SlideShare a Scribd company logo
ประวัติของบุคคลสำคัญ
ประวัติของบุคคลสำคัญ
รายวิชา วิจิตรนาฏศิลป์ 1 (ม.1)
รายวิชา วิจิตรนาฏศิลป์ 1 (ม.1)
รหัสประจำวิชา ศ 21401
รหัสประจำวิชา ศ 21401
ครูผู้สอน นางสาวริณลว์ลดา พิริยุตะมา (ครูโฟล์ค)
ครูผู้สอน นางสาวริณลว์ลดา พิริยุตะมา (ครูโฟล์ค)
ความเป็นมา ของเรื่อง ประวัติของบุคคลสำคัญ
ความเป็นมา ของเรื่อง ประวัติของบุคคลสำคัญ
กระบวนการสืบทอดในสมัยโบราณ เป็นการถ่ายทอดจากครูตัวต่อตัว โดยวิธีการจำ
ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร องค์ความรู้ทั้งหมดจะอยู่ในครู
ศิษย์ที่จะได้รับการถ่ายทอดวิชานาฏศิลป์ไทยจะต้องปฏิบัติรับใช้ครู
จนครูเห็นเห็นว่าศิษย์ผู้นี้มีความกตัญญู มีศรัทธาแน่วแน่
ที่จะรับการถ่ายทอดวิชาจริงๆ ครูจึงถ่ายทอดวิชาให้ สำหรับปรมาจารย์ที่มีบทบาท
ในการสร้างสรรค์และสืบทอดนาฏศิลป์ไทยมีอยู่หลายท่านด้วยกัน
กระบวนการสืบทอดในสมัยโบราณ เป็นการถ่ายทอดจากครูตัวต่อตัว โดยวิธีการจำ
ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร องค์ความรู้ทั้งหมดจะอยู่ในครู
ศิษย์ที่จะได้รับการถ่ายทอดวิชานาฏศิลป์ไทยจะต้องปฏิบัติรับใช้ครู
จนครูเห็นเห็นว่าศิษย์ผู้นี้มีความกตัญญู มีศรัทธาแน่วแน่
ที่จะรับการถ่ายทอดวิชาจริงๆ ครูจึงถ่ายทอดวิชาให้ สำหรับปรมาจารย์ที่มีบทบาท
ในการสร้างสรรค์และสืบทอดนาฏศิลป์ไทยมีอยู่หลายท่านด้วยกัน
สยามศิลปิน ตอน อ.ส่องชาติ ชื่นศิริ
สยามศิลปิน ตอน อ.ส่องชาติ ชื่นศิริ
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ.2528
เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2446 เป็นธิดาของนายเฮง
และนางสุทธิ สุทธิสมบูรณ์ เป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทรา ฝึกหัดนาฏศิลป์
ตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ในวังสวนกุหลาบ
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ.2528
เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2446 เป็นธิดาของนายเฮง
และนางสุทธิ สุทธิสมบูรณ์ เป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทรา ฝึกหัดนาฏศิลป์
ตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ในวังสวนกุหลาบ
ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็นตัวอิเหนา นางดรสา พระพิราพ นางเมขลา
ไชยเชษฐ์ พระไวย ไกรทอง มีฝีมือการรำเป็นเลิศ เชี่ยวชาญเพลงอาวุธทุกชนิด
เช่น กระบี่ ทวน และกริช ท่านได้นำนาฏศิลป์นานาชาติมาพัฒนาเป็นนาฏศิลป์ไทย
เช่น เป็นผู้ปรับปรุงวางรากฐานทางด้านนาฏศิลป์ให้แก่กรมศิลปากรหลายแขนง
นับตั้งแต่การประพันธ์บทโขน ละคร ประดิษฐ์ท่ารำ ทั้งพระ นาง ยักษ์ ลิง
ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็นตัวอิเหนา นางดรสา พระพิราพ นางเมขลา
ไชยเชษฐ์ พระไวย ไกรทอง มีฝีมือการรำเป็นเลิศ เชี่ยวชาญเพลงอาวุธทุกชนิด
เช่น กระบี่ ทวน และกริช ท่านได้นำนาฏศิลป์นานาชาติมาพัฒนาเป็นนาฏศิลป์ไทย
