์สินค้า หรือที่
เรียกว่า เช็คสุขภาพของแบรนด์
(brand health check)
2. บริการติดตามเหตุการณ์และ
วิกฤตต่างๆ เกี่ยวกับองค์กรหรือธุรกิจรวม
ถึงสินค้าและบริการเมื่อมีเหตุการณ์ที่มี
การวิพากษ์วิจารณ์ในโลกออนไลน์ บริษัท
จะแจ้งความเคลื่อนไหวต่างๆ
ให้กับองค์กรหรือธุรกิจทราบถึงความ
เคลื่อนไหวต่างๆ บนโลกออนไลน์
3. บริการวิเคราะห์ข้อมูลบนโซเชียล
มีเดีย เพื่อให้องค์กรหรือธุรกิจสามารถ
น�าข้อมูลที่ได้จากโซเชียลมีเดียมาท�าการ
วิเคราะห์ว่าตอนนี้สินค้าและแบรนด์
ขององค์กรหรือธุรกิจ เมื่อเปรียบเทียบ
กับคู่แข่งเป็นอย่างไรบ้าง ผู้บริโภคชอบ
หรือไม่ชอบ แบรนด์ไหนที่ผู้บริโภคก�าลัง
พูดถึงจ�านวนมาก เป็นต้น
“เราพัฒนาเครื่องมือคอยตรวจสอบ
ความเคลื่อนไหวต่างๆ บนโลกออนไลน์
มีทีมงานคอยมอนิเตอร์ มีข้อมูลทั้ง
ทางบวกและทางลบว่าเกิดอะไรขึ้นกับ
แบรนด์เพื่อให้องค์กรหรือธุรกิจสามารถ
แก้ไขปัญหาทันเมื่อมีเหตุการณ์วิกฤต
เกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถลดความเสี่ยงของ
ธุรกิจ และช่วยให้ธุรกิจตัดสินใจได้ดีขึ้น”
พเนิน กล่าวและว่า
ปัจจุบันบริษัทมีลูกค้าประมาณ
30 ราย อาทิ ธนาคารทหารไทย เคเอฟซี
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หน่วยงานราชการ
และบริษัทเอเยนซี่ ภายในปีนี้บริษัท
คาดว่าจะมีลูกค้าเพิ่มขึ้นเป็น 36 ราย
และบริษัทยังมีแผนที่จะขยายธุรกิจไปยัง
ตลาดต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย
11Smart Industry
ลดเวลา ลดความยุ่งยากในการบริหาร
งานด้วยไอที และช่วยสร้างความได้
เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจเนื่องจาก
ธุรกิจสามารถน�าข้อมูลที่มีอยู่มาช่วย
ในการตัดสินใจได้ทันที ในขณะเดียวกัน
ธุรกิจยังมีความยืดหยุ่นสามารถขยายตัว
และปรับตัวเข้ากับอนาคตได้เร็วกว่าคู่แข่ง
รวมทั้งธุรกิจสามารถบริหารองค์กร
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันบริษัท
มีลูกค้าที่ใช้บริการ Express on Cloud
มากกว่า 1,000 ราย (Users)
“เรามองว่าระบบบัญชีส�าเร็จรูป
เป็นตลาดที่เปิดกว้างเพราะว่าธุรกิจต่างๆ
ต้องมีเรื่องของบัญชีเข้ามาเกี่ยวข้อง
และซอฟต์แวร์ของเรามีจุดเด่นในการให้
บริการคือ เป็นระบบบัญชีส�าเร็จรูปที่ใช้
งานง่าย ทุกระบบสามารถท�างานเชื่อมต่อ
กันได้หมด และเป็นเทคโนโลยีที่ท�าให้เกิด
ความสะดวกสบายในการใช้งานทุกที่
ทุกเวลา รวดเร็ว สะดวกสบาย รองรับ
ธุรกิจยุคดิจิทัล และมีความถูกต้องไม่
สะดุด ผู้บริหารสามารถเรียกดูข้อมูล
เพื่อช่วยในการตัดสินใจได้ตลอดเวลา”
กรรมการผู้จัดการกล่าว
สุทัศน์ กล่าวว่า บริษัท เริ่มให้
บริการ Express on Cloud เมื่อปลายปี
ที่ผ่านมา มีลูกค้ามาใช้งานอย่างต่อเนื่อง
เนื่องจากซอฟต์แวร์ช่วยท�าให้ธุรกิจ
สามารถแข่งขันได้ดีขึ้น และความต้องการ
ของตลาดภายในปีนี้ยังมีการเติบโต
อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันบริษัทมีฐานลูกค้า
ทั้งในและต่างประเทศ อาทิ ลาว เขมร
สิงคโปร์ พม่า และ เวียดนาม ภายในปีนี้
คาดว่าจะมีลูกค้าที่ใช้ระบบบัญชีส�าเร็จรูป
Express on Cloud มากกว่า 5,000 ราย
เอ็กซ์เพรส
เสริมทับด้วยบริการ
Express on Cloud
เพิ่มทางเลือกให้
ธุรกิจ
	 เอ็กซ์เพรส	ซอฟต์แวร์กรุ๊ป	จ�ำกัด	
เพิ่มทำงเลือกให้ธุรกิจสำมำรถใช้งำน
ระบบบัญชีทุกที่	ทุกเวลำ	ทุกอุปกรณ์	
ผ่ำนระบบคลำวด์	คอมพิวติ้ง	(Cloud	
Computing)	
สุทัศน์ สกุลนิวัฒน์ กรรมการ
ผู้จัดการ บริษัท เอ็กซ์เพรส ซอฟต์แวร์
กรุ๊ป จ�ากัด เล่าว่า บริษัท เอ็กซ์เพรสฯ
เป็นบริษัทที่พัฒนาซอฟต์แวร์และ
จ�าหน่ายโปรแกรมระบบบัญชีส�าเร็จรูป
ภายใต้ชื่อ Express มากว่า 20 ปี และ
บริษัทมีซอฟต์แวร์บัญชีที่ให้บริการ
ใน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบไลเซนซ์
(License) ปัจจุบันบริษัทมีฐานผู้ใช้
มากกว่า 50,000 ราย และรูปแบบของ
คลาวด์ คอมพิวติ้ง (Cloud Computing)
โดยในส่วนของการให้บริการ
คลาวด์ คอมพิวติ้ง บริษัทได้ร่วมกับ
บริษัท อินเทอร์เน็ตประเทศไทย จ�ากัด
(มหาชน) ในการให้บริการซอฟต์แวร์
ระบบบัญชีส�าเร็จรูปผ่าน Express on
cloud ซึ่งเป็นบริการเช่าใช้ซอฟต์แวร์หรือ
แอพพลิเคชั่น (Software as a Service)
ผ่านอินเทอร์เน็ตโดยประมวลผลบนระบบ
ของผู้ให้บริการ ซอฟต์แวร์จะถูกเรียกใช้
งานผ่านคลาวด์จากที่ไหนก็ได้ ซึ่งเหมาะ
ส�าหรับธุรกิจขนาดกลางและเล็ก รวมถึง
ธุรกิจขนาดใหญ่ด้วย
“เราเชื่อมั่นว่าโปรแกรมระบบบัญชี
ส�าเร็จรูปนั้น ไม่ใช่แค่เพียงต้องใช้งานง่าย
แต่ยังต้องประกอบไปด้วยการบริการ
ที่สะดวกรวดเร็ว ดังนั้นบริษัทฯ จึงทุ่มเท
กับการสร้างทีมงานในการให้บริการหลัง
การขาย จนในปัจจุบันเรามีทีมงานให้
บริการหลังการขายมากกว่า 60 คน
และยังคงเพิ่มจ�านวนเจ้าหน้าที่ให้มากพอ
ที่จะรองรับจ�านวนผู้ใช้งานที่มากขึ้น
อย่างต่อเนื่อง” สุทัศน์ กล่าวและว่า
ในการใช้บริการซอฟต์แวร์ในรูปแบบ
ของการเช่าใช้บริการนี้จะช่วยลดต้นทุน
สุทัศน์ สกุลนิวัฒน์
12Smart Industry
เราน�าเครื่องมือรับฟังความคิดเห็น
ของลูกค้าบนสังคมออนไลน์ มารับฟัง
เสียงจากลูกค้าบนโลกออนไลน์ท�าให้
เห็นผลชัดเจนว่า ลูกค้ามีความพึงพอใจ
ในการใช้บริการของธนาคารเพิ่มมากขึ้น
สามารถตอบโจทย์ลูกค้าที่มีปัญหาใน
การใช้บริการกับธนาคารได้ ท�าให้การน�า
เทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือต่างๆ
มาช่วยในการท�างานกับธนาคารมีความ
ส�าคัญ และมีความจ�าเป็นในยุคปัจจุบัน
เพราะว่าทุกคน ใช้ชีวิตผ่านโลกออนไลน์
เครื่องมือต่างๆ จะช่วยในการติดตาม
ลูกค้า ได้รับข้อมูลจากลูกค้าทันที ท�าให้
สามารถต่อยอด และปรับเนื้อหาการ
สื่อสารกับลูกค้าได้ทันกับสถานการณ์
ที่เกิดขึ้น (Real-time marketing) พัฒนา
บริการใหม่และต่อยอดบริการของธนาคาร
ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ซึ่งเครื่องมือจะช่วยธนาคารติดตามลูกค้า
ที่พูดถึงธนาคารผ่าน เฟสบุ๊ค พันทิป
และทวิตเตอร์ ท�าให้รับรู้พฤติกรรมของ
ลูกค้า ธนาคารสามารถจัดบริการตรงตาม
ความต้องการของลูกค้า และเทคโนโลยี
สารสนเทศยังมีบทบาทส�าคัญในการ
ช่วยเสริมภาพลักษณ์ธนาคารในเรื่อง
ดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง เช่น การออกกิจกรรม
ส่งเสริมการตลาดไปยังลูกค้าอีกด้วย
เข้าที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ (Call center)
หรือเข้ามาหน้าเว็บไซต์เพื่อเข้ามา
กรอกข้อมูลไว้ที่เว็บไซต์แล้วธนาคาร
จะติดต่อกลับ พอมีสื่อสังคมออนไลน์
เข้ามา อาทิ เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์
ซึ่งก่อนหน้านี้เอาไว้คุยเล่นกับเพื่อน
เป็นเรื่องการติดต่อส่วนบุคคลมากกว่า
เมื่อมีคนใช้มากขึ้น แบรนด์ก็เข้าไป
มีส่วนในการใช้งาน (Engage) มากขึ้น
เป็นสาธารณะมากขึ้น คนเริ่มพูดถึง
แบรนด์บนโลกออนไลน์มากขึ้น พอ
แบรนด์เข้าไปเจาะตลาดในออนไลน์ลูกค้า
ก็จะเริ่มไม่โทรศัพท์ แต่จะใช้ช่องทาง
ออนไลน์ในการร้องเรียน ติชม หรือ
แชร์ข้อมูล/ประสบการณ์มากขึ้น ท�าให้
ได้รับข้อมูลที่หลากหลายจากลูกค้า อาทิ
ใช้บริการผ่านสาขา รอคิวนานทุกครั้ง
ช่วงเงินเดือนออก หรือ ลูกค้าพูดถึง
บริการที่อยากได้จากธนาคาร ท�าให้
ทีมการตลาดสามารถที่จะน�าเสียงของ
ลูกค้าไปพัฒนาบริการเพื่อเพิ่ม
ศักยภาพในการให้บริการลูกค้า
รวมถึงมีการพัฒนาบริการใหม่
ที่อ�านวยความสะดวกและตรง
กับความต้องการของลูกค้า
มากขึ้น อาทิ บริการโอนฟรี
ไม่มีดอกจันทน์ เป็นต้น”
ถนิมกาญจน์ กล่าวและว่า
ถนิมกาญจน์ กิจสุวรรณ ผู้จัดการ
สื่อสังคมออนไลน์ กลุ่มธุรกิจส่งเสริม
การตลาดลูกค้าบุคคล ธนาคารทหารไทย
จ�ากัด เล่าว่า ธนาคารได้น�าเครื่องมือ
รับฟังความคิดเห็นของลูกค้าผ่านสื่อ
ออนไลน์ (Social listening) ของ บริษัท
โอบีว็อค มาใช้เมื่อสามปีที่ผ่านมา เพื่อ
ดูแลและติดตามพฤติกรรมของลูกค้า
ในสื่อสังคมออนไลน์ว่าลูกค้ามีความ
ต้องการบริการทางการเงินในรูปแบบไหน
ลูกค้าพูดถึงธนาคารหรือการบริการ
อย่างไรบ้างบนสื่อสังคมออนไลน์ รวมถึง
ลูกค้ามีความคิดเห็นกับผลิตภัณฑ์ หรือ
บริการใหม่ๆ ที่ธนาคารน�าเสนอให้กับ
ลูกค้าอย่างไรบ้าง เพื่อให้ทีมงานที่
รับผิดชอบสามารถแก้ปัญหา และพัฒนา
บริการให้ตรงกับผู้บริโภคมากที่สุด
“ก่อนหน้านี้ตอนที่สังคมออนไลน์
ยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก เมื่อลูกค้ามี
ค�าถาม หรือค�าร้องเรียนจะต้องโทรศัพท์
ทหารไทย
ใช้เครื่องมือรับฟังความคิดเห็น
บนสื่อสังคมออนไลน์ช่วยต่อยอดธุรกิจ
ธนาคาร ทหารไทย เป็นหนึ่งในธนาคารที่มีการน�าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพิ่ม
ศักยภาพการให้บริการทางด้านการเงินอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับพฤติกรรมของ
ผู้บริโภคที่มีการใช้โทรศัพท์มือถือ และเข้าถึงข้อมูลของธนาคารผ่านสื่อสังคมออนไลน์
(Social media) มากขึ้น ธนาคาร ทหารไทย ได้น�าเครื่องมือรับฟังความคิดเห็น
ของลูกค้าผ่านสื่อออนไลน์ (Social listening) มาช่วยในการตอบโจทย์ความต้องการ
ของลูกค้าและพัฒนาบริการทางการเงินที่สามารถตอบโจทย์และตรงกับความต้องการ
ของลูกค้ามากขึ้น ถนิมกาญจน์ กิจสุวรรณ
13Smart Industry
ไอทีท�าให้การท�าธุรกิจมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น เช่น การใช้ระบบการจัดการ
อัตโนมัติท�าให้สามารถลดจ�านวนคน
ที่ท�าได้เว็บไซต์ของร้านช่วยให้ลูกค้า
สามารถหาข้อมูลพื้นฐานของแต่ละชุด
ได้ด้วยตนเอง การมาลองที่ร้านจึงเป็น
เพียงเพื่อเพิ่มความมั่นใจว่าสไตล์ของชุด
เข้ากับบุคลิกของตน การเก็บข้อมูลลูกค้า
ไว้ในคลาวด์ท�าให้การส่งต่องานระหว่าง
พนักงานขายหลายคนเป็นไปอย่างสะดวก
พนักงานแต่ละคนสามารถช่วยดูแลลูกค้า
