SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน การติดสื่อโซเชียลมีเดียเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว กัญชริญา ชื่นสมบัติ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การติดสื่อโซเชียลมีเดียเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Social media Addiction May up Risk of Depression
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกัญชริญา ชื่นสมบัติ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
สื่อโซเชียลหรือสื่อสังคมออนไลน์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันซึ่งเป็นยุค
ที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology) ได้เข้ามามีบทบาท
ต่อวิถีการดารงชีวิตของคนในสังคมแทบทุกกลุ่ม เนื่องจากมีการแข่งขันและต้องปรับตัวกันอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิด
ความสะดวกสบายในการติดต่อสนทนาสื่อสารกันผ่านแพลตฟอร์มใหม่ๆที่เปรียบดั่งโลกเสมือนจริงกับคนใหม่ๆมาก
หน้าหลายตากันอย่างแพร่หลายและก่อให้เกิดการขยายตัวด้านการค้าขายออนไลน์ แต่ทว่าสื่อโซเชียลหรือสื่อ
สังคมออนไลน์เริ่มส่งผลด้านลบในสังคมมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเกิดพฤติกรรมเลียนแบบหรือสร้างความคึกคะนอง
และใช้ความรุนแรงมากขึ้น ทั้งคาพูด และการกระทาในรูปแบบต่างๆ ตลอดจนการระบายออก ทางอารมณ์โดย
ขาดการวิเคราะห์ไตร่ตรองอย่างที่ปรากฏ เป็นข่าวต่างๆ มากมาย แต่ทั้งนี้ยังมีอีกพฤติกรรมหนึ่ง ที่เกิดขึ้นจากการ
ใช้สื่อโซเชียลมากเกินไปหรือการหมกมุ่น อยู่กับความรู้สึกที่แสดงออกผ่านโลกออนไลน์มากเกินไป จนส่งผลกระทบ
ให้ผู้ใช้เกิดพฤติกรรมเก็บตัว ไม่สุงสิงกับ โลกภายนอกจนกลายเป็นคนขี้เหงา หรืออาจถึงขั้นมีภาวะซึมเศร้าโดยไม่
รู้ตัว และอาจพัฒนารุนแรงถึงขั้นกลายเป็นโรคซึมเศร้าได้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของการติดสื่อโซเชียลมีเดีย
2. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า เช่น อาการแต่ละประเภทและที่มาของอาการ
3. เพื่อเป็นแนวทางในการสารวจตนเองหรือคนรอบข้างว่ามีความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวกัญชริญา ชื่นสมบัติ
4. เพื่อเป็นแนวทางป้องกันแก่คนที่กาลังสุ่มเสี่ยงต่อการติดสื่อโซเชียลมีเดีย
ขอบเขตโครงงาน
1. ที่มาของการติดสื่อโซเชียลมีเดีย
2. โรคซึมเศร้าคืออะไร
3. อาการของโรคซึมเศร้า
4. สาเหตุของโรคซึมเศร้า
5. วิธีการรักษาโรคซึมเศร้า
6. ผลกระทบทางสุขภาพจิตของผู้ติดสื่อโซเชียลมีเดีย
7. การติดสื่อโซเชียลมีเดียเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าอย่างไร
8. วิธีการลดการติดโซเชียลมีเดีย
หลักการและทฤษฎี
ที่มาของการติดสื่อโซเชียลมีเดีย
การที่ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล ซึ่งเป็นยุคที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้เข้ามามี
บทบาท ต่อวิถีการดารงชีวิตของคนในสังคมแทบทุกกลุ่ม เนื่องจากวิถีชีวิตของคนยุคปัจจุบันที่ต้องแข่งขัน เร่งรีบ
และต้อง ปรับตัวกันอย่างรวดเร็ว การใช้สื่อโซเซียลกลายมาเป็นส่วนหนึ่งในการติดต่อสื่อสารที่ตอบโจทย์ของการ
ดาเนินชีวิตยุคนี้ และให้อารมณ์ความรู้สึกที่เสมือนจริง แต่ปัจจุบันมีข้อค้นพบว่า การใช้มันมากจนเกินไปมีผลทาให้
สุขภาพกาย และสุขภาพใจของคุณแย่ลง เนื่องจากคุณเอาแต่หมกมุ่นอยู่กับมันเพียงอย่างเดียว
โรคซึมเศร้า คืออะไร
ภาวะซึมเศร้าเป็นภาวะทางจิตใจที่แสดงถึงความผิดปกติไปจากเดิม เช่น หดหู่ ท้อแท้ สิ้นหวัง เบื่อหน่าย
เศร้า ขาดสมาธิ ขาดความภาคภูมิใจในตัวเอง รวมถึงมีทัศนคติทางลบต่อตัวเองและสังคมรอบข้าง มีความผิดปกติ
ทางกาย เช่น นอนไม่หลับหรือหลับยาก อ่อนเพลีย เหม่อลอย เก็บตัวมากขึ้น ไม่ร่าเริงแจ่มใส ส่งผลเสียต่อการ