เช่น เป็นผู้ปรับปรุงวางรากฐานทางด้านนาฏศิลป์ให้แก่กรมศิลปากรหลายแขนง
นับตั้งแต่การประพันธ์บทโขน ละคร ประดิษฐ์ท่ารำ ทั้งพระ นาง ยักษ์ ลิง
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง
ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง
1. ประเภทรำ ได้แก่ อิเหนาฉายกริช มโนราห์ตอนบูชายัญ
และได้ประดิษฐ์ท่ารำร่วมกับครูลมุล ยมะคุปต์ ได้แก่ รำพม่าไทยอธิษบาน
รำลาวไทยปณิธาน ลาวกระทบไม้ สีนวลออกอาหนู
โคมบัว ซัดชาตรี รำเถิดเทิง และฉุยฉายฮเนา
2. ประเภทระบำ ได้แก่ ระบำวีระชัย ระบำทวน ระบำกินรีร่อน ระบำนางไม้
ระบำไกรลาศสำเริง ระบำนพรัตน์ ระบำนางใน ระบำเทพบันเทิง ระบำนกเขามะราปี
ระบำม้า ระบำหงส์เหิร ระบำโบราณคดี ระบำเงาะ ระบำนางอาย ชุดสุโขทัย
ระบำจีนไทยไมตรี ระบำกวาง ระบำปลา ระบำแขก ระบำครุฑ และระบำมยุราภิรมณ์
3. ประเภทฟ้อน เช่น ฟ้อนมาลัย ฟ้อนลาวดวงเดือน ฟ้อนจัทราพาฝัน เป็นต้น
1. ประเภทรำ ได้แก่ อิเหนาฉายกริช มโนราห์ตอนบูชายัญ
และได้ประดิษฐ์ท่ารำร่วมกับครูลมุล ยมะคุปต์ ได้แก่ รำพม่าไทยอธิษบาน
รำลาวไทยปณิธาน ลาวกระทบไม้ สีนวลออกอาหนู
โคมบัว ซัดชาตรี รำเถิดเทิง และฉุยฉายฮเนา
2. ประเภทระบำ ได้แก่ ระบำวีระชัย ระบำทวน ระบำกินรีร่อน ระบำนางไม้
ระบำไกรลาศสำเริง ระบำนพรัตน์ ระบำนางใน ระบำเทพบันเทิง ระบำนกเขามะราปี
ระบำม้า ระบำหงส์เหิร ระบำโบราณคดี ระบำเงาะ ระบำนางอาย ชุดสุโขทัย
ระบำจีนไทยไมตรี ระบำกวาง ระบำปลา ระบำแขก ระบำครุฑ และระบำมยุราภิรมณ์
3. ประเภทฟ้อน เช่น ฟ้อนมาลัย ฟ้อนลาวดวงเดือน ฟ้อนจัทราพาฝัน เป็นต้น
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
ครูละมุล ยมะคุปต์ เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2448 เป็นชาวจังหวัดน่าน
เป็นธิดาของร้อยโทนายแพทย์จีน อัญชัญภาติ กับนางคำมอย บิดาพาไป
ถวายตัวเป็นนางละคร ณ วังสวนกุหลาบ เริ่มฝึกหหัดนาฏศิลป์
ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ และย้ายไปศึกษาด้านละครใน ณ วังเพชรบูรณ์
ครูละมุล ยมะคุปต์ เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2448 เป็นชาวจังหวัดน่าน
เป็นธิดาของร้อยโทนายแพทย์จีน อัญชัญภาติ กับนางคำมอย บิดาพาไป
ถวายตัวเป็นนางละคร ณ วังสวนกุหลาบ เริ่มฝึกหหัดนาฏศิลป์
ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ และย้ายไปศึกษาด้านละครใน ณ วังเพชรบูรณ์
ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็นตัวเอกเกือบทุกเรื่อง เพราะมีฝีมือ
เป็นเยี่ยม บทบาทที่ท่านเคยแสดง เช่น พระสังข์ เขยเล็ก เจ้าเงาะ ฮเนา
ซมพลา พระวิษณุกรรม พระอภัยมณี ศรีสุวรรณ สุดสาคร อุศมเรน อิเหนา
สียะตรา วิหยาสะกำ อุณรุฑ พระราม พระลอ พระมงกุฎ อินทรชิด พระนารายณ์
พระคเณศ สมิงพระราม พระไวย พลายบัว พระพันวษา เป็นต้น
ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็นตัวเอกเกือบทุกเรื่อง เพราะมีฝีมือ