ที่เคยติดต่อผ่านพนักงานอีกคนได้อย่าง
ราบรื่น นอกจากนี้ การช�าระเงินออนไลน์
ยังเพิ่มความสะดวกสบายให้ลูกค้า ลด
ปัญหาของร้านค้าในการจัดการกับเงินสด
และเพิ่มความปลอดภัย และความรัดกุม
ในการด�าเนินกิจการ
ดังนั้น การน�าไอทีมาช่วยในการ
ด�าเนินธุรกิจของร้าน ไม่เพียงร้านจะได้รับ
ประโยชน์เท่านั้น ในส่วนของลูกค้ายังได้
รับประโยชน์หลายด้าน อาทิ ความ
สะดวก เพราะประสบการณ์การช็อปปิ้ง
ของลูกค้าไม่ได้จ�ากัดอยู่ที่หน้าร้านเท่านั้น
แต่สามารถท�าได้จากทุกที่ ลูกค้าสามารถ
เลือกชมชุด ขนาด และวันที่ชุดว่างผ่าน
เว็บไซต์ ท�าให้การจองให้ส�าเร็จท�าได้
แค่เพียงปลายนิ้ว
ภาคินี กล่าวว่า การวิเคราะห์ข้อมูล
ท�าให้ทางร้านสามารถจัดซื้อชุดที่ตรงกับ
ความนิยมของลูกค้าได้มากขึ้นเรื่อยๆ
ทั้งในด้านแบบ สี และขนาด อีกทั้งยัง
เพิ่มจ�านวนชุดในแบบที่ลูกค้าชอบได้
อย่างรวดเร็ว และเพิ่มความสบายใจ
ของลูกค้า และลูกค้ามั่นใจได้ว่าชุด
จะไปถึงตรงเวลาอย่างแน่นอน ร้าน
Formal Affair เปิดท�าการ 24 ชั่วโมง
ที่ www.formalaffairbkk.com
ระบบแมสเซนเจอร์ส่งของตามความ
ต้องการของลูกค้า ผ่านบริการจัดส่งของ
ลาล่ามูฟ (Lalamove) และแกร็บ (Grab)
โดยลูกค้าจะได้รับลิ้งค์ และสามารถ
ติดตามการจัดส่งชุดของแมสเซนเจอร์
แบบเรียลไทม์ (Real time)
และสุดท้ายทางบริษัทใช้ไอทีในการ
ติดต่อสื่อสารกับลูกค้า โดยทางร้านจะใช้
โซเชียลมีเดียเป็นช่องทางหลัก และยัง
มุ่งหวังที่จะใช้พื้นที่โซเชียลของร้านไม่ใช่
แค่เพื่อการตลาด แต่จะสร้างให้เป็นพื้นที่
แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์
ของร้านเกี่ยวกับเทรนด์การแต่งตัว เทรนด์
เพื่อนเจ้าสาว เทรนด์งานแต่งงานสวยๆ
เป็นต้น นอกจากนี้ การใช้โซเชียลยังสร้าง
ความสะดวกให้กับลูกค้า เพราะลูกค้า
สามารถแท็กเพื่อนให้เห็นรูปที่พวกเขา
ชอบได้ทันที ท�าให้ประหยัดเวลาในการ
สื่อสารกับเพื่อน
นอกจากนี้ บริษัทยังใช้ ดาต้า
อนาเลติกส์ (Data analytics) มาช่วย
ในการวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า
ท�าให้สามารถเลือกสรรแบบจ�านวนและ
ความหลากหลายชุดได้ตรงใจลูกค้า
“การวิเคราะห์ความต้องการของ
ลูกค้า โดยใช้ดาต้าอนาเลติกส์ ท�าให้
สามารถเลือกชุดและสามารถจัดหาแบบ
ที่ตรงใจลูกค้า เนื่องจากการวิเคราะห์
ลงไปในรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ แต่
ส�าคัญส�าหรับลูกค้านอกจากนี้การจัดการ
ข้อมูลที่เป็นระบบของเราช่วยชี้วัดเรื่อง
เวลา ซึ่งเป็นส่วนที่ส�าคัญมากของธุรกิจ
เช่า ดาต้าอนาเลติกส์ช่วยให้ร้านมีชุด
พร้อมใส่ตรงกับวันเวลาที่ลูกค้าต้องการ
ได้อย่างทันท่วงที” ภาคินี กล่าวและว่า
การน�าไอทีมาช่วยด�าเนินธุรกิจจึง
เป็นส่วนส�าคัญมากส�าหรับ ธุรกิจขนาด
กลางและเล็ก หรือธุรกิจเกิดใหม่ เพราะ
Formal Affair BKK
ร้านเช่าชุดออนไลน์ ใช้ดาต้าอนาเลติกส์
สร้างความมั่นใจในการทำาธุรกิจ
ภาคินี เล่าว่า ทางร้านมีชุดให้เลือก
มากกว่า 250 ชุด หลากไซต์ หลากดีไซน์
โดยเป็นชุดแบรนด์เนมจากดีไซเนอร์ชั้นน�า
ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนใหญ่ชุดจะ
น�าเข้ามาจากประเทศสหรัฐอเมริกา และ
สหราชอาณาจักร
“เราคิดว่าสาวๆ ในวัยเรียน และ
วัยท�างานน่าจะประสบปัญหาเดียวกัน
อีกทั้งยังไม่มีร้านให้เช่าชุดแบรนด์เนม
ที่มีทั้งหน้าร้าน และเว็บไซต์เปิดให้บริการ
เราจึงน�าเข้าชุดสวย คุณภาพดี มาให้สาวๆ
ได้เช่าในราคา 2,000 - 5,000 บาท”
ภาคินี กล่าวและว่า
ปัจจุบันทางบริษัทไม่เพียงเปิดหน้า
ร้านเพื่อเป็นสถานที่ให้ลูกค้ามาลองชุด
ในร้าน ทางบริษัทยังได้น�าไอทีช่วยในการ
ท�างาน ใน 3 ด้านหลักประกอบด้วย การ
เปิดหน้าเว็บไซต์ร้านเช่าชุดออนไลน์ โดย
เป็นเว็บไซต์ที่แสดงชุดของร้านครบทุกชุด
ลูกค้าสามารถคลิกเข้าไปดูรูปด้านหน้า-
หลังของชุด ซูมดูรายละเอียด มีขนาดของ
ชุดแต่ละชุดบอกไว้ชัดเจน รวมถึงสามารถ
เช็ควันว่าง จองชุด และช�าระเงินผ่าน
ทางเว็บไซต์ นอกจากเว็บไซต์แล้ว ลูกค้า
สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
เกี่ยวกับสินค้าผ่านช่องทางดังกล่าว หรือ
ใช้ Line@คุยกับลูกค้าด้วย
นอกจากนี้ทางบริษัทยังใช้ไอทีในการ
จัดท�าระบบบริหารจัดการในร้าน โดยใช้
ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยดูแลทุกขั้นตอน
หลังจากที่ลูกค้าจองชุดแล้ว ระบบจะส่ง
ใบเสร็จ เพื่อยืนยันขนาดและวันจองให้
ลูกค้าทันทีผ่านทางอีเมล์ เมื่อถึง 1 วัน
ก่อนวันส่งชุด ทางระบบจะส่งอีเมลให้
ลูกค้าอีกครั้ง เพื่อแจ้งเตือน และยืนยัน
ที่อยู่ของลูกค้า ท�าให้ทางร้านสามารถส่ง
ชุดถึงมือลูกค้าได้ตามนัดหมาย นอกจาก
นี้ส�าหรับลูกค้าในกรุงเทพฯ ทางร้านใช้
จากจุดเริ่มต้นที่ได้รับบัตรเชิญไปงานแต่งงานบ่อยขึ้นเรื่อยๆ ต้องคอยหาชุด
ให้ได้ตามธีมที่เจ้าสาวต้องการ ซึ่งชุดที่สวย ตัดเย็บประณีต เนื้อผ้าดี มักจะมีราคาแพง
และด้วยเหตุที่ไม่อยากลงทุนซื้อชุดแพงๆ เพราะได้ใช้เพียงไม่กี่ครั้ง ภาคินี บานชื่น จึงได้
ร่วมกับเพื่อน เปิดร้านเช่าชุดทั้งในรูปแบบมีหน้าร้าน และผ่านออนไลน์ ภายใต้ร้าน
Formal Affair BKK ภาคินี บานชื่น
14Smart Industry
โครงการ “ส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว” จังหวัดเชียงราย
เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย ร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ด�าเนินโครงการ “ส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ให้เกิดการน�าเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้อย่างเป็นรูปธรรมและครบวงจร
ผ่านกิจกรรมโครงการฯ ได้แก่ กิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา Digital Media Challenge เพื่อการท่องเที่ยว
กิจกรรมอบรมการท�าการตลาดออนไลน์ และกิจกรรมเจรจาธุรกิจ เพื่อสร้างความเข้มแข็ง เพิ่มขีดความ
สามารถ และยกระดับการแข่งขัน พร้อมรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน
ระหว่างวันที่ 30 - 31 มีนาคม 2560 ณ โรงแรมแกรนด์ วิสต้า จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมสัมมนา SMART Tourism Seminar สัมมนายกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศตามนโยบาย Thailand 4.0 เพื่อให้ความรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ รวมถึงกระตุ้นให้เกิด
การรับรู้ และสนใจใช้เทคโนโลยี/ไอทีเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการท่องเที่ยว ในวันพฤหัสบดี
ที่ 30 มีนาคม 2560 ระหว่างเวลา 9.00 - 12.00 น. ทั้งนี้มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมรับฟัง ในกิจกรรมดังกล่าว
พร้อมทั้ง กิจกรรมจัดนิทรรศการแสดงเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ ส�าหรับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เพื่อเปิด
โอกาสให้ผู้ประกอบการด้านซอฟต์แวร์ไอทีและเทคโนโลยีต่างๆ ที่ช่วยยกระดับและเสริมศักยภาพให้กับ
ธุรกิจ จ�านวน 9 บริษัทร่วมแสดงสินค้า/บริการและเจรจาธุรกิจกับผู้ประกอบการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “การตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์
เครื่องมือดิจิตอล สื่อโซเชียลเน็ตเวิร์คต่างๆ เพื่อสร้างรายได้และเพิ่มยอดขายทางธุรกิจ” กิจกรรมอบรม
เชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพและยกระดับการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจด้านท่องเที่ยวด้วย
Digital Marketing โดยวิทยากร ดร.ธีรศานต์ สหัสสพาศน์ คณะท�างานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงท่องเที่ยว
และกีฬา และคุณณัฐนันท์ เจนศักดิ์ศรีสกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดออนไลน์ ในวันที่ 30 - 31 มีนาคม
2560 ทั้งนี้ มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว
30-31 มีนาคม 2560
กิจกรรมสัมมนาและเวิร์คช็อปเติมเต็มธุรกิจด้วย Software ไทย ครั้งที่ 3
ทางเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี ส�านักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ FlowAccount.com ได้จัดกิจกรรมสัมมนา
เวิร์คช็อปเติมเต็มธุรกิจด้วย Software ไทย ครั้งที่ 3 ในวันจันทร์ที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 9.30 - 17.00 น.
ณ โรงแรมแมนดาริน ถนนพระราม 4
ในกิจกรรมมีการบรรยายพิเศษเพิ่มยอดขาย ขยายฐานลูกค้าด้วย Digital Marketing
โดย ดร. ธีรศานต์ สหัสสพาศน์ พร้อม Workshop การบริหารรายจ่ายด้วยระบบบัญชี
โดย คุณศศิพร เหมือนศรีชัย Evange list จาก FlowAccount.com และให้ความรู้เพิ่มเติมเรื่องหัวข้อภาษี
ที่เจ้าของกิจการควรรู้ โดย คุณถนอม เกตุเอม และมีผู้ออกบูธ จ�านวน 3 บริษัท ได้แก่ Thaidotcom,
LnwShop และ Skootar
3 เมษายน2560
งานสัมมนา Technology Investment Conference 2017
เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (สวทช.) ร่วมกับ ส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) จัดงาน Technology Investment Conference 2017
ในหัวข้อ “Next Generation Businesses” เพื่อเป็นเวทีสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการลงทุน
จากวิทยากรระดับสากล เปิดโอกาสให้บริษัทขนาดกลางและใหญ่ สถาบันการเงิน และ Startup
ไทยได้เห็นรูปแบบการท�างาน ความร่วมมือและการลงทุนร่วมกัน เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วม
สูงสุด สร้างโอกาสทางธุรกิจ ในวันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน 2560 ระหว่างเวลา 9.00 - 20.00 น.
ณ โรงแรมโซฟิเทล แบงคอค สุขุมวิท
23 มิถุนายน 2560
Smart industry vol32
Smart industry vol32