ดาเนินชีวิต ประจาวันทั่วไป การทางาน และการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น ทาให้ขาดความสุข ซึ่งอาจนาไปสู่
ปัญหาการฆ่าตัวตายได้
อาการของโรคซึมเศร้า
มีอาการหลัก คือ
1) อารมณ์เศร้า ท้อแท้ ซึม หงอย ทั้งที่ตัวเองรู้สึก หรือคนอื่นก็สังเกตเห็น
2) เบื่อ ไม่อยากทาอะไร หรือทา อะไรก็ไม่สนุกเพลิดเพลินเหมือนเดิม ร่วมกับมีอาการ เหล่านี้ร่วมกันอย่างน้อย 5
อาการ ได้แก่ (1) เบื่ออาหาร หรือกินมากเกินไป (2) หลับยาก หลับๆ ตื่นๆ หรือหลับมากไป (3) คิดช้าพูดช้า ทา
อะไรช้าลง หรือหงุดหงิด กระวนกระวาย ไม่สามารถอยู่นิ่งได้ (4) รู้สึกอ่อนเพลีย เหนื่อยใจ ไม่มีแรง (5) รู้สึกตนเอง
ไร้ค่า (6) สมาธิความคิดอ่านช้าลง (7) คิดไม่อยากมีชีวิตอยู่ หรืออยากทาร้ายตนเอง
อาการเหล่านี้เป็นอยู่เกือบทั้งวัน เป็นติดต่อกัน จนถึง 2 สัปดาห์ และทากิจวัตรประจาวัน เข้าร่วมกิจกรรมด้าน
สังคม ทาหน้าที่การงานไม่ได้เหมือนเดิม หรือมีความทุกข์ทรมานใจอย่างเห็นได้ชัด
สาเหตุของโรคซึมเศร้า
สาเหตุหรือที่มาของโรคซึมเศร้านั้น คนทั่วไป มักจะเข้าใจว่ามาจาก “ความกดดัน” แต่จริงๆ แล้วเป็น
เพียงแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น “ความกดดันทั้งจากครอบครัว การงาน การเรียน เรื่องพวกนี้ทาให้เราเสียใจและเศร้าใจ
ได้ แต่ไม่ใช่ทุกคนที่จะเป็นโรคซึมเศร้า คนที่เป็นโรคนี้เป็นคนที่มีความเสี่ยงระดับหนึ่งอยู่แล้ว และเมื่อมาเจอเรื่อง
พวกนี้เข้า จึงทากลายเป็นโรคซึมเศร้า” โดยความเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคนี้นั้นมีทั้งเรื่องของพันธุกรรม ซึ่งเป็นเรื่อง
ของยีนที่ผิดปกติ เรื่องของฮอร์โมนที่ทาให้ผู้หญิงมีโอกาสเสี่ยงมากกว่าผู้ชาย นอกจากนี้ยังมีเรื่องของการอบรม
เลี้ยงดู หากมีการพลัดพรากจากพ่อแม่ในวัยเด็กก็จะมีแนวโน้มความเสี่ยงสูงเช่นกัน รวมถึงลักษณะนิสัยที่มักมอง
ตนเองในแง่ลบ มองอดีตแล้วเห็นแต่ความบกพร่องของตนเอง หรือมองโลกในแง่ร้าย เป็นต้น
วิธีการรักษาโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าถ้าได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องก็จะมีโอกาสหายได้ โดยจะมีการรักษาได้ทั้ง
1. ใช้ยาปรับระดับสารเคมีในสมอง
2. การเข้ารับบาบัด เพื่อปรับวิธีคิดให้เกิดการปรับเปลี่ยนตนเอง
3. การรักษาด้วยสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะคนรอบข้างที่ต้องให้ความรักความเข้าใจได้
ผลกระทบทางสุขภาพจิตของผู้ติดสื่อโซเชียลมีเดีย
โรคที่ตามมาจากการติดโซเชียลเน็ตเวิร์ค
-โนโมโฟเบีย (Nomophobia) เกิดจากความวิตกกังวลมากเกินเมื่อขาดโทรศัพท์มือถือ พบมากในกลุ่มอายุ 18-
24 ปี ที่เช็กมือถือบ่อยเฉลี่ย 35 ครั้งต่อวัน และ เมื่อกลุ่มคนที่เป็นโรค โนโมโฟเบีย (Nomophobia) อยู่ใน
สถานการณ์ หรือ สถานที่ ที่ไม่สามารถใช้โทรศัพท์มือถือได้ จะมีอาการ หงุดหงิด, กระวนกระวาย, ตัวสั่น, เครียด
เหงื่อออก เป็นต้น
-ละเมอแชท (Sleep-Texting) มีอาการละเมอแชท เหตุหลักๆมาจากพฤติกรรมติดมือถือมากจนเกินไป จนสมอง
สร้างความวิตกกังวลต่อข้อความที่ถูกส่งมา ซึ่งผู้ป่วยเป็นโรค ละเมอ
-แชท (Sleep-Texting) จะมีพฤติกรรมตอบสนองต่อเสียงข้อความที่แจ้งเตือนขึ้นมาก และจะไม่รู้สึกตัวขณะที่กด
ส่งข้อความ เพราะเป็นสภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น
-โรคเศร้าจาก Facebook เช่น โรคซึมเศร้า
การติดสื่อโซเชียลมีเดียเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าอย่างไร
สื่อโซเชียลเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวัน ของผู้คนในยุคนี้ การพบปะ พูดคุยให้ความรู้สึกเสมือนจริง
มีการค้นพบว่า สื่อโซเชียลเป็นสาเหตุส่วนหนึ่งหรือปัจจัย ที่อาจก่อให้เกิดโรคซึมเศร้าเพิ่มมากขึ้น ผลงานวิจัยที่
กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โซเชียลมีเดียกับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นโดยทีมนักวิจัย ได้เก็บข้อมูลจาก