เป็นเยี่ยม บทบาทที่ท่านเคยแสดง เช่น พระสังข์ เขยเล็ก เจ้าเงาะ ฮเนา
ซมพลา พระวิษณุกรรม พระอภัยมณี ศรีสุวรรณ สุดสาคร อุศมเรน อิเหนา
สียะตรา วิหยาสะกำ อุณรุฑ พระราม พระลอ พระมงกุฎ อินทรชิด พระนารายณ์
พระคเณศ สมิงพระราม พระไวย พลายบัว พระพันวษา เป็นต้น
อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง
ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง
ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ ที่ประดิษฐ์ให้กรมศิลปากร ในฐานะผู้เชี่ยวชาญ
เช่น รำแม่บทใหญ่ รำซัดชาตรี รำวงมาตรฐาน รำเถิดเทิง รำกิ่งไม้เงินทอง
ระบำกลอง ระบำฉิ่ง ระบำนกยูง ระบำกฤดาภิหาร ระบำชุมนุมเผ่าไทย
ระบำอธิษฐาน ระบำในน้ำมีปลา ระบำระฆัง ระบำนกสามหมู่ ระบำเชิญพระขวัญ
ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ฟ้อนแพน ฟ้อนแคน
เซิ้งสราญ เซิ้งสัมพันธ์ เป็นต้น
ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ ที่ประดิษฐ์ให้กรมศิลปากร ในฐานะผู้เชี่ยวชาญ
เช่น รำแม่บทใหญ่ รำซัดชาตรี รำวงมาตรฐาน รำเถิดเทิง รำกิ่งไม้เงินทอง
ระบำกลอง ระบำฉิ่ง ระบำนกยูง ระบำกฤดาภิหาร ระบำชุมนุมเผ่าไทย
ระบำอธิษฐาน ระบำในน้ำมีปลา ระบำระฆัง ระบำนกสามหมู่ ระบำเชิญพระขวัญ
ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ฟ้อนแพน ฟ้อนแคน
เซิ้งสราญ เซิ้งสัมพันธ์ เป็นต้น
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์
ในการคิดค้นท่ารำนั้น บางท่ารำครูลมุลสามารถนำเอาท่ารำของนาฏศิลป์เพื่อนบ้าน
มาดัดแปลงประดิษฐ์ขึ้นใหม่ได้อย่างแนบเนียนกลมกลืน
ซึ่งเป็นแนวคิดและกลวิธีที่ครูนาฏศิลป์ในรุ่นต่อๆมา ได้นำมาใช้เป็นแบบอย่าง
นอกจากนี้ ท่านยังเป็นผู้ร่างหลักสูตรให้แก่วิทยาลัยนาฏศิลป์
ซึ่งนับว่าท่านเป็นครูนาฏศิลป์คนแรกในการวางหลักสูตร
การเรียนการสอนนาฏศิลป์ไทย ทำให้การเรียนนาฏศิลป์มีระบบ
มีขั้นตอนในการฝึกหัด นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าที่ท่านฝากไว้แก่แผ่นดิน
ในการคิดค้นท่ารำนั้น บางท่ารำครูลมุลสามารถนำเอาท่ารำของนาฏศิลป์เพื่อนบ้าน
มาดัดแปลงประดิษฐ์ขึ้นใหม่ได้อย่างแนบเนียนกลมกลืน
ซึ่งเป็นแนวคิดและกลวิธีที่ครูนาฏศิลป์ในรุ่นต่อๆมา ได้นำมาใช้เป็นแบบอย่าง
นอกจากนี้ ท่านยังเป็นผู้ร่างหลักสูตรให้แก่วิทยาลัยนาฏศิลป์
ซึ่งนับว่าท่านเป็นครูนาฏศิลป์คนแรกในการวางหลักสูตร
การเรียนการสอนนาฏศิลป์ไทย ทำให้การเรียนนาฏศิลป์มีระบบ
มีขั้นตอนในการฝึกหัด นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าที่ท่านฝากไว้แก่แผ่นดิน
อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช
อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช
ครูเฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ.2530
เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2477 ท่านเข้ารับการฝึกหัดนาฏศิลป์
ที่วังสวนกุหลาบตั้งแต่อายุ 7 ขวบ แล้วย้ายไปศึกษา