More Related Content

What's hot

นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018IMC Institute
 
Digital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankDigital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankSukanya Benjavanich
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital TransformationIMC Institute
 
Smart Industry Newsletter Vol27/2558
Smart Industry Newsletter Vol27/2558Smart Industry Newsletter Vol27/2558
Smart Industry Newsletter Vol27/2558Chanpen Thawornsak
 
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IMC Institute
 
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558IMC Institute
 
Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Chanpen Thawornsak
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมIMC Institute
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAe-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAPeerasak C.
 

What's hot (12)

นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
 
Digital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankDigital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-Bank
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
 
Smart Industry Newsletter Vol27/2558
Smart Industry Newsletter Vol27/2558Smart Industry Newsletter Vol27/2558
Smart Industry Newsletter Vol27/2558
 
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
 
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
 
Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26Smart Industry Newsletter Vol.26
Smart Industry Newsletter Vol.26
 
Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28Smart Industry Newsletter Vol.28
Smart Industry Newsletter Vol.28
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAe-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
 

Similar to Smart industry vol32

Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25Chanpen Thawornsak
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2siroros
 
BIT 3106 เทคโนโลยีของธุรกิจดิจิทัล.pdf
BIT 3106 เทคโนโลยีของธุรกิจดิจิทัล.pdfBIT 3106 เทคโนโลยีของธุรกิจดิจิทัล.pdf
BIT 3106 เทคโนโลยีของธุรกิจดิจิทัล.pdfssuser8dd76b
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดMaykin Likitboonyalit
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Software Park Thailand
 
Automatic id
Automatic idAutomatic id
Automatic idchanchira
 
Automatic id
Automatic idAutomatic id
Automatic idchanchira
 
Trends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryTrends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryMaykin Likitboonyalit
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketingAew Zhiitzu
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
IMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute
 
หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12niramon_gam
 
หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12ratiporn555
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 

Similar to Smart industry vol32 (20)

Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25Smart Industry Newsletter Vol.25
Smart Industry Newsletter Vol.25
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
 
BIT 3106 เทคโนโลยีของธุรกิจดิจิทัล.pdf
BIT 3106 เทคโนโลยีของธุรกิจดิจิทัล.pdfBIT 3106 เทคโนโลยีของธุรกิจดิจิทัล.pdf
BIT 3106 เทคโนโลยีของธุรกิจดิจิทัล.pdf
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
 
Profile cio world
Profile cio worldProfile cio world
Profile cio world
 
Automatic id
Automatic idAutomatic id
Automatic id
 
Automatic id
Automatic idAutomatic id
Automatic id
 
Trends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryTrends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern Library
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketing
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Agile Management
Agile ManagementAgile Management
Agile Management
 
IMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in Thai
 
หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
 
หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
 
It
ItIt
It
 
190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 

More from Chanpen Thawornsak

Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Chanpen Thawornsak
 
Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017Chanpen Thawornsak
 
Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Chanpen Thawornsak
 
Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Chanpen Thawornsak
 
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Chanpen Thawornsak
 
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Chanpen Thawornsak
 

More from Chanpen Thawornsak (16)

Software Newsletter Vol.9
Software Newsletter Vol.9Software Newsletter Vol.9
Software Newsletter Vol.9
 
Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34Smart industry Newsletter Vol34
Smart industry Newsletter Vol34
 
Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2Software park Newsletter vol 2
Software park Newsletter vol 2
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560
 
Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560Software Park Thailand Vol 6/2560
Software Park Thailand Vol 6/2560
 
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
Smart Industry Newsletter Vol.31/2017
 
Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559Software Park Newsletter Vol4/2559
Software Park Newsletter Vol4/2559
 
Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559Software Park Newsletter Vol3/2559
Software Park Newsletter Vol3/2559
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2558
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.1/2558
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.3/2557
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol.2/2557
 
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014Smart Industry Newsletter Vol24/2014
Smart Industry Newsletter Vol24/2014
 
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
Smart Industry Newsletter Vol.24/2014
 
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
Smart Industry Newsletter Vol 1/2557
 
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
Software Park Thailand Newsletter Vol1/2014
 