แบบสอบถามประชาชน ผลสรุปที่ได้คือ คนที่ติดการใช้งานโซเชียลมีเดียเกิน 58 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีโอกาสที่จะเกิด
ความรู้สึกโดดเดี่ยวมากถึง 3 ครั้ง (ต่อสัปดาห์) และถ้าใช้เวลากับโซเชียลมีเดียมากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน มีโอกาสที่จะ
รู้สึกเหงามากกว่าปกติถึงสองเท่า หนุ่มสาวที่รู้สึกโดดเดี่ยวทางสังคมจะเริ่มหันมาใช้โซเชียลมีเดีย และเป็นไปได้ว่า
การใช้โซเชียลมีเดียทาให้เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยวไปจากโลกแห่งความเป็นจริงมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าเฟซบุ๊กเป็น
สิ่งที่ทาให้คนเครียดและวิตกกังวลเพิ่มขึ้น การศึกษาครั้งนี้ทาการสารวจนักศึกษา 200 คน เกี่ยวกับการเล่นเฟซบุ๊ก
พบว่า กลุ่มคนที่มีเพื่อนในเฟซบุ๊กมาก เสี่ยงต่อความเครียดและความรู้สึกหดหู่สูงกว่าคนที่มีเพื่อน ในเฟซบุ๊กน้อยกว่า
โดยผู้ที่เล่นจะได้รับผลเชิงลบมากกว่า การปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนๆ และครอบครัวในโลกของความจริง ผู้เล่นเฟซบุ๊ก
มักจะซ่อนความเครียดและความ กระวนกระวายจากการถูกปฏิบัติในรูปแบบต่างๆ จากเพื่อน และบุคคลอื่นใน
เฟซบุ๊ก เช่น การถูกปฏิเสธ วิตกกังวล อิจฉาต่อการใช้ชีวิตของคนอื่น เป็นต้น
ผลกระทบทางสุขภาพจิตของผู้ที่ติดสมาร์ทโฟน หรือเทคโนโลยีอย่างหนักนั้นมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ
ความวิตกกังวลและโรคซึมเศร้าผลงานวิจัย พบว่า ระดับของอาการซึมเศร้าที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์ กับปริมาณ
ของเวลาที่ใช้สมาร์ทโฟน ยิ่งการใช้ระยะเวลา มากขึ้น ระดับของอาการซึมเศร้าก็จะมากขึ้นไปด้วย ค่าเฉลี่ยของ
ระยะเวลาของผู้ที่ใช้สมาร์ทโฟนและมีอาการ ซึมเศร้าคือ 68 นาทีต่อวัน ส่วนผู้ที่ไม่ได้มีอาการซึมเศร้า แล้วค่าเฉลี่ย
ของระยะเวลาเพียงแค่ 17 นาทีต่อวันเท่านั้น
วิธีการลดการติดโซเชียลมีเดีย
1. หางานอดิเรกทา – เพื่อลดอาการติดโซเชียลเน็ตเวิร์ค คุณควรจะต้องเริ่มมองหากิจกรรมที่ตนชื่นชอบ หรือ สิ่ง
ใหม่ๆ ทาเพื่อสุขภาพกายและใจได้พักผ่อนบ้าง อาทิ ออกไปเที่ยวบ้าง ออกกาลังกาย อ่านหนังสือ เป็นต้น
2. จากัดเวลาเล่นโซเชียล – โซเชียลเน็ตเวิร์ค ก็เหมือนสิ่งเสพติดชนิดหนึ่ง ที่ไม่สามารถเลิกได้ด้วยวิธีหักดิบ ฉะนั้น
วิธีง่ายๆ ก็คือ จากัดเวลาเล่นตามความเหมาะสม และเมื่อร่างกายปรับตัวได้ ก็ค่อยๆ ลดลงมาเรื่อยๆ ซึ่งถ้าหากเป็น
อย่างนี้ไปเรื่อยๆ คุณก็จะสามารถอยู่ได้ทั้งวัน โดยที่ไม่ต้องเข้าหาโซเชียลเน็ตเวิร์ค
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. เลือกหัวข้อที่จะนามาทาโครงงาน
2. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่สนใจ
3. ทาแบบทดสอบออนไลน์เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าเพื่อเป็นการสารวจ
4. จัดทารายงาน
5. นาเสนอโครงงาน
6. ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. อินเทอร์เน็ต
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน √ √ กัญชริญา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล √ √ กัญชริญา
3 จัดทาโครงร่างงาน √ √ กัญชริญา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน √ √ √ กัญชริญา
5 ปรับปรุงทดสอบ √ √ กัญชริญา
6 การทาเอกสารรายงาน √ √ √ กัญชริยา
7 ประเมินผลงาน √ √ กัญชริญา
8 นาเสนอโครงงาน √ กัญชริญา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2. เป็นแนวทางในการสารวจตนเองหรือคนรอบข้างว่ามีความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่
3. เป็นแนวทางป้องกันแก่คนที่กาลังสุ่มเสี่ยงต่อการติดสื่อโซเชียลมีเดีย
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
3. กลุ่มพัฒนาผู้เรียน