ด้านการแสดงละครดึกดำบรรพ์ที่วังเพชบูรณ์
ครูเฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ.2530
เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2477 ท่านเข้ารับการฝึกหัดนาฏศิลป์
ที่วังสวนกุหลาบตั้งแต่อายุ 7 ขวบ แล้วย้ายไปศึกษา
ด้านการแสดงละครดึกดำบรรพ์ที่วังเพชบูรณ์
ผลงานด้านการแสดง ท่านมีฝีมือและความสามารถในการแสดงเป็นตัวเอก
เช่น นางสีดา นางสุวรรณมาลี นางเบญกาย นางมณโฑ
มะเดหวี ประไหมสุหรี นางมณฑา เป็นต้น
นอกจากนี้ ท่านยังได้รับการถ่ายทอดการแสดงชุดศุภลักษณ์อุ้มสม
รำกริชดรสา และรำฝรั่งคู่ อีกด้วย
ผลงานด้านการแสดง ท่านมีฝีมือและความสามารถในการแสดงเป็นตัวเอก
เช่น นางสีดา นางสุวรรณมาลี นางเบญกาย นางมณโฑ
มะเดหวี ประไหมสุหรี นางมณฑา เป็นต้น
นอกจากนี้ ท่านยังได้รับการถ่ายทอดการแสดงชุดศุภลักษณ์อุ้มสม
รำกริชดรสา และรำฝรั่งคู่ อีกด้วย
อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช
อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช
ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง
ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง
ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ เช่น รำพัดรัตนโกสินทร์ ฉุยฉายวันทองแปลง
ฉุยฉายศูรปนขา ฉุยฉายยอพระกลิ่น ระบำศรีชัยสิงห์ ระบำกาญจนาภิเษก
ระบำเทพอัปสรพนมรุ้ง ระบำขอม ระบำกินนร ระบำมิตรไมตรีซีเกมส์
ฟ้อนลาวสมเด็จ เซิ้งสราญ เป็นต้น
นอกจากนี้ ท่านยังประดิษฐ์ท่ารำให้ตัวละครเอกของศิลปินกรมศิลปากร
และถ่ายทอดท่ารำที่เป็นแบบแผนไว้ในหลักวิชานาฏศิลป์ นับว่าเป็นปรมาจารย์
อีกท่านหนึ่งที่ช่วยสืบทอดวิชานาฏศิลป์ไทยให้คงเอกลักษณ์อยู่คู่แผ่นดินสืบต่อไป
ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ เช่น รำพัดรัตนโกสินทร์ ฉุยฉายวันทองแปลง
ฉุยฉายศูรปนขา ฉุยฉายยอพระกลิ่น ระบำศรีชัยสิงห์ ระบำกาญจนาภิเษก
ระบำเทพอัปสรพนมรุ้ง ระบำขอม ระบำกินนร ระบำมิตรไมตรีซีเกมส์
ฟ้อนลาวสมเด็จ เซิ้งสราญ เป็นต้น
นอกจากนี้ ท่านยังประดิษฐ์ท่ารำให้ตัวละครเอกของศิลปินกรมศิลปากร
และถ่ายทอดท่ารำที่เป็นแบบแผนไว้ในหลักวิชานาฏศิลป์ นับว่าเป็นปรมาจารย์
อีกท่านหนึ่งที่ช่วยสืบทอดวิชานาฏศิลป์ไทยให้คงเอกลักษณ์อยู่คู่แผ่นดินสืบต่อไป
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช
ผลงานการประดิษฐ์การแสดงของ อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช
อาจารย์จำเรียง พุธประดับ
อาจารย์จำเรียง พุธประดับ
ครูจำเรียง พุธประดับ เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2459 ณ ตำบลท่าทราย
อำเภอกระซง จังหวัดเพชรบุรี บิดาชื่อนายเปี่ยม มารดาชื่อนางเจิม
จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนประจำ จังหวัดเพชรบุรี
เมื่อ พ.ศ. 2473 ขณะนั้นอายุเพียง 13 ขวบ ได้เห็นการฝึกหัดโขนหลวง
ละครหลวง ณ เรือนไทยในวังสวนกุหลาบ จนเกิดความสนใจในศิลปะ