Smart industry vol32

  • 1. Volume 32/2560 ฉบับที่ 32 FREE COPYFREE COPY ขอเชิญบริษัทซอฟต์แวร์ร่วมลงทะเบียน เพื่อรับบริการจับคู่ธุรกิจ 10 OBVOC ส่งเครื่องมือรับรู้พฤติกรรม ของผู้บริโภคบนโลกออนไลน์ 12 ทหารไทย ใช้เครื่องมือรับฟังความคิดเห็น บนสื่อสังคมออนไลน์ช่วยต่อยอดธุรกิจ 08 ไทยดอทคอม พัฒนาตลาดกลางซื้อขายซอฟต์แวร์ หวังเพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ไทยตอบโจทย์ในประเทศ ติดปีกเอสเอ็มอี รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล ติดปีกเอสเอ็มอี รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล ติดปีกเอสเอ็มอี รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล ติดปีกเอสเอ็มอี รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล
  • 2. การแข่งขันในโลกธุรกิจสมัยนี้ ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล รวมทั้ง การเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและตลอดเวลาเป็นกุญแจ สำาคัญในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจ เพื่อความเจริญเติบโต หรือการอยู่รอดของธุรกิจ กองบรรณาธิการ Smart Industry จึงขอนำาเสนอการนำาเทคโนโลยี สารสนเทศมาเพื่อตอบโจทย์ของธุรกิจขนาดกลางและย่อม หรือเอสเอ็มอี รวมถึง การดำาเนินนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลที่มีแนวทางส่งเสริมให้เอสเอ็มอี นำาเทคโนโลยีมาช่วยในการดำาเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ทางกองบรรณาธิการยังได้นำาเสนอการให้บริการซอฟต์แวร์ ผ่านระบบคลาวด์ คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) โดยบริษัท ไทยดอทคอม ที่มีการจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานและมาตรฐานระดับสากลเพื่อรองรับการเป็น ตลาดกลางในการจำาหน่ายซอฟต์แวร์ เพื่อเป็นการบูรณาการและยกระดับการให้ บริการของธุรกิจซอฟต์แวร์ในประเทศ ทางกองบรรณาธิการยังได้นำาเสนอเครื่องมือที่เก็บข้อมูลจากผู้บริโภค บนโลกออนไลน์ เพื่อดูการตอบรับของผู้บริโภคกับสินค้าและแบรนด์บนโลก ออนไลน์ที่จะมาตอบโจทย์การรับรู้ความต้องการของผู้บริโภคบนโลกออนไลน์ ดังนั้น ด้วยพฤติกรรมการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง จากเดิม รวมถึงการซื้อสินค้าที่มีความแตกต่างกันหลากหลายอย่างมาก ในปัจจุบัน จึงจำาเป็นอย่างยิ่งที่ธุรกิจขนาดกลางและย่อมจะต้องสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาช่วยเพื่อให้ธุรกิจสามารถแข่งขันในตลาดและสามารถยืนหยัดในธุรกิจของตนเอง ได้ในอนาคต กองบรรณาธิการ บทบรรณาธิการ เทคโนโลยี AI และ >> 3 Social Listening Tools กับบทบาทการรับฟังความคิดเห็น ของผู้บริโภคผ่านโลกออนไลน์ ติดปีกเอสเอ็มอี >> 4 รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล ไทยดอทคอม >> 8 พัฒนาตลาดกลางซื้อขายซอฟต์แวร์ หวังเพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ไทยตอบโจทย์ในประเทศ เอคอมเมิร์ซ ส่ง B2ALL >> 9 แพลตฟอร์มหนุนธุรกิจ สู่โลกดิจิตอล OBVOC >> 10 ส่งเครื่องมือรับรู้พฤติกรรมของ ผู้บริโภคบนโลกออนไลน์ ช่วยเสริม ความแข็งแกร่งของธุรกิจ เอ็กซ์เพรส >> 11 เสริมทับด้วยบริการ Express on Cloud เพิ่มทางเลือกธุรกิจ ทหารไทย >> 12 ใช้เครื่องมือรับฟัง ความคิดเห็นบนสื่อสังคมออนไลน์ ช่วยต่อยอดธุรกิจ Formal Affair BKK >> 13 ร้านเช่าชุดออนไลน์ ใช้ดาต้าอนาเลติกส์ สร้างความมั่นใจในการทำาธุรกิจ กิจกรรม >> 14 เปิดแผนกลยุทธ์ >> 15 ฉบับที่ 6 สวทช. รองรับไทยแลนด์ 4.0 พร้อมสร้างศักยภาพการแข่งขัน ของประเทศ จุลสารข่าว Smart Industry จัดท�าโดย เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park Thailand) ภายใต้ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เลขที่ 99/31 อาคาร Software Park ถนนแจ้งวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884 เว็บไซต์: www.swpark.or.th | www.tmc.nstda.or.th | www.nstda.or.th Contentสารบัญ
  • 3. 3Smart Industry ท�าการค้นหา คัดกรอง และวิเคราะห์ ข้อมูลที่เกิดขึ้น พูดง่ายๆ ก็คือกระบวน การตรวจสอบ รวบรวมจัดเก็บเสียง สะท้อน หรือ feedback ของผู้บริโภค ที่มีต่อแบรนด์ ผ่านทางสื่อออนไลน์ ช่องทางต่างๆ เพราะการวางกลยุทธ์ การตลาดออนไลน์นั้นไม่มีสูตรส�าเร็จ เป็นเรื่องเฉพาะตัวของแบรนด์ สินค้า แตกต่างกัน คุณลักษณะของกลุ่มลูกค้า เป้าหมายและปัจจัยอื่นๆ ย่อมแตกต่างกัน การเลือกใช้ Social Listening Tool ที่ดี เหมาะสมกับการใช้งานของแบรนด์ นั้นสามารถช่วยให้เข้าใจถึงความคิด และความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภค วางแผนการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น ทางด้านประโยชน์ทางธุรกิจของ Social Listening Tools ท�าให้นักการตลาด สามารถได้ข้อมูลจากผู้บริโภคในเบื้องต้น สามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมถึงได้ข้อมูลที่เป็น ความเคลื่อนไหวของผู้บริโภคนั้นจริงๆ ท�าให้องค์กร ธุรกิจ และนักการตลาด จะสามารถสร้างโอกาสทางการตลาด และสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง อย่างรวดเร็วและยั่งยืนบนโลกดิจิทัล นอกจากนี้การใช้ Social Listening Tools ในการตรวจสอบและเฝ้ามองปัญหาหรือ ความไม่พอใจของลูกค้าเพื่อไม่ให้ปัญหา ลุกลามใหญ่โตก็มีความส�าคัญอย่างมาก เช่นกัน AI เป็นค�าที่เราเรียกติดปาก มาจาก ค�าว่า Artificial Intelligence หรือ ปัญญาประดิษฐ์ เป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง ของวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้อง กับวิธีการท�าให้คอมพิวเตอร์มีความฉลาด ในการโต้ตอบค�าถาม หรือการโต้ตอบ จากการตรวจจับภาพ เสียง หรือสิ่งต่างๆ จากเซ็นเซอร์ (Sensors) โดยการเชื่อมโยง ข้อมูลจากข้อมูลในกลุ่มค�าที่ได้ถูกสร้าง ขึ้นในระบบคอมพิวเตอร์ และการพัฒนา ให้ระบบคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาต่อยอด ออกไป โดยโปรแกรม machine learning หรือ deep learning ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ ให้สร้างความสามารถในการคิดเองได้ หรือมีปัญญานั่นเอง ปัญญานี้มนุษย์ เป็นผู้สร้างให้คอมพิวเตอร์ จึงเรียกว่า ปัญญาประดิษฐ์ AI มีความสามารถท�างานคล้าย มนุษย์ Acting Humanly สามารถสื่อสาร กระแสความก้าวหน้าของนวัตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้ามาเพิ่มความ สะดวกสบายและเอื้ออำานวยต่อการทำา ธุรกิจมีจำานวนมากยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง Smart Industry จึงขอนำาเสนอเทคโนโลยี AI และ Social Listening Tools ซึ่งกำาลัง เป็นที่กล่าวถึงและมีบทบาทที่สำาคัญ อย่างมากในขณะนี้ เทคโนโลยี AI และ Social Listening Tools กับบทบาทการรับฟังความคิดเห็น ของผู้บริโภคผ่านออนไลน์ ได้ด้วยภาษาปกติที่มนุษย์ใช้ เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาอื่นๆ ตัวอย่างคือ การแปลงข้อความเป็นค�าพูด และการแปลงค�าพูดเป็นข้อความมี ประสาทรับสัมผัสคล้ายมนุษย์ เช่น คอมพิวเตอร์รับภาพได้โดยอุปกรณ์ รับสัมผัส แล้วน�าภาพไปประมวลผล และสามารถเคลื่อนไหวได้คล้ายมนุษย์ เช่น หุ่นยนต์ช่วยงานต่างๆ อย่างการ ดูดฝุ่น เคลื่อนย้ายสิ่งของ การโต้ตอบ การสื่อสารในระบบ messaging การ มีปฏิกิริยาตอบสนองจากเหตุการณ์ ที่ sensor รับรู้ ในส่วนของประโยชน์ทางธุรกิจนั้น AI นั้นถูกเอามาใช้ในงานแทนมนุษย์ หลายอย่าง เช่น Call Center (คอล เซ็นเตอร์) ต่างๆ เพื่อลดการใช้ แรงงานคน และสร้างความพึงพอใจให้กับ ลูกค้า แต่อนาคต AI จะสามารถมาแทน การท�างานที่ซับซ้อนของคนได้แน่นอน เช่น การวางแผน การท�ากลยุทธ์ทางการ ตลาด และการสร้างเนื้องานต่างๆ เป็นต้น ส�าหรับ Social Listening Tools หรือเครื่องมือที่เก็บข้อมูลบนโลกดิจิทัล องค์กรหรือธุรกิจสามารถรับฟังความคิด เห็นของผู้บริโภคต่อสินค้าและบริการ จากการที่คนให้ความเห็นต่างๆ บนโลก โซเชียล และเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ นักการตลาดจะสามารถรู้ได้ก็ต่อเมื่อ
  • 4. 4Smart Industry รัฐบาลได้เล็งเห็นความส�าคัญและ นโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 เพื่อกระตุ้นให้ทั้ง ภาคเศรษฐกิจและสังคมในประเทศไทยได้ ตระหนักถึงการน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ในการด�าเนินธุรกิจและชีวิตประจ�าวัน ในยุคใหม่ เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของ ประเทศไปสู่การสร้างเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มี ประสิทธิภาพและศักยภาพสูงขึ้น พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก- รัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ (คสช.) กล่าวว่า ไทยแลนด์ 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ โมเดล พัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีภารกิจ การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม ผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วและ การแข่งขันจากทุกมุมโลกท�าให้ธุรกิจ ทุกแขนงต้องปรับตัวและน�าเอาเทคโนโลยี ดิจิทัลและนวัตกรรมต่างๆ มาใช้เพื่อให้ สามารถแข่งขันในยุคดิจิทัลนี้ได้ ติดปีกเอสเอ็มอี รองรับลูกค้ายุคดิจิทัล Traditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่า ค่อนข้างต�่า ไปสู่การให้บริการที่มีมูลค่า สูงมากขึ้นหรือ High Value Services และ เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต�่่าไปสู่แรงงาน ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง โดยในปี2559 ที่ผ่านมา ประเทศไทย มีเอสเอ็มอี จ�านวน 2.8 ล้านราย คิดเป็น ร้อยละ 99 ของจ�านวนวิสาหกิจทั้งหมด ของประเทศ มีการจ้างงานของเอสเอ็มอี มากกว่า 11 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 80 ของการจ้างงานทั้งหมด