More Related Content

What's hot

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project YokBenyaporn
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5พัน พัน
 
2562 final project_605_49
2562 final project_605_49 2562 final project_605_49
2562 final project_605_49 sirawutt
 
เทส สอนงานตัด TAR SNACK
เทส สอนงานตัด TAR SNACKเทส สอนงานตัด TAR SNACK
เทส สอนงานตัด TAR SNACKKitar Wongsurin
 
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร Adirek Yaowong
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project noeynymon
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระWanarut Boonyung
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Arrat Krupeach
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornratAmornrat49882
 

What's hot (20)

คอมแพท
คอมแพทคอมแพท
คอมแพท
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Game1
Game1Game1
Game1
 
2562 final project_605_49
2562 final project_605_49 2562 final project_605_49
2562 final project_605_49
 
เทส สอนงานตัด TAR SNACK
เทส สอนงานตัด TAR SNACKเทส สอนงานตัด TAR SNACK
เทส สอนงานตัด TAR SNACK
 
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
 
2562 final-project 5
2562 final-project  52562 final-project  5
2562 final-project 5
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 605-40
2562 final-project 605-402562 final-project 605-40
2562 final-project 605-40
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
Computer work
Computer workComputer work
Computer work
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat
 
2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา
 

Similar to Addictsocial com

แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบียแบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบียJirapa_01
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5hazama02
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project Dduang07
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10ssuseraeab0d
 
2562 final-project 25-608
2562 final-project 25-6082562 final-project 25-608
2562 final-project 25-608apixxxxx
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittipong Laesunklang
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01TeerapatSrilom
 
2562 final-project 08
2562 final-project 082562 final-project 08
2562 final-project 08Poomin_bank
 
2562 final-project 41
2562 final-project 412562 final-project 41
2562 final-project 41Napisa22
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 

Similar to Addictsocial com (20)

2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบียแบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
 
้้้project01
้้้project01้้้project01
้้้project01
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
20
2020
20
 
2560 project -1.doc1
2560 project -1.doc12560 project -1.doc1
2560 project -1.doc1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
 
123
123123
123
 
2562 final-project 25-608
2562 final-project 25-6082562 final-project 25-608
2562 final-project 25-608
 
2562 final-project 25-608
2562 final-project 25-6082562 final-project 25-608
2562 final-project 25-608
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
 
2562 final-project 08
2562 final-project 082562 final-project 08
2562 final-project 08
 
2562 final-project 41
2562 final-project 412562 final-project 41
2562 final-project 41
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Addictsocial com