ประเภทนี้ ครูจำเรียงจึงขออนุญาตบิดามารดาเข้ารับการฝึกหัดละคร
โดยไม่ยอมศึกษาวิชาสามัญต่อไป
ครูจำเรียง พุธประดับ เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2459 ณ ตำบลท่าทราย
อำเภอกระซง จังหวัดเพชรบุรี บิดาชื่อนายเปี่ยม มารดาชื่อนางเจิม
จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนประจำ จังหวัดเพชรบุรี
เมื่อ พ.ศ. 2473 ขณะนั้นอายุเพียง 13 ขวบ ได้เห็นการฝึกหัดโขนหลวง
ละครหลวง ณ เรือนไทยในวังสวนกุหลาบ จนเกิดความสนใจในศิลปะ
ประเภทนี้ ครูจำเรียงจึงขออนุญาตบิดามารดาเข้ารับการฝึกหัดละคร
โดยไม่ยอมศึกษาวิชาสามัญต่อไป
อาจารย์จำเรียง พุธประดับ
อาจารย์จำเรียง พุธประดับ
ผลงานด้านการแสดง
ผลงานด้านการแสดง
แสดงเป็นนางนารายณ์ ในการแสดงโขนชุดนารายณ์ปราบนนทุก
แสดงเป็นพราหมณ์เกศสุริยงในละครนอกเรื่องสุวรรณหงส์
แสดงเป็นนางจันทร์ ในละครเรื่องพระร่วง
แสดงเป็นรจนา ในละครนอกเรื่องสังข์ทองตอนเลือกคู่
แสดงเป็นนางสีดา (เบญกายแปลง) ในโขนชุดนางลอย
แสดงเป็นนางพญาคำปิน ในละครเรื่องพญาผานอง เป็นต้น
ตอนพราหมณ์เล็ก พราหมณ์โต
แสดงเป็นนางนารายณ์ ในการแสดงโขนชุดนารายณ์ปราบนนทุก
แสดงเป็นพราหมณ์เกศสุริยงในละครนอกเรื่องสุวรรณหงส์
แสดงเป็นนางจันทร์ ในละครเรื่องพระร่วง
แสดงเป็นรจนา ในละครนอกเรื่องสังข์ทองตอนเลือกคู่
แสดงเป็นนางสีดา (เบญกายแปลง) ในโขนชุดนางลอย
แสดงเป็นนางพญาคำปิน ในละครเรื่องพญาผานอง เป็นต้น
ตอนพราหมณ์เล็ก พราหมณ์โต
ผลงานการแสดงของ อาจารย์จำเรียง พุธประดับ
ผลงานการแสดงของ อาจารย์จำเรียง พุธประดับ

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
charnwit55
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
Utai Sukviwatsirikul
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
Utai Sukviwatsirikul
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
Prachaya Sriswang
 
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
Khanawut Nitikul
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
siriporn pongvinyoo
 
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้นการใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้นgemini_17
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
Aimmary
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ผังงาน flowchart
ผังงาน flowchartผังงาน flowchart
ผังงาน flowchart
The'King NuZa
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์sirikase
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
Sakarin Habusaya
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
Pawit Chamruang
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
Krongdai Unhasuta
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 

What's hot (20)