และเอสเอ็มอี ยังสามารถสร้างรายได้กว่า 6.04 ล้านล้าน บาท คิดเป็นสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ หรือ จีดีพี (Gross Domestic Product หรือ GDP) รวมของประเทศที่ ร้อยละ42 และเอสเอ็มอีส่งออกสินค้าไปยัง ต่างประเทศคิดเป็นมูลค่าอยู่ที่ 62,376 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนต่อมูลค่า การส่งออกรวมทั้งประเทศร้อยละ 29 ทั้งนี้ จากสถิติเอสเอ็มอีที่มีอยู่กว่า 2.8 ล้านราย พบว่า มีเพียง 20% หรือ ประมาณ 550,000 ราย ที่น�าระบบ เทคโนโลยีและเครื่องมือออนไลน์มา ประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการด�าเนิน อุตสาหกรรม [ที่มา : ส�านักงานส่งเสริม อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)] พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ส�าคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศ ด้านต่างๆ เพื่อปรับแก้ จัดระบบปรับ ทิศทาง และสร้างหนทางพัฒนาประเทศ ให้เจริญ สามารถรับมือกับโอกาสและ ภัยคุกคามแบบใหม่ๆ ที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วในศตวรรษที่ 21 ไทยแลนด์ 4.0 เป็นแนวนโยบายที่จะสร้างให้เกิดตัว ขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) สร้างรายได้สูงโดยเปลี่ยน โครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value-Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อน ด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐานคิดหลัก คือ เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” เปลี่ยนจาก การขับเคลื่อนประเทศด้วยภาค อุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วย เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และ นวัตกรรม และเปลี่ยนจากการเน้น ภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาค บริการมากขึ้น ในส่วนของธุรกิจขนาดกลางและเล็ก หรือเอสเอ็มอีนั้น รัฐบาลมีเป้าหมายที่จะ ผลักดันให้ธุรกิจเอสเอ็มอี จากรูปแบบเดิม หรือ Traditional SMEs ไปสู่การเป็น Smart Enterprises และสร้าง Startups บริษัทเกิดใหม่ที่มีศักยภาพสูง เปลี่ยน จากการให้บริการในรูปแบบเดิมหรือ
  • 5. 5Smart Industry การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม และ นวัตกรรมชาวบ้าน (Frugal innovation) โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาให้ค�าแนะน�า กับเอสเอ็มอี รวมถึงจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน เพื่อให้ค�าปรึกษาเอสเอ็มอี ในการเลือกเทคโนโลยีหรือนวัตกรรม ที่เหมาะสม ไม่ซับซ้อนและมีต้นทุน ในการพัฒนาที่ยอมรับได้มาประยุกต์ใช้ เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตและบริการ เพื่อยกระดับสินค้าและบริการให้มีคุณภาพ และประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ ยัง ส่งเสริมการน�าสิทธิบัตรที่ไม่อยู่ภายใต้การ คุ้มครองมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา สินค้าและบริการเพื่อน�ามาใช้เป็นต้นแบบ หรือแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ส�าหรับเอสเอ็มอี เพื่อเร่งพัฒนายกระดับ เอสเอ็มอีไทยทุกระดับให้มีศักยภาพ มีความสามารถในการท�าธุรกิจระดับ สากลมากขึ้น เทคโนโลยีมาช่วยในการเสริมสร้างธุรกิจ ประกอบด้วย 3 แนวทาง คือ 1. เสริมสร้างขีดความสามารถการ ใช้ไอทีของเอสเอ็มอี มีการสร้างความ ตระหนักให้เอสเอ็มอีเห็นความส�าคัญของ การใช้ไอทีรวมถึงสนับสนุนให้เอสเอ็มอี มีการพัฒนาความรู้และทักษะแก่บุคลากร ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ไอที และช่วยให้เอสเอ็มอีสามารถเลือกใช้ ระบบไอทีที่เหมาะสมกับรูปแบบของธุรกิจ และตรงกับความต้องการในการใช้งาน อาทิ ระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ ระบบบัญชีและบริหารการเงิน และ ระบบการจัดการโลจิสติกส์ เป็นต้น 2. ส่งเสริมและถ่ายทอดนวัตกรรม ให้กับเอสเอ็มอี โดย สสว. สนับสนุนให้มี การบริการถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ที่ครบวงจรแก่เอสเอ็มอี ในจ�านวนที่เพิ่ม มากขึ้น เช่น การทดลองผลิตภัณฑ์ใน ห้องทดลอง (lab scale) ไปสู่การผลิต เชิงพาณิชย์ (commercial scale) เพื่อ ให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดกับเอสเอ็มอี นอกจากนี้ยังให้ค�าปรึกษาในการยกระดับ เทคโนโลยีเพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งใน การพัฒนาและยกระดับเทคโนโลยีให้ เอสเอ็มอีโดยการจัดให้มีพี่เลี้ยงที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความช�านาญเฉพาะ ด้านเพื่อให้ค�าแนะน�าปรึกษาแก่เอสเอ็มอี 3. สนับสนุนให้เอสเอ็มอี เข้าถึง สสว. สานรับนโยบายรัฐ สร้างเอสเอ็มอี 4.0 ส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (สสว.) เป็น หน่วยงานหลักที่มีบทบาทโดยตรงในการ ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจเอสเอ็มอี ในประเทศให้มีศักยภาพในการแข่งขัน ทั้งในและต่างประเทศ อัครพงศ์ ศรีสุพรรณดิฐ รอง- ผู้อ�านวยการส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) เล่าว่า เพื่อรองรับการเติบโตและการขยายตัว ของเอสเอ็มอีที่มีประสิทธิภาพ สสว. ได้จัด ท�าแผนเอสเอ็มอี ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2560- 2564) ซึ่งตั้งเป้าหมายให้เอสเอ็มอีสามารถ ขยายจีดีพีจาก ร้อยละ 29 เป็นร้อยละ 50 ในปี พ.ศ. 2564 โดยมีแนวทางในการ ยกระดับและสร้างศักยภาพทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอทีของเอสเอ็มอี ให้สามารถน�าเทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือ ที่จะมาช่วยเพิ่มศักยภาพการแข่งขันให้กับ เอสเอ็มอี ทั้งเพื่อการบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อการขยาย ตลาดให้กว้างขึ้น และเป็นการลดต้นทุน รวมทั้งแนวทางที่ส่งเสริมให้เอสเอ็มอีใช้ ไอทีในการขยายธุรกิจให้มากขึ้น ส�าหรับยุทธศาสตร์ภายใต้การ ส่งเสริมเอสเอ็มอี ฉบับที่ 4 ที่เกี่ยวข้อง กับการส่งเสริมธุรกิจเอสเอ็มอีในการใช้ อัครพงศ์ ศรีสุพรรณดิฐ
  • 6. 6Smart Industry ดร.พสุ โลหารชุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดตัว 5 แอพพลิเคชั่นเสริมทับเอสเอ็มอี Money Flow Application ระบบควบคุม การรับและจ่ายเงินสด และกระแสเงินสด Billing Flow Application ระบบขาย และออกบิลส�าหรับร้านค้าที่ซื้อมาขายไป Stock Flow Application ระบบควบคุม สต็อกสินค้า ส�าหรับธุรกิจที่ซื้อมาขายไป DIP Business Evaluation Application แอพพลิเคชั่นส�าหรับประเมินผลการ ด�าเนินงานและผลประกอบการธุรกิจ และ SMEs DIP Business Plan Application ระบบการจัดท�าแผนธุรกิจ ส�าหรับธุรกิจการผลิตรายย่อย โดยทั้ง 5 แอพพลิเคชั่นจะเป็นปัจจัย ช่วยส่งเสริมและลดต้นทุนในการด�าเนิน ธุรกิจของผู้ประกอบการ โดยเฉพาะในด้าน ระบบบัญชีและการเงินให้มีความต่อเนื่อง ในทุกสถานการณ์ ลดความล่าช้าและ ความซับซ้อนที่เกิดขึ้นประจ�าวัน เพิ่ม ประสิทธิภาพและความแม่นย�าในระบบ บัญชีและการเงินได้มากขึ้น รวมทั้งยัง ช่วยลดต้นทุนจากการใช้ทรัพยากรมนุษย์ อีกด้วย ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้มีการพัฒนา แอพพลิเคชั่นเพื่อตอบสนองการแก้ ปัญหาและตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของธุรกิจ เอสเอ็มอีและผู้ประกอบการในยุคที่ระบบ 4G ก�าลังครอบคลุมวิถีชีวิตและการ ด�าเนินงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดี ยิ่งขึ้น โดยได้พัฒนา 5 แอพพลิเคชั่นเพื่อ เป็นตัวช่วยให้กับผู้ประกอบการสามารถ ด�าเนินธุรกิจได้คล่องตัวมากขึ้น ได้แก่
  • 7. 7Smart Industry ทันท่วงที อีกทั้งยังก่อให้เกิดประโยชน์ กับผู้ประกอบการในการเชื่อมโยงข้อมูล การสร้างมูลค่าเพิ่ม สามารถยกระดับ การบริหารจัดการ การลดต้นทุนใน ขั้นตอนการผลิต รวมถึงการสร้างไอเดีย หรือมุมมองใหม่ๆ ที่จะน�าไปประยุกต์ใน การใช้สร้างโอกาสช่องทางทางการตลาด หรือการต่อยอดธุรกิจให้เกิดประสิทธิภาพ ที่ดียิ่งขึ้น กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม คาดว่าจะสามารถผลักดันให้ผู้ประกอบการ หันมาใช้ประโยชน์จากบริการและระบบ ดิจิทัลไม่น้อยกว่า 1 แสนราย ภายในปีนี้ ทั้งนี้ Thailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์ เชิงนโยบายของรัฐบาลที่จะเปลี่ยนระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยจากรูปแบบเดิม ไปสู่รูปแบบใหม่ และมุ่งสู่การเป็นประเทศ ที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไป เพื่อให้ประเทศก้าวไปสู่ประเทศที่พัฒนา ดร.พสุ ยังกล่าวต่ออีกว่า ขณะนี้ วงการอุตสาหกรรมในระดับสากลได้หัน มาใช้ประโยชน์จากโปรแกรมประยุกต์ บนช่องทางการสื่อสารออนไลน์ หรือที่ เรียกกันว่า Mobile Application มาเป็น จุดส�าคัญในการด�าเนินธุรกิจ พร้อมทั้ง ผนวกเข้ากับกิจกรรมต่างๆ กันอย่าง แพร่หลายมากขึ้น ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่า แอพพลิเคชั่นที่เกิดขึ้นมาอย่างมากมาย และหลากหลายประเภทนี้คือปัจจัย และอาวุธที่ส�าคัญประเภทหนึ่งที่ท�าให้ การด�าเนินธุรกิจมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากขึ้น มีความรวดเร็ว และ สามารถป้องกันและแก้ปัญหาได้อย่าง แล้วตามแผน 20 ปีของรัฐบาล การน�า เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรม มาใช้ในการท�างานและเพิ่มมูลค่าของ สินค้าและบริการเพื่อรองรับผู้บริโภค ในยุคดิจิทัลจึงเป็นสิ่งที่จ�าเป็นและ จะก่อให้เกิดประโยชน์ในการแข่งขัน และเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจในทุกมิติ อย่างแท้จริง ดังนั้น ผู้ประกอบการจึงต้อง พิจารณาอย่างเร่งด่วน เพื่อเข้าถึงทักษะ การใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และ แอพพลิเคชั่นที่มีการพัฒนาอย่างมากมาย นี้เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพในองค์กร อย่างสมบูรณ์แบบมากขึ้น และเพื่อให้ ก้าวทันโลกแห่งการค้าที่ไร้พรมแดน ในปัจจุบันและอนาคต