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน การติดสื่อโซเชียลมีเดียเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว กัญชริญา ชื่นสมบัติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การติดสื่อโซเชียลมีเดียเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Social media Addiction May up Risk of Depression ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกัญชริญา ชื่นสมบัติ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน สื่อโซเชียลหรือสื่อสังคมออนไลน์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันซึ่งเป็นยุค ที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology) ได้เข้ามามีบทบาท ต่อวิถีการดารงชีวิตของคนในสังคมแทบทุกกลุ่ม เนื่องจากมีการแข่งขันและต้องปรับตัวกันอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิด ความสะดวกสบายในการติดต่อสนทนาสื่อสารกันผ่านแพลตฟอร์มใหม่ๆที่เปรียบดั่งโลกเสมือนจริงกับคนใหม่ๆมาก หน้าหลายตากันอย่างแพร่หลายและก่อให้เกิดการขยายตัวด้านการค้าขายออนไลน์ แต่ทว่าสื่อโซเชียลหรือสื่อ สังคมออนไลน์เริ่มส่งผลด้านลบในสังคมมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเกิดพฤติกรรมเลียนแบบหรือสร้างความคึกคะนอง และใช้ความรุนแรงมากขึ้น ทั้งคาพูด และการกระทาในรูปแบบต่างๆ ตลอดจนการระบายออก ทางอารมณ์โดย ขาดการวิเคราะห์ไตร่ตรองอย่างที่ปรากฏ เป็นข่าวต่างๆ มากมาย แต่ทั้งนี้ยังมีอีกพฤติกรรมหนึ่ง ที่เกิดขึ้นจากการ ใช้สื่อโซเชียลมากเกินไปหรือการหมกมุ่น อยู่กับความรู้สึกที่แสดงออกผ่านโลกออนไลน์มากเกินไป จนส่งผลกระทบ ให้ผู้ใช้เกิดพฤติกรรมเก็บตัว ไม่สุงสิงกับ โลกภายนอกจนกลายเป็นคนขี้เหงา หรืออาจถึงขั้นมีภาวะซึมเศร้าโดยไม่ รู้ตัว และอาจพัฒนารุนแรงถึงขั้นกลายเป็นโรคซึมเศร้าได้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของการติดสื่อโซเชียลมีเดีย 2. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า เช่น อาการแต่ละประเภทและที่มาของอาการ 3. เพื่อเป็นแนวทางในการสารวจตนเองหรือคนรอบข้างว่ามีความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวกัญชริญา ชื่นสมบัติ
  • 3. 4. เพื่อเป็นแนวทางป้องกันแก่คนที่กาลังสุ่มเสี่ยงต่อการติดสื่อโซเชียลมีเดีย ขอบเขตโครงงาน 1. ที่มาของการติดสื่อโซเชียลมีเดีย 2. โรคซึมเศร้าคืออะไร 3. อาการของโรคซึมเศร้า 4. สาเหตุของโรคซึมเศร้า 5. วิธีการรักษาโรคซึมเศร้า 6. ผลกระทบทางสุขภาพจิตของผู้ติดสื่อโซเชียลมีเดีย 7. การติดสื่อโซเชียลมีเดียเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าอย่างไร 8. วิธีการลดการติดโซเชียลมีเดีย หลักการและทฤษฎี ที่มาของการติดสื่อโซเชียลมีเดีย การที่ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล ซึ่งเป็นยุคที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้เข้ามามี บทบาท ต่อวิถีการดารงชีวิตของคนในสังคมแทบทุกกลุ่ม เนื่องจากวิถีชีวิตของคนยุคปัจจุบันที่ต้องแข่งขัน เร่งรีบ และต้อง ปรับตัวกันอย่างรวดเร็ว การใช้สื่อโซเซียลกลายมาเป็นส่วนหนึ่งในการติดต่อสื่อสารที่ตอบโจทย์ของการ ดาเนินชีวิตยุคนี้ และให้อารมณ์ความรู้สึกที่เสมือนจริง แต่ปัจจุบันมีข้อค้นพบว่า การใช้มันมากจนเกินไปมีผลทาให้ สุขภาพกาย และสุขภาพใจของคุณแย่ลง เนื่องจากคุณเอาแต่หมกมุ่นอยู่กับมันเพียงอย่างเดียว โรคซึมเศร้า คืออะไร ภาวะซึมเศร้าเป็นภาวะทางจิตใจที่แสดงถึงความผิดปกติไปจากเดิม เช่น หดหู่ ท้อแท้ สิ้นหวัง เบื่อหน่าย เศร้า ขาดสมาธิ ขาดความภาคภูมิใจในตัวเอง รวมถึงมีทัศนคติทางลบต่อตัวเองและสังคมรอบข้าง มีความผิดปกติ ทางกาย เช่น นอนไม่หลับหรือหลับยาก อ่อนเพลีย เหม่อลอย เก็บตัวมากขึ้น ไม่ร่าเริงแจ่มใส ส่งผลเสียต่อการ ดาเนินชีวิต ประจาวันทั่วไป การทางาน และการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น ทาให้ขาดความสุข ซึ่งอาจนาไปสู่ ปัญหาการฆ่าตัวตายได้ อาการของโรคซึมเศร้า มีอาการหลัก คือ 1) อารมณ์เศร้า ท้อแท้ ซึม หงอย ทั้งที่ตัวเองรู้สึก หรือคนอื่นก็สังเกตเห็น 2) เบื่อ ไม่อยากทาอะไร หรือทา อะไรก็ไม่สนุกเพลิดเพลินเหมือนเดิม ร่วมกับมีอาการ เหล่านี้ร่วมกันอย่างน้อย 5 อาการ ได้แก่ (1) เบื่ออาหาร หรือกินมากเกินไป (2) หลับยาก หลับๆ ตื่นๆ หรือหลับมากไป (3) คิดช้าพูดช้า ทา อะไรช้าลง หรือหงุดหงิด กระวนกระวาย ไม่สามารถอยู่นิ่งได้ (4) รู้สึกอ่อนเพลีย เหนื่อยใจ ไม่มีแรง (5) รู้สึกตนเอง ไร้ค่า (6) สมาธิความคิดอ่านช้าลง (7) คิดไม่อยากมีชีวิตอยู่ หรืออยากทาร้ายตนเอง
  • 4. อาการเหล่านี้เป็นอยู่เกือบทั้งวัน เป็นติดต่อกัน จนถึง 2 สัปดาห์ และทากิจวัตรประจาวัน เข้าร่วมกิจกรรมด้าน สังคม ทาหน้าที่การงานไม่ได้เหมือนเดิม หรือมีความทุกข์ทรมานใจอย่างเห็นได้ชัด สาเหตุของโรคซึมเศร้า สาเหตุหรือที่มาของโรคซึมเศร้านั้น คนทั่วไป มักจะเข้าใจว่ามาจาก “ความกดดัน” แต่จริงๆ แล้วเป็น เพียงแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น “ความกดดันทั้งจากครอบครัว การงาน การเรียน เรื่องพวกนี้ทาให้เราเสียใจและเศร้าใจ ได้ แต่ไม่ใช่ทุกคนที่จะเป็นโรคซึมเศร้า คนที่เป็นโรคนี้เป็นคนที่มีความเสี่ยงระดับหนึ่งอยู่แล้ว และเมื่อมาเจอเรื่อง พวกนี้เข้า จึงทากลายเป็นโรคซึมเศร้า” โดยความเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคนี้นั้นมีทั้งเรื่องของพันธุกรรม ซึ่งเป็นเรื่อง ของยีนที่ผิดปกติ เรื่องของฮอร์โมนที่ทาให้ผู้หญิงมีโอกาสเสี่ยงมากกว่าผู้ชาย นอกจากนี้ยังมีเรื่องของการอบรม เลี้ยงดู หากมีการพลัดพรากจากพ่อแม่ในวัยเด็กก็จะมีแนวโน้มความเสี่ยงสูงเช่นกัน รวมถึงลักษณะนิสัยที่มักมอง ตนเองในแง่ลบ มองอดีตแล้วเห็นแต่ความบกพร่องของตนเอง หรือมองโลกในแง่ร้าย เป็นต้น วิธีการรักษาโรคซึมเศร้า โรคซึมเศร้าถ้าได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องก็จะมีโอกาสหายได้ โดยจะมีการรักษาได้ทั้ง 1. ใช้ยาปรับระดับสารเคมีในสมอง 2. การเข้ารับบาบัด เพื่อปรับวิธีคิดให้เกิดการปรับเปลี่ยนตนเอง 3. การรักษาด้วยสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะคนรอบข้างที่ต้องให้ความรักความเข้าใจได้ ผลกระทบทางสุขภาพจิตของผู้ติดสื่อโซเชียลมีเดีย โรคที่ตามมาจากการติดโซเชียลเน็ตเวิร์ค -โนโมโฟเบีย (Nomophobia) เกิดจากความวิตกกังวลมากเกินเมื่อขาดโทรศัพท์มือถือ พบมากในกลุ่มอายุ 18- 24 ปี ที่เช็กมือถือบ่อยเฉลี่ย 35 ครั้งต่อวัน และ เมื่อกลุ่มคนที่เป็นโรค โนโมโฟเบีย (Nomophobia) อยู่ใน สถานการณ์ หรือ สถานที่ ที่ไม่สามารถใช้โทรศัพท์มือถือได้ จะมีอาการ หงุดหงิด, กระวนกระวาย, ตัวสั่น, เครียด เหงื่อออก เป็นต้น -ละเมอแชท (Sleep-Texting) มีอาการละเมอแชท เหตุหลักๆมาจากพฤติกรรมติดมือถือมากจนเกินไป จนสมอง สร้างความวิตกกังวลต่อข้อความที่ถูกส่งมา ซึ่งผู้ป่วยเป็นโรค ละเมอ -แชท (Sleep-Texting) จะมีพฤติกรรมตอบสนองต่อเสียงข้อความที่แจ้งเตือนขึ้นมาก และจะไม่รู้สึกตัวขณะที่กด ส่งข้อความ เพราะเป็นสภาวะกึ่งหลับกึ่งตื่น -โรคเศร้าจาก Facebook เช่น โรคซึมเศร้า การติดสื่อโซเชียลมีเดียเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าอย่างไร สื่อโซเชียลเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวัน ของผู้คนในยุคนี้ การพบปะ พูดคุยให้ความรู้สึกเสมือนจริง มีการค้นพบว่า สื่อโซเชียลเป็นสาเหตุส่วนหนึ่งหรือปัจจัย ที่อาจก่อให้เกิดโรคซึมเศร้าเพิ่มมากขึ้น ผลงานวิจัยที่
  • 5. กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โซเชียลมีเดียกับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นโดยทีมนักวิจัย ได้เก็บข้อมูลจาก แบบสอบถามประชาชน ผลสรุปที่ได้คือ คนที่ติดการใช้งานโซเชียลมีเดียเกิน 58 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีโอกาสที่จะเกิด ความรู้สึกโดดเดี่ยวมากถึง 3 ครั้ง (ต่อสัปดาห์) และถ้าใช้เวลากับโซเชียลมีเดียมากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน มีโอกาสที่จะ รู้สึกเหงามากกว่าปกติถึงสองเท่า หนุ่มสาวที่รู้สึกโดดเดี่ยวทางสังคมจะเริ่มหันมาใช้โซเชียลมีเดีย และเป็นไปได้ว่า การใช้โซเชียลมีเดียทาให้เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยวไปจากโลกแห่งความเป็นจริงมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าเฟซบุ๊กเป็น สิ่งที่ทาให้คนเครียดและวิตกกังวลเพิ่มขึ้น การศึกษาครั้งนี้ทาการสารวจนักศึกษา 200 คน เกี่ยวกับการเล่นเฟซบุ๊ก พบว่า กลุ่มคนที่มีเพื่อนในเฟซบุ๊กมาก เสี่ยงต่อความเครียดและความรู้สึกหดหู่สูงกว่าคนที่มีเพื่อน