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power pointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ power point
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
 
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้นการใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ผังงาน flowchart
ผังงาน flowchartผังงาน flowchart
ผังงาน flowchart
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 

Similar to ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf

เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
Panomporn Chinchana
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัยkutoyseta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
kalayatookta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
Panomporn Chinchana
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
Panomporn Chinchana
 

Similar to ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf (8)

เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
หลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะหลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะ
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf

  • 1. ประวัติของบุคคลสำคัญ ประวัติของบุคคลสำคัญ รายวิชา วิจิตรนาฏศิลป์ 1 (ม.1) รายวิชา วิจิตรนาฏศิลป์ 1 (ม.1) รหัสประจำวิชา ศ 21401 รหัสประจำวิชา ศ 21401 ครูผู้สอน นางสาวริณลว์ลดา พิริยุตะมา (ครูโฟล์ค) ครูผู้สอน นางสาวริณลว์ลดา พิริยุตะมา (ครูโฟล์ค)
  • 2. ความเป็นมา ของเรื่อง ประวัติของบุคคลสำคัญ ความเป็นมา ของเรื่อง ประวัติของบุคคลสำคัญ กระบวนการสืบทอดในสมัยโบราณ เป็นการถ่ายทอดจากครูตัวต่อตัว โดยวิธีการจำ ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร องค์ความรู้ทั้งหมดจะอยู่ในครู ศิษย์ที่จะได้รับการถ่ายทอดวิชานาฏศิลป์ไทยจะต้องปฏิบัติรับใช้ครู จนครูเห็นเห็นว่าศิษย์ผู้นี้มีความกตัญญู มีศรัทธาแน่วแน่ ที่จะรับการถ่ายทอดวิชาจริงๆ ครูจึงถ่ายทอดวิชาให้ สำหรับปรมาจารย์ที่มีบทบาท ในการสร้างสรรค์และสืบทอดนาฏศิลป์ไทยมีอยู่หลายท่านด้วยกัน กระบวนการสืบทอดในสมัยโบราณ เป็นการถ่ายทอดจากครูตัวต่อตัว โดยวิธีการจำ ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร องค์ความรู้ทั้งหมดจะอยู่ในครู ศิษย์ที่จะได้รับการถ่ายทอดวิชานาฏศิลป์ไทยจะต้องปฏิบัติรับใช้ครู จนครูเห็นเห็นว่าศิษย์ผู้นี้มีความกตัญญู มีศรัทธาแน่วแน่ ที่จะรับการถ่ายทอดวิชาจริงๆ ครูจึงถ่ายทอดวิชาให้ สำหรับปรมาจารย์ที่มีบทบาท ในการสร้างสรรค์และสืบทอดนาฏศิลป์ไทยมีอยู่หลายท่านด้วยกัน
  • 3. สยามศิลปิน ตอน อ.ส่องชาติ ชื่นศิริ สยามศิลปิน ตอน อ.ส่องชาติ ชื่นศิริ