  • 8. 8Smart Industry สามารถบริหารงานได้รวดเร็วและแม่นย�า มากขึ้น มีค่าใช้จ่ายที่ถูกลง ช่วยลด ความผิดพลาดในการท�าธุรกิจ มีการ รวบรวมข้อมูลมาช่วยในการตัดสินใจ ได้ง่ายขึ้น รวมถึงผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ สามารถพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ช่วยเพิ่มมูลค่า ของผลิตภัณฑ์และบริการของธุรกิจให้มี ศักยภาพและท�าให้เกิดที่สูงขึ้น และ เกิดประโยชน์ทั้งสองฝ่าย รวมถึงสามารถ รองรับการพัฒนาศักยภาพของประเทศ ไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 ได้ในอนาคต วัลล์ชัย เวชชีวะด�ารงค์ ไทยดอทคอม พัฒนาตลาดกลางซื้อขายซอฟต์แวร์ หวังเพิ่มศักยภาพ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยตอบโจทย์ในประเทศ ระบบการวางแผนขององค์กร (Enterprise Resource Planning) เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทคาดว่าภายในปีนี้จะมี บริษัทซอฟต์แวร์ไทยเข้ามาร่วมจ�าหน่าย ซอฟต์แวร์ผ่านThaidotcommarketplace อย่างน้อย 20 ราย และจะสามารถกระตุ้น การเติบโตการใช้งานของซอฟต์แวร์ ทั้งในส่วนของธุรกิจขนาดใหญ่ และ ธุรกิจขนาดกลางและเล็ก ซึ่งจะช่วยเพิ่ม ศักยภาพของธุรกิจโดยรวมในราคาที่ เหมาะสมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการด�าเนิน ธุรกิจให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืน “ผมอยากเป็นศูนย์กลาง (Software marketplace) ที่รวม ซอฟต์แวร์ไทยมาไว้ด้วยกันท�าให้เกิด แพลตฟอร์มของอีคอมเมิร์ซใน ประเทศไทยขึ้น ท�าให้ข้อมูลธุรกิจอยู่ใน ระบบของคนไทย และถ้าซอฟต์แวร์ไทย รวมตัวกันได้ เราจะแข่งกับซอฟต์แวร์จาก ต่างประเทศได้” วัลล์ชัย กล่าวและว่า การน�าเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ มาใช้ในการบริหารธุรกิจจะท�าให้ธุรกิจ “ไทยดอทคอม มองว่าถ้าตลาด ไอทีของบ้านเราโต คนไทยทั้งประเทศ ได้ประโยชน์การเป็นตัวกลางของเรา ก็จะสามารถช่วยส่งเสริมตลาดซอฟต์แวร์ ไทยเป็นหลัก ท�าให้ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ สามารถขายซอฟต์แวร์ได้ง่ายขึ้น ผมอยากท�าไทยดอทคอมเป็นแพลตฟอร์ม เพื่อให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์คนไทยทั้งหมด สามารถน�าความเก่งในการพัฒนา ซอฟต์แวร์มาต่อเชื่อมกับแพลตฟอร์ม ที่เราพัฒนาขึ้น เช่น ระบบการช�าระเงิน (payment) ท�าให้เกิดการซื้อขาย ซอฟต์แวร์ระหว่างบริษัทซอฟต์แวร์ และผู้ใช้ที่ง่ายขึ้นและผู้ใช้งานสามารถ ช�าระค่าใช้บริการซอฟต์แวร์ในรูปแบบ รายเดือน เป็นต้น” กรรมการบริหาร กล่าวและว่า ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่ให้บริการ ใน Thaidotcom marketplace หลายรายการ อาทิ ซอฟต์แวร์บัญชี เอ็กซ์เพรส จาก บริษัท เอ็กซ์เพรส ซอฟต์แวร์กรุ๊ป จ�ากัด ซอฟต์แวร์ ระบบบริการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management) ซอฟต์แวร์ วัลล์ชัย เวชชีวะด�ารงค์ กรรมการบริหาร บริษัท ไทยดอทคอม จ�ากัด ศูนย์กลาง การให้บริการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Software marketplace) เล่าว่า บริษัท ไทยดอทคอม มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการใช้ ซอฟต์แวร์ในประเทศให้มากขึ้น บริษัทจึงได้พัฒนาศูนย์กลางในการซื้อขายซอฟต์แวร์ ระหว่างบริษัทและผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ในประเทศโดยบริษัทเป็นตัวกลางในการจ�าหน่าย ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาโดยคนไทย ผู้ใช้บริการซอฟต์แวร์สามารถช�าระค่าซอฟต์แวร์ ตามการใช้งาน หรือที่เรียกว่า Service base ผ่าน Software marketplace ที่บริษัท พัฒนาขึ้น โดยบริษัทผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สามารถน�าซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาจ�าหน่าย ซอฟต์แวร์ในรูปแบบการซื้อขายซอฟต์แวร์ที่มีการช�าระเงินตามการใช้งานจริง (Software as a service) ผ่านระบบคลาวด์ คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) โดยบริษัทไทยดอทคอม จะจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานที่ได้มาตรฐานในระดับสากล เพื่อศูนย์กลางในการจ�าหน่ายซอฟต์แวร์ไทย อีกทั้งยังเป็นการบูรณาการพร้อมยกระดับ การให้บริการของธุรกิจซอฟต์แวร์ในประเทศ
  • 9. TechnologicalCircui Background TechnologicalCircui Background 9Smart Industry และเล็ก รวมถึงธุรกิจขนาดใหญ่ให้มี ศักยภาพในการท�าอีคอมเมิร์ซในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากขึ้นและ สามารถสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันในตลาดระหว่างประเทศ และ ในส่วนของธุรกิจยังสามารถที่จะจัดการ ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าเพื่อเป็นการเพิ่ม ศักยภาพในการท�าตลาดและต่อยอด ในการท�าธุรกิจในอนาคตด้วย” พอลกล่าว พอล ศรีวรกุล เอคอมเมิร์ซ ส่ง B2ALL แพลตฟอร์มหนุนธุรกิจสู่โลกดิจิทัล พอล ศรีวรกุล ประธานกรรมการ บริหารบริษัท เอคอมเมิร์ซ จ�ากัด กล่าวว่า บริษัทได้พัฒนาอีคอมเมิร์ซแพลตฟอร์ม ภายใต้ชื่อ B2ALL (Business-to-ALL) เพื่อให้บริการอีคอมเมิร์ซและการค้าปลีก ออนไลน์ครบวงจรในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ซึ่งประกอบไปด้วยบริการ ออกแบบและสร้างเว็บไซต์ท�าการตลาด ออนไลน์บริหารจัดการร้านค้าในหลายๆ ช่องทางการจัดการช่องทางจัดจ�าหน่าย จัดเก็บสินค้า รวมถึงบริการหลังการขาย การส่งสินค้าระหว่างประเทศ การบริหาร คลังและการเติมสินค้า และการจัดส่ง สินค้า เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทยังได้พัฒนา อีคอมเมิร์ซแพลตฟอร์มที่ใช้งานง่ายส�าหรับ ธุรกิจขนาดกลางและเล็กที่ต้องการขยาย ธุรกิจสู่ออนไลน์ อาทิ แพลตฟอร์มการส่ง ข้อความ (messaging platform) โซเชียล มีเดีย ระบบการช�าระเงิน และบริการ เอคอมเมิร์ซ หนึ่งในผู้น�ำในกำร ให้บริกำรอีคอมเมิร์ชแพลตฟอร์ม ส่ง B2ALL อีคอมเมิร์ซแพลตฟอร์มครบวงจร มุ่งสร้ำงศักยภำพ ธุรกิจขนำดใหญ่ ธุรกิจ ขนำดกลำงและเล็ก ท�ำตลำดออนไลน์ จัดส่งสินค้า เพื่อช่วยลดความยุ่งยาก ในการท�าธุรกิจ “เราพัฒนาเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซ แพลตฟอร์มเชื่อมต่อกับระบบการขาย ที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างธุรกิจ กับลูกค้าที่สามารถสื่อสารกันได้สองทาง ท�าให้สามารถน�าข้อมูลที่ได้มาช่วยเพิ่ม ศักยภาพในการขายสินค้าผ่านออนไลน์ และธุรกิจยังสามารถจัดส่งสินค้าให้กับ ลูกค้าได้รวดเร็วมากขึ้น รวมทั้งธุรกิจ สามารถน�าข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อรองรับ ความต้องการของลูกค้าได้” พอลกล่าว และว่า ปัจจุบันบริษัทให้บริการอยู่ใน 4 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศไทย ซึ่งเป็นส�านักงานใหญ่ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศสิงคโปร์ มีพนักงานมากกว่า 1,500 คน มีลูกค้า มากกว่า 200 ราย อาทิ ลาซาด้า 11street ซัมซุง เนสเลย์ ลอรีอัล และ ยูนิลีเวอร์ เป็นต้น “เราเน้นการลงทุนทางด้าน เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาบุคคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญทางด้านมีเดีย โฆษณา และอีคอมเมิร์ซโดยเฉพาะ เพื่อรองรับ การเติบโตของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ เรามี เป้าหมายที่จะช่วยธุรกิจขนาดกลาง
  • 10. พเนิน อัศววิภาส วโรดม ด่านสุวรรณ 10Smart Industry ท�าให้องค์กร หรือธุรกิจสามารถฟังความ คิดเห็นของผู้บริโภคหรือประชาชนบนโลก ออนไลน์ได้ วโรดม ด่านสุวรรณ ประธาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีของโอบีว็อค (OBVOC) กล่าวว่า โปรแกรมซอฟต์แวร์ ช่วยค้นหาค�า และเครื่องมือติดตาม ความเคลื่อนไหวของแบรนด์บนสื่อสังคม ออนไลน์จากโซเชียลมีเดียในทุกช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นเฟสบุ๊ค อินสตาแกรม ทวิตเตอร์ ยูทูป และเว็บบอร์ดต่างๆ ซึ่งครอบคลุมทุกช่องทางที่คนไทยนิยม ใช้งานกันในปัจจุบันท�าให้ธุรกิจรู้ว่า ผู้บริโภคพูดถึงสินค้าและแบรนด์ของ ธุรกิจบนโลกออนไลน์อย่างไรบ้าง เมื่อได้ ข้อมูลความคิดเห็นจากผู้บริโภคบนโลก ออนไลน์ องค์กร หรือธุรกิจสามารถน�า ข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงหรือพัฒนาสินค้า หรือบริการให้ตรงกับความต้องการของ ผู้บริโภค เพื่อเสริมภาพลักษณ์ขององค์กร หรือธุรกิจ ซึ่งจะช่วยตอบโจทย์การท�าธุรกิจ บนโลกดิจิทัลที่ต้องการข้อมูลที่รวดเร็ว น่าเชื่อถือมาช่วยในการพัฒนาธุรกิจ โดยบริษัทให้บริการเครื่องมือที่ รับฟังความคิดเห็นของผู้บริโภคบนโลก ออนไลน์ใน 3 รูปแบบ ประกอบด้วย 1. เครื่องมือที่คอยติดตาม แจ้งเตือนความคิดเห็นของผู้บริโภคบน พเนิน อัศววิภาส ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษัท วันบิต แมทเทอร์ จ�ากัด หรือที่เป็นที่รู้จักกันในนามโอบีว็อค (OBVOC) เล่าว่า บริษัทเริ่มธุรกิจจาก การเป็นบริษัทรับจ้างพัฒนาซอฟต์แวร์ หรือ ซอฟต์แวร์เฮ้าส์ตามความต้องการ ของลูกค้า อาทิ ซอฟต์แวร์โลจิสติกส์ เมื่อ 6 ปีที่ผ่านมา ก่อนที่จะพัฒนา โปรแกรมออกสู่ตลาดของตัวเอง ภายใต้ สินค้าโอบีว็อคเพื่อเป็นเครื่องมือที่รับฟัง ความคิดเห็นของผู้บริโภคบนโลกออนไลน์ หรือที่เรียกกันว่าSocialMediaMonitoring หรือ Social Listening Tools โดยมี หลักการท�างาน คือ องค์กร หรือธุรกิจ สามารถน�าเอาคีย์เวิร์ดอะไรก็ได้ที่อยาก รู้หรือสนใจ ใส่เข้าไปในระบบ ระบบจะ แสดงความคิดเห็นที่มีคีย์เวิร์ดนั้นขึ้นมา OBVOC โอบีว็อค ส่งเครื่องมือรับรู้พฤติกรรมผู้บริโภคบนโลกออนไลน์ ช่วยเสริมความแข็งแกร่งของธุรกิจ โอบีว็อค หรือ OBVOC มาจาก One Bit Voice of Customer เป็น เครื่องมือที่เก็บข้อมูลจากผู้บริโภคบนโลก ออนไลน์ เพื่อดูการตอบรับของผู้บริโภค กับสินค้าและแบรนด์สินค้าบนโลก ออนไลน์ ท�าให้ธุรกิจสามารถที่จะน�าข้อมูล ที่ได้รับมาปรับปรุงสินค้าและบริการของ ตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการ และพฤติกรรมของผู้บริโภคในยุคดิจิทัล โลกออนไลน์ต่อองค์กรหรือธุรกิจ (Social Listening Tools) ซึ่งเป็นเครื่องมือ ที่ช่วยในการรวบรวมความคิดเห็นของ ผู้บริโภค บนโลกออนไลน์ที่มีต่อองค์กร หรือธุรกิจและแบรนด์สินค้า หรือที่ เรียกว่า เช็คสุขภาพของแบรนด์ (brand health check) 2. บริการติดตามเหตุการณ์และ วิกฤตต่างๆ เกี่ยวกับองค์กรหรือธุรกิจรวม ถึงสินค้าและบริการเมื่อมีเหตุการณ์ที่มี การวิพากษ์วิจารณ์ในโลกออนไลน์ บริษัท จะแจ้งความเคลื่อนไหวต่างๆ ให้กับองค์กรหรือธุรกิจทราบถึงความ เคลื่อนไหวต่างๆ บนโลกออนไลน์ 3. บริการวิเคราะห์ข้อมูลบนโซเชียล มีเดีย เพื่อให้องค์กรหรือธุรกิจสามารถ น�าข้อมูลที่ได้จากโซเชียลมีเดียมาท�าการ วิเคราะห์ว่าตอนนี้สินค้าและแบรนด์ ขององค์กรหรือธุรกิจ เมื่อเปรียบเทียบ กับคู่แข่งเป็นอย่างไรบ้าง ผู้บริโภคชอบ หรือไม่ชอบ แบรนด์ไหนที่ผู้บริโภคก�าลัง พูดถึงจ�านวนมาก เป็นต้น “เราพัฒนาเครื่องมือคอยตรวจสอบ ความเคลื่อนไหวต่างๆ บนโลกออนไลน์ มีทีมงานคอยมอนิเตอร์ มีข้อมูลทั้ง ทางบวกและทางลบว่าเกิดอะไรขึ้นกับ แบรนด์เพื่อให้องค์กรหรือธุรกิจสามารถ แก้ไขปัญหาทันเมื่อมีเหตุการณ์วิกฤต เกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถลดความเสี่ยงของ ธุรกิจ และช่วยให้ธุรกิจตัดสินใจได้ดีขึ้น” พเนิน กล่าวและว่า ปัจจุบันบริษัทมีลูกค้าประมาณ 30 ราย อาทิ ธนาคารทหารไทย เคเอฟซี การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หน่วยงานราชการ และบริษัทเอเยนซี่ ภายในปีนี้บริษัท คาดว่าจะมีลูกค้าเพิ่มขึ้นเป็น 36 ราย และบริษัทยังมีแผนที่จะขยายธุรกิจไปยัง ตลาดต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย
  • 11. 11Smart Industry ลดเวลา ลดความยุ่งยากในการบริหาร งานด้วยไอที และช่วยสร้างความได้ เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจเนื่องจาก ธุรกิจสามารถน�าข้อมูลที่มีอยู่มาช่วย ในการตัดสินใจได้ทันที ในขณะเดียวกัน ธุรกิจยังมีความยืดหยุ่นสามารถขยายตัว และปรับตัวเข้ากับอนาคตได้เร็วกว่าคู่แข่ง รวมทั้งธุรกิจสามารถบริหารองค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันบริษัท มีลูกค้าที่ใช้บริการ Express on Cloud มากกว่า 1,000 ราย (Users) “เรามองว่าระบบบัญชีส�าเร็จรูป เป็นตลาดที่เปิดกว้างเพราะว่าธุรกิจต่างๆ ต้องมีเรื่องของบัญชีเข้ามาเกี่ยวข้อง และซอฟต์แวร์ของเรามีจุดเด่นในการให้ บริการคือ เป็นระบบบัญชีส�าเร็จรูปที่ใช้ งานง่าย ทุกระบบสามารถท�างานเชื่อมต่อ กันได้หมด และเป็นเทคโนโลยีที่ท�าให้เกิด ความสะดวกสบายในการใช้งานทุกที่ ทุกเวลา รวดเร็ว สะดวกสบาย รองรับ ธุรกิจยุคดิจิทัล และมีความถูกต้องไม่ สะดุด ผู้บริหารสามารถเรียกดูข้อมูล เพื่อช่วยในการตัดสินใจได้ตลอดเวลา” กรรมการผู้จัดการกล่าว สุทัศน์ กล่าวว่า บริษัท เริ่มให้ บริการ Express on Cloud เมื่อปลายปี ที่ผ่านมา มีลูกค้ามาใช้งานอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากซอฟต์แวร์ช่วยท�าให้ธุรกิจ สามารถแข่งขันได้ดีขึ้น และความต้องการ ของตลาดภายในปีนี้ยังมีการเติบโต อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันบริษัทมีฐานลูกค้า ทั้งในและต่างประเทศ อาทิ ลาว เขมร สิงคโปร์ พม่า และ เวียดนาม ภายในปีนี้ คาดว่าจะมีลูกค้าที่ใช้ระบบบัญชีส�าเร็จรูป Express on Cloud มากกว่า 5,000 ราย เอ็กซ์เพรส เสริมทับด้วยบริการ Express on Cloud เพิ่มทางเลือกให้ ธุรกิจ เอ็กซ์เพรส ซอฟต์แวร์กรุ๊ป จ�ำกัด เพิ่มทำงเลือกให้ธุรกิจสำมำรถใช้งำน ระบบบัญชีทุกที่ ทุกเวลำ ทุกอุปกรณ์ ผ่ำนระบบคลำวด์ คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) สุทัศน์ สกุลนิวัฒน์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท เอ็กซ์เพรส ซอฟต์แวร์ กรุ๊ป จ�ากัด เล่าว่า บริษัท เอ็กซ์เพรสฯ เป็นบริษัทที่พัฒนาซอฟต์แวร์และ จ�าหน่ายโปรแกรมระบบบัญชีส�าเร็จรูป ภายใต้ชื่อ Express มากว่า 20 ปี และ บริษัทมีซอฟต์แวร์บัญชีที่ให้บริการ ใน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบไลเซนซ์ (License) ปัจจุบันบริษัทมีฐานผู้ใช้ มากกว่า 50,000 ราย และรูปแบบของ คลาวด์ คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) โดยในส่วนของการให้บริการ คลาวด์ คอมพิวติ้ง บริษัทได้ร่วมกับ บริษัท อินเทอร์เน็ตประเทศไทย จ�ากัด (มหาชน) ในการให้บริการซอฟต์แวร์ ระบบบัญชีส�าเร็จรูปผ่าน Express on cloud ซึ่งเป็นบริการเช่าใช้ซอฟต์แวร์หรือ แอพพลิเคชั่น (Software as a Service) ผ่านอินเทอร์เน็ตโดยประมวลผลบนระบบ ของผู้ให้บริการ ซอฟต์แวร์จะถูกเรียกใช้ งานผ่านคลาวด์จากที่ไหนก็ได้ ซึ่งเหมาะ ส�าหรับธุรกิจขนาดกลางและเล็ก รวมถึง ธุรกิจขนาดใหญ่ด้วย “เราเชื่อมั่นว่าโปรแกรมระบบบัญชี ส�าเร็จรูปนั้น ไม่ใช่แค่เพียงต้องใช้งานง่าย แต่ยังต้องประกอบไปด้วยการบริการ ที่สะดวกรวดเร็ว ดังนั้นบริษัทฯ จึงทุ่มเท กับการสร้างทีมงานในการให้บริการหลัง การขาย จนในปัจจุบันเรามีทีมงานให้ บริการหลังการขายมากกว่า 60 คน และยังคงเพิ่มจ�านวนเจ้าหน้าที่ให้มากพอ ที่จะรองรับจ�านวนผู้ใช้งานที่มากขึ้น อย่างต่อเนื่อง” สุทัศน์ กล่าวและว่า ในการใช้บริการซอฟต์แวร์ในรูปแบบ ของการเช่าใช้บริการนี้จะช่วยลดต้นทุน สุทัศน์ สกุลนิวัฒน์
  • 12. 12Smart Industry เราน�าเครื่องมือรับฟังความคิดเห็น ของลูกค้าบนสังคมออนไลน์ มารับฟัง เสียงจากลูกค้าบนโลกออนไลน์ท�าให้ เห็นผลชัดเจนว่า ลูกค้ามีความพึงพอใจ ในการใช้บริการของธนาคารเพิ่มมากขึ้น สามารถตอบโจทย์ลูกค้าที่มีปัญหาใน การใช้บริการกับธนาคารได้ ท�าให้การน�า เทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือต่างๆ มาช่วยในการท�างานกับธนาคารมีความ ส�าคัญ และมีความจ�าเป็นในยุคปัจจุบัน เพราะว่าทุกคน ใช้ชีวิตผ่านโลกออนไลน์ เครื่องมือต่างๆ จะช่วยในการติดตาม ลูกค้า ได้รับข้อมูลจากลูกค้าทันที ท�าให้ สามารถต่อยอด และปรับเนื้อหาการ สื่อสารกับลูกค้าได้ทันกับสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น (Real-time marketing) พัฒนา บริการใหม่และต่อยอดบริการของธนาคาร ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งเครื่องมือจะช่วยธนาคารติดตามลูกค้า ที่พูดถึงธนาคารผ่าน เฟสบุ๊ค พันทิป และทวิตเตอร์ ท�าให้รับรู้พฤติกรรมของ ลูกค้า ธนาคารสามารถจัดบริการตรงตาม ความต้องการของลูกค้า และเทคโนโลยี สารสนเทศยังมีบทบาทส�าคัญในการ ช่วยเสริมภาพลักษณ์ธนาคารในเรื่อง ดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง เช่น การออกกิจกรรม ส่งเสริมการตลาดไปยังลูกค้าอีกด้วย เข้าที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ (Call center) หรือเข้ามาหน้าเว็บไซต์เพื่อเข้ามา กรอกข้อมูลไว้ที่เว็บไซต์แล้วธนาคาร จะติดต่อกลับ พอมีสื่อสังคมออนไลน์ เข้ามา อาทิ เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ ซึ่งก่อนหน้านี้เอาไว้คุยเล่นกับเพื่อน เป็นเรื่องการติดต่อส่วนบุคคลมากกว่า เมื่อมีคนใช้มากขึ้น แบรนด์ก็เข้าไป มีส่วนในการใช้งาน (Engage) มากขึ้น เป็นสาธารณะมากขึ้น คนเริ่มพูดถึง แบรนด์บนโลกออนไลน์มากขึ้น พอ แบรนด์เข้าไปเจาะตลาดในออนไลน์ลูกค้า ก็จะเริ่มไม่โทรศัพท์ แต่จะใช้ช่องทาง ออนไลน์ในการร้องเรียน ติชม หรือ แชร์ข้อมูล/ประสบการณ์มากขึ้น ท�าให้ ได้รับข้อมูลที่หลากหลายจากลูกค้า อาทิ ใช้บริการผ่านสาขา รอคิวนานทุกครั้ง ช่วงเงินเดือนออก หรือ ลูกค้าพูดถึง บริการที่อยากได้จากธนาคาร ท�าให้ ทีมการตลาดสามารถที่จะน�าเสียงของ ลูกค้าไปพัฒนาบริการเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการให้บริการลูกค้า รวมถึงมีการพัฒนาบริการใหม่ ที่อ�านวยความสะดวกและตรง กับความต้องการของลูกค้า มากขึ้น อาทิ บริการโอนฟรี ไม่มีดอกจันทน์ เป็นต้น” ถนิมกาญจน์ กล่าวและว่า ถนิมกาญจน์ กิจสุวรรณ ผู้จัดการ สื่อสังคมออนไลน์ กลุ่มธุรกิจส่งเสริม การตลาดลูกค้าบุคคล ธนาคารทหารไทย จ�ากัด เล่าว่า ธนาคารได้น�าเครื่องมือ รับฟังความคิดเห็นของลูกค้าผ่านสื่อ ออนไลน์ (Social listening) ของ บริษัท โอบีว็อค มาใช้เมื่อสามปีที่ผ่านมา เพื่อ ดูแลและติดตามพฤติกรรมของลูกค้า ในสื่อสังคมออนไลน์ว่าลูกค้ามีความ ต้องการบริการทางการเงินในรูปแบบไหน ลูกค้าพูดถึงธนาคารหรือการบริการ อย่างไรบ้างบนสื่อสังคมออนไลน์ รวมถึง ลูกค้ามีความคิดเห็นกับผลิตภัณฑ์ หรือ บริการใหม่ๆ ที่ธนาคารน�าเสนอให้กับ ลูกค้าอย่างไรบ้าง เพื่อให้ทีมงานที่ รับผิดชอบสามารถแก้ปัญหา และพัฒนา บริการให้ตรงกับผู้บริโภคมากที่สุด “ก่อนหน้านี้ตอนที่สังคมออนไลน์ ยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก เมื่อลูกค้ามี ค�าถาม หรือค�าร้องเรียนจะต้องโทรศัพท์ ทหารไทย ใช้เครื่องมือรับฟังความคิดเห็น บนสื่อสังคมออนไลน์ช่วยต่อยอดธุรกิจ ธนาคาร ทหารไทย เป็นหนึ่งในธนาคารที่มีการน�าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพิ่ม ศักยภาพการให้บริการทางด้านการเงินอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับพฤติกรรมของ ผู้บริโภคที่มีการใช้โทรศัพท์มือถือ และเข้าถึงข้อมูลของธนาคารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (Social media) มากขึ้น ธนาคาร ทหารไทย ได้น�าเครื่องมือรับฟังความคิดเห็น ของลูกค้าผ่านสื่อออนไลน์ (Social listening) มาช่วยในการตอบโจทย์ความต้องการ ของลูกค้าและพัฒนาบริการทางการเงินที่สามารถตอบโจทย์และตรงกับความต้องการ ของลูกค้ามากขึ้น ถนิมกาญจน์ กิจสุวรรณ