ในเฟซบุ๊กน้อยกว่า โดยผู้ที่เล่นจะได้รับผลเชิงลบมากกว่า การปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนๆ และครอบครัวในโลกของความจริง ผู้เล่นเฟซบุ๊ก มักจะซ่อนความเครียดและความ กระวนกระวายจากการถูกปฏิบัติในรูปแบบต่างๆ จากเพื่อน และบุคคลอื่นใน เฟซบุ๊ก เช่น การถูกปฏิเสธ วิตกกังวล อิจฉาต่อการใช้ชีวิตของคนอื่น เป็นต้น ผลกระทบทางสุขภาพจิตของผู้ที่ติดสมาร์ทโฟน หรือเทคโนโลยีอย่างหนักนั้นมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ ความวิตกกังวลและโรคซึมเศร้าผลงานวิจัย พบว่า ระดับของอาการซึมเศร้าที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์ กับปริมาณ ของเวลาที่ใช้สมาร์ทโฟน ยิ่งการใช้ระยะเวลา มากขึ้น ระดับของอาการซึมเศร้าก็จะมากขึ้นไปด้วย ค่าเฉลี่ยของ ระยะเวลาของผู้ที่ใช้สมาร์ทโฟนและมีอาการ ซึมเศร้าคือ 68 นาทีต่อวัน ส่วนผู้ที่ไม่ได้มีอาการซึมเศร้า แล้วค่าเฉลี่ย ของระยะเวลาเพียงแค่ 17 นาทีต่อวันเท่านั้น วิธีการลดการติดโซเชียลมีเดีย 1. หางานอดิเรกทา – เพื่อลดอาการติดโซเชียลเน็ตเวิร์ค คุณควรจะต้องเริ่มมองหากิจกรรมที่ตนชื่นชอบ หรือ สิ่ง ใหม่ๆ ทาเพื่อสุขภาพกายและใจได้พักผ่อนบ้าง อาทิ ออกไปเที่ยวบ้าง ออกกาลังกาย อ่านหนังสือ เป็นต้น 2. จากัดเวลาเล่นโซเชียล – โซเชียลเน็ตเวิร์ค ก็เหมือนสิ่งเสพติดชนิดหนึ่ง ที่ไม่สามารถเลิกได้ด้วยวิธีหักดิบ ฉะนั้น วิธีง่ายๆ ก็คือ จากัดเวลาเล่นตามความเหมาะสม และเมื่อร่างกายปรับตัวได้ ก็ค่อยๆ ลดลงมาเรื่อยๆ ซึ่งถ้าหากเป็น อย่างนี้ไปเรื่อยๆ คุณก็จะสามารถอยู่ได้ทั้งวัน โดยที่ไม่ต้องเข้าหาโซเชียลเน็ตเวิร์ค วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อที่จะนามาทาโครงงาน 2. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่สนใจ 3. ทาแบบทดสอบออนไลน์เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าเพื่อเป็นการสารวจ 4. จัดทารายงาน 5. นาเสนอโครงงาน 6. ปรับปรุงและแก้ไข
  • 6. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. อินเทอร์เน็ต งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน √ √ กัญชริญา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล √ √ กัญชริญา 3 จัดทาโครงร่างงาน √ √ กัญชริญา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน √ √ √ กัญชริญา 5 ปรับปรุงทดสอบ √ √ กัญชริญา 6 การทาเอกสารรายงาน √ √ √ กัญชริยา 7 ประเมินผลงาน √ √ กัญชริญา 8 นาเสนอโครงงาน √ กัญชริญา ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2. เป็นแนวทางในการสารวจตนเองหรือคนรอบข้างว่ามีความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ 3. เป็นแนวทางป้องกันแก่คนที่กาลังสุ่มเสี่ยงต่อการติดสื่อโซเชียลมีเดีย สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา 3. กลุ่มพัฒนาผู้เรียน