  • 4. ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ.2528 เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2446 เป็นธิดาของนายเฮง และนางสุทธิ สุทธิสมบูรณ์ เป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทรา ฝึกหัดนาฏศิลป์ ตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ในวังสวนกุหลาบ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ.2528 เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2446 เป็นธิดาของนายเฮง และนางสุทธิ สุทธิสมบูรณ์ เป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทรา ฝึกหัดนาฏศิลป์ ตั้งแต่อายุ 8 ขวบ ในวังสวนกุหลาบ ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็นตัวอิเหนา นางดรสา พระพิราพ นางเมขลา ไชยเชษฐ์ พระไวย ไกรทอง มีฝีมือการรำเป็นเลิศ เชี่ยวชาญเพลงอาวุธทุกชนิด เช่น กระบี่ ทวน และกริช ท่านได้นำนาฏศิลป์นานาชาติมาพัฒนาเป็นนาฏศิลป์ไทย เช่น เป็นผู้ปรับปรุงวางรากฐานทางด้านนาฏศิลป์ให้แก่กรมศิลปากรหลายแขนง นับตั้งแต่การประพันธ์บทโขน ละคร ประดิษฐ์ท่ารำ ทั้งพระ นาง ยักษ์ ลิง ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็นตัวอิเหนา นางดรสา พระพิราพ นางเมขลา ไชยเชษฐ์ พระไวย ไกรทอง มีฝีมือการรำเป็นเลิศ เชี่ยวชาญเพลงอาวุธทุกชนิด เช่น กระบี่ ทวน และกริช ท่านได้นำนาฏศิลป์นานาชาติมาพัฒนาเป็นนาฏศิลป์ไทย เช่น เป็นผู้ปรับปรุงวางรากฐานทางด้านนาฏศิลป์ให้แก่กรมศิลปากรหลายแขนง นับตั้งแต่การประพันธ์บทโขน ละคร ประดิษฐ์ท่ารำ ทั้งพระ นาง ยักษ์ ลิง
  • 5. ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง 1. ประเภทรำ ได้แก่ อิเหนาฉายกริช มโนราห์ตอนบูชายัญ และได้ประดิษฐ์ท่ารำร่วมกับครูลมุล ยมะคุปต์ ได้แก่ รำพม่าไทยอธิษบาน รำลาวไทยปณิธาน ลาวกระทบไม้ สีนวลออกอาหนู โคมบัว ซัดชาตรี รำเถิดเทิง และฉุยฉายฮเนา 2. ประเภทระบำ ได้แก่ ระบำวีระชัย ระบำทวน ระบำกินรีร่อน ระบำนางไม้ ระบำไกรลาศสำเริง ระบำนพรัตน์ ระบำนางใน ระบำเทพบันเทิง ระบำนกเขามะราปี ระบำม้า ระบำหงส์เหิร ระบำโบราณคดี ระบำเงาะ ระบำนางอาย ชุดสุโขทัย ระบำจีนไทยไมตรี ระบำกวาง ระบำปลา ระบำแขก ระบำครุฑ และระบำมยุราภิรมณ์ 3. ประเภทฟ้อน เช่น ฟ้อนมาลัย ฟ้อนลาวดวงเดือน ฟ้อนจัทราพาฝัน เป็นต้น 1. ประเภทรำ ได้แก่ อิเหนาฉายกริช มโนราห์ตอนบูชายัญ และได้ประดิษฐ์ท่ารำร่วมกับครูลมุล ยมะคุปต์ ได้แก่ รำพม่าไทยอธิษบาน รำลาวไทยปณิธาน ลาวกระทบไม้ สีนวลออกอาหนู โคมบัว ซัดชาตรี รำเถิดเทิง และฉุยฉายฮเนา 2. ประเภทระบำ ได้แก่ ระบำวีระชัย ระบำทวน ระบำกินรีร่อน ระบำนางไม้ ระบำไกรลาศสำเริง ระบำนพรัตน์ ระบำนางใน ระบำเทพบันเทิง ระบำนกเขามะราปี ระบำม้า ระบำหงส์เหิร ระบำโบราณคดี ระบำเงาะ ระบำนางอาย ชุดสุโขทัย ระบำจีนไทยไมตรี ระบำกวาง ระบำปลา ระบำแขก ระบำครุฑ และระบำมยุราภิรมณ์ 3. ประเภทฟ้อน เช่น ฟ้อนมาลัย ฟ้อนลาวดวงเดือน ฟ้อนจัทราพาฝัน เป็นต้น