  • 13. 13Smart Industry ไอทีท�าให้การท�าธุรกิจมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เช่น การใช้ระบบการจัดการ อัตโนมัติท�าให้สามารถลดจ�านวนคน ที่ท�าได้เว็บไซต์ของร้านช่วยให้ลูกค้า สามารถหาข้อมูลพื้นฐานของแต่ละชุด ได้ด้วยตนเอง การมาลองที่ร้านจึงเป็น เพียงเพื่อเพิ่มความมั่นใจว่าสไตล์ของชุด เข้ากับบุคลิกของตน การเก็บข้อมูลลูกค้า ไว้ในคลาวด์ท�าให้การส่งต่องานระหว่าง พนักงานขายหลายคนเป็นไปอย่างสะดวก พนักงานแต่ละคนสามารถช่วยดูแลลูกค้า ที่เคยติดต่อผ่านพนักงานอีกคนได้อย่าง ราบรื่น นอกจากนี้ การช�าระเงินออนไลน์ ยังเพิ่มความสะดวกสบายให้ลูกค้า ลด ปัญหาของร้านค้าในการจัดการกับเงินสด และเพิ่มความปลอดภัย และความรัดกุม ในการด�าเนินกิจการ ดังนั้น การน�าไอทีมาช่วยในการ ด�าเนินธุรกิจของร้าน ไม่เพียงร้านจะได้รับ ประโยชน์เท่านั้น ในส่วนของลูกค้ายังได้ รับประโยชน์หลายด้าน อาทิ ความ สะดวก เพราะประสบการณ์การช็อปปิ้ง ของลูกค้าไม่ได้จ�ากัดอยู่ที่หน้าร้านเท่านั้น แต่สามารถท�าได้จากทุกที่ ลูกค้าสามารถ เลือกชมชุด ขนาด และวันที่ชุดว่างผ่าน เว็บไซต์ ท�าให้การจองให้ส�าเร็จท�าได้ แค่เพียงปลายนิ้ว ภาคินี กล่าวว่า การวิเคราะห์ข้อมูล ท�าให้ทางร้านสามารถจัดซื้อชุดที่ตรงกับ ความนิยมของลูกค้าได้มากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในด้านแบบ สี และขนาด อีกทั้งยัง เพิ่มจ�านวนชุดในแบบที่ลูกค้าชอบได้ อย่างรวดเร็ว และเพิ่มความสบายใจ ของลูกค้า และลูกค้ามั่นใจได้ว่าชุด จะไปถึงตรงเวลาอย่างแน่นอน ร้าน Formal Affair เปิดท�าการ 24 ชั่วโมง ที่ www.formalaffairbkk.com ระบบแมสเซนเจอร์ส่งของตามความ ต้องการของลูกค้า ผ่านบริการจัดส่งของ ลาล่ามูฟ (Lalamove) และแกร็บ (Grab) โดยลูกค้าจะได้รับลิ้งค์ และสามารถ ติดตามการจัดส่งชุดของแมสเซนเจอร์ แบบเรียลไทม์ (Real time) และสุดท้ายทางบริษัทใช้ไอทีในการ ติดต่อสื่อสารกับลูกค้า โดยทางร้านจะใช้ โซเชียลมีเดียเป็นช่องทางหลัก และยัง มุ่งหวังที่จะใช้พื้นที่โซเชียลของร้านไม่ใช่ แค่เพื่อการตลาด แต่จะสร้างให้เป็นพื้นที่ แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์ ของร้านเกี่ยวกับเทรนด์การแต่งตัว เทรนด์ เพื่อนเจ้าสาว เทรนด์งานแต่งงานสวยๆ เป็นต้น นอกจากนี้ การใช้โซเชียลยังสร้าง ความสะดวกให้กับลูกค้า เพราะลูกค้า สามารถแท็กเพื่อนให้เห็นรูปที่พวกเขา ชอบได้ทันที ท�าให้ประหยัดเวลาในการ สื่อสารกับเพื่อน นอกจากนี้ บริษัทยังใช้ ดาต้า อนาเลติกส์ (Data analytics) มาช่วย ในการวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า ท�าให้สามารถเลือกสรรแบบจ�านวนและ ความหลากหลายชุดได้ตรงใจลูกค้า “การวิเคราะห์ความต้องการของ ลูกค้า โดยใช้ดาต้าอนาเลติกส์ ท�าให้ สามารถเลือกชุดและสามารถจัดหาแบบ ที่ตรงใจลูกค้า เนื่องจากการวิเคราะห์ ลงไปในรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ แต่ ส�าคัญส�าหรับลูกค้านอกจากนี้การจัดการ ข้อมูลที่เป็นระบบของเราช่วยชี้วัดเรื่อง เวลา ซึ่งเป็นส่วนที่ส�าคัญมากของธุรกิจ เช่า ดาต้าอนาเลติกส์ช่วยให้ร้านมีชุด พร้อมใส่ตรงกับวันเวลาที่ลูกค้าต้องการ ได้อย่างทันท่วงที” ภาคินี กล่าวและว่า การน�าไอทีมาช่วยด�าเนินธุรกิจจึง เป็นส่วนส�าคัญมากส�าหรับ ธุรกิจขนาด กลางและเล็ก หรือธุรกิจเกิดใหม่ เพราะ Formal Affair BKK ร้านเช่าชุดออนไลน์ ใช้ดาต้าอนาเลติกส์ สร้างความมั่นใจในการทำาธุรกิจ ภาคินี เล่าว่า ทางร้านมีชุดให้เลือก มากกว่า 250 ชุด หลากไซต์ หลากดีไซน์ โดยเป็นชุดแบรนด์เนมจากดีไซเนอร์ชั้นน�า ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนใหญ่ชุดจะ น�าเข้ามาจากประเทศสหรัฐอเมริกา และ สหราชอาณาจักร “เราคิดว่าสาวๆ ในวัยเรียน และ วัยท�างานน่าจะประสบปัญหาเดียวกัน อีกทั้งยังไม่มีร้านให้เช่าชุดแบรนด์เนม ที่มีทั้งหน้าร้าน และเว็บไซต์เปิดให้บริการ เราจึงน�าเข้าชุดสวย คุณภาพดี มาให้สาวๆ ได้เช่าในราคา 2,000 - 5,000 บาท” ภาคินี กล่าวและว่า ปัจจุบันทางบริษัทไม่เพียงเปิดหน้า ร้านเพื่อเป็นสถานที่ให้ลูกค้ามาลองชุด ในร้าน ทางบริษัทยังได้น�าไอทีช่วยในการ ท�างาน ใน 3 ด้านหลักประกอบด้วย การ เปิดหน้าเว็บไซต์ร้านเช่าชุดออนไลน์ โดย เป็นเว็บไซต์ที่แสดงชุดของร้านครบทุกชุด ลูกค้าสามารถคลิกเข้าไปดูรูปด้านหน้า- หลังของชุด ซูมดูรายละเอียด มีขนาดของ ชุดแต่ละชุดบอกไว้ชัดเจน รวมถึงสามารถ เช็ควันว่าง จองชุด และช�าระเงินผ่าน ทางเว็บไซต์ นอกจากเว็บไซต์แล้ว ลูกค้า สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม เกี่ยวกับสินค้าผ่านช่องทางดังกล่าว หรือ ใช้ Line@คุยกับลูกค้าด้วย นอกจากนี้ทางบริษัทยังใช้ไอทีในการ จัดท�าระบบบริหารจัดการในร้าน โดยใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยดูแลทุกขั้นตอน หลังจากที่ลูกค้าจองชุดแล้ว ระบบจะส่ง ใบเสร็จ เพื่อยืนยันขนาดและวันจองให้ ลูกค้าทันทีผ่านทางอีเมล์ เมื่อถึง 1 วัน ก่อนวันส่งชุด ทางระบบจะส่งอีเมลให้ ลูกค้าอีกครั้ง เพื่อแจ้งเตือน และยืนยัน ที่อยู่ของลูกค้า ท�าให้ทางร้านสามารถส่ง ชุดถึงมือลูกค้าได้ตามนัดหมาย นอกจาก นี้ส�าหรับลูกค้าในกรุงเทพฯ ทางร้านใช้ จากจุดเริ่มต้นที่ได้รับบัตรเชิญไปงานแต่งงานบ่อยขึ้นเรื่อยๆ ต้องคอยหาชุด ให้ได้ตามธีมที่เจ้าสาวต้องการ ซึ่งชุดที่สวย ตัดเย็บประณีต เนื้อผ้าดี มักจะมีราคาแพง และด้วยเหตุที่ไม่อยากลงทุนซื้อชุดแพงๆ เพราะได้ใช้เพียงไม่กี่ครั้ง ภาคินี บานชื่น จึงได้ ร่วมกับเพื่อน เปิดร้านเช่าชุดทั้งในรูปแบบมีหน้าร้าน และผ่านออนไลน์ ภายใต้ร้าน Formal Affair BKK ภาคินี บานชื่น
  • 14. 14Smart Industry โครงการ “ส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว” จังหวัดเชียงราย เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย ร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ด�าเนินโครงการ “ส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ให้เกิดการน�าเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้อย่างเป็นรูปธรรมและครบวงจร ผ่านกิจกรรมโครงการฯ ได้แก่ กิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา Digital Media Challenge เพื่อการท่องเที่ยว กิจกรรมอบรมการท�าการตลาดออนไลน์ และกิจกรรมเจรจาธุรกิจ เพื่อสร้างความเข้มแข็ง เพิ่มขีดความ สามารถ และยกระดับการแข่งขัน พร้อมรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ 30 - 31 มีนาคม 2560 ณ โรงแรมแกรนด์ วิสต้า จังหวัดเชียงราย กิจกรรมสัมมนา SMART Tourism Seminar สัมมนายกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศตามนโยบาย Thailand 4.0 เพื่อให้ความรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ รวมถึงกระตุ้นให้เกิด การรับรู้ และสนใจใช้เทคโนโลยี/ไอทีเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการท่องเที่ยว ในวันพฤหัสบดี ที่ 30 มีนาคม 2560 ระหว่างเวลา 9.00 - 12.00 น. ทั้งนี้มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมรับฟัง ในกิจกรรมดังกล่าว พร้อมทั้ง กิจกรรมจัดนิทรรศการแสดงเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ ส�าหรับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เพื่อเปิด โอกาสให้ผู้ประกอบการด้านซอฟต์แวร์ไอทีและเทคโนโลยีต่างๆ ที่ช่วยยกระดับและเสริมศักยภาพให้กับ ธุรกิจ จ�านวน 9 บริษัทร่วมแสดงสินค้า/บริการและเจรจาธุรกิจกับผู้ประกอบการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “การตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือดิจิตอล สื่อโซเชียลเน็ตเวิร์คต่างๆ เพื่อสร้างรายได้และเพิ่มยอดขายทางธุรกิจ” กิจกรรมอบรม เชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพและยกระดับการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจด้านท่องเที่ยวด้วย Digital Marketing โดยวิทยากร ดร.ธีรศานต์ สหัสสพาศน์ คณะท�างานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา และคุณณัฐนันท์ เจนศักดิ์ศรีสกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดออนไลน์ ในวันที่ 30 - 31 มีนาคม 2560 ทั้งนี้ มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว 30-31 มีนาคม 2560 กิจกรรมสัมมนาและเวิร์คช็อปเติมเต็มธุรกิจด้วย Software ไทย ครั้งที่ 3 ทางเขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี ส�านักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ FlowAccount.com ได้จัดกิจกรรมสัมมนา เวิร์คช็อปเติมเต็มธุรกิจด้วย Software ไทย ครั้งที่ 3 ในวันจันทร์ที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 9.30 - 17.00 น. ณ โรงแรมแมนดาริน ถนนพระราม 4 ในกิจกรรมมีการบรรยายพิเศษเพิ่มยอดขาย ขยายฐานลูกค้าด้วย Digital Marketing โดย ดร. ธีรศานต์ สหัสสพาศน์ พร้อม Workshop การบริหารรายจ่ายด้วยระบบบัญชี โดย คุณศศิพร เหมือนศรีชัย Evange list จาก FlowAccount.com และให้ความรู้เพิ่มเติมเรื่องหัวข้อภาษี ที่เจ้าของกิจการควรรู้ โดย คุณถนอม เกตุเอม และมีผู้ออกบูธ จ�านวน 3 บริษัท ได้แก่ Thaidotcom, LnwShop และ Skootar 3 เมษายน2560 งานสัมมนา Technology Investment Conference 2017 เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (สวทช.) ร่วมกับ ส�านักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) จัดงาน Technology Investment Conference 2017 ในหัวข้อ “Next Generation Businesses” เพื่อเป็นเวทีสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการลงทุน จากวิทยากรระดับสากล เปิดโอกาสให้บริษัทขนาดกลางและใหญ่ สถาบันการเงิน และ Startup ไทยได้เห็นรูปแบบการท�างาน ความร่วมมือและการลงทุนร่วมกัน เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วม สูงสุด สร้างโอกาสทางธุรกิจ ในวันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน 2560 ระหว่างเวลา 9.00 - 20.00 น. ณ โรงแรมโซฟิเทล แบงคอค สุขุมวิท 23 มิถุนายน 2560