  • 8. อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ ครูละมุล ยมะคุปต์ เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2448 เป็นชาวจังหวัดน่าน เป็นธิดาของร้อยโทนายแพทย์จีน อัญชัญภาติ กับนางคำมอย บิดาพาไป ถวายตัวเป็นนางละคร ณ วังสวนกุหลาบ เริ่มฝึกหหัดนาฏศิลป์ ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ และย้ายไปศึกษาด้านละครใน ณ วังเพชรบูรณ์ ครูละมุล ยมะคุปต์ เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2448 เป็นชาวจังหวัดน่าน เป็นธิดาของร้อยโทนายแพทย์จีน อัญชัญภาติ กับนางคำมอย บิดาพาไป ถวายตัวเป็นนางละคร ณ วังสวนกุหลาบ เริ่มฝึกหหัดนาฏศิลป์ ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ และย้ายไปศึกษาด้านละครใน ณ วังเพชรบูรณ์ ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็นตัวเอกเกือบทุกเรื่อง เพราะมีฝีมือ เป็นเยี่ยม บทบาทที่ท่านเคยแสดง เช่น พระสังข์ เขยเล็ก เจ้าเงาะ ฮเนา ซมพลา พระวิษณุกรรม พระอภัยมณี ศรีสุวรรณ สุดสาคร อุศมเรน อิเหนา สียะตรา วิหยาสะกำ อุณรุฑ พระราม พระลอ พระมงกุฎ อินทรชิด พระนารายณ์ พระคเณศ สมิงพระราม พระไวย พลายบัว พระพันวษา เป็นต้น ผลงานด้านการแสดง ท่านแสดงเป็นตัวเอกเกือบทุกเรื่อง เพราะมีฝีมือ เป็นเยี่ยม บทบาทที่ท่านเคยแสดง เช่น พระสังข์ เขยเล็ก เจ้าเงาะ ฮเนา ซมพลา พระวิษณุกรรม พระอภัยมณี ศรีสุวรรณ สุดสาคร อุศมเรน อิเหนา สียะตรา วิหยาสะกำ อุณรุฑ พระราม พระลอ พระมงกุฎ อินทรชิด พระนารายณ์ พระคเณศ สมิงพระราม พระไวย พลายบัว พระพันวษา เป็นต้น
  • 9. อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ ที่ประดิษฐ์ให้กรมศิลปากร ในฐานะผู้เชี่ยวชาญ เช่น รำแม่บทใหญ่ รำซัดชาตรี รำวงมาตรฐาน รำเถิดเทิง รำกิ่งไม้เงินทอง ระบำกลอง ระบำฉิ่ง ระบำนกยูง ระบำกฤดาภิหาร ระบำชุมนุมเผ่าไทย ระบำอธิษฐาน ระบำในน้ำมีปลา ระบำระฆัง ระบำนกสามหมู่ ระบำเชิญพระขวัญ ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ฟ้อนแพน ฟ้อนแคน เซิ้งสราญ เซิ้งสัมพันธ์ เป็นต้น ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ ที่ประดิษฐ์ให้กรมศิลปากร ในฐานะผู้เชี่ยวชาญ เช่น รำแม่บทใหญ่ รำซัดชาตรี รำวงมาตรฐาน รำเถิดเทิง รำกิ่งไม้เงินทอง ระบำกลอง ระบำฉิ่ง ระบำนกยูง ระบำกฤดาภิหาร ระบำชุมนุมเผ่าไทย ระบำอธิษฐาน ระบำในน้ำมีปลา ระบำระฆัง ระบำนกสามหมู่ ระบำเชิญพระขวัญ ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ฟ้อนแพน ฟ้อนแคน เซิ้งสราญ เซิ้งสัมพันธ์ เป็นต้น
  • 12. อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ ในการคิดค้นท่ารำนั้น บางท่ารำครูลมุลสามารถนำเอาท่ารำของนาฏศิลป์เพื่อนบ้าน มาดัดแปลงประดิษฐ์ขึ้นใหม่ได้อย่างแนบเนียนกลมกลืน ซึ่งเป็นแนวคิดและกลวิธีที่ครูนาฏศิลป์ในรุ่นต่อๆมา ได้นำมาใช้เป็นแบบอย่าง นอกจากนี้ ท่านยังเป็นผู้ร่างหลักสูตรให้แก่วิทยาลัยนาฏศิลป์ ซึ่งนับว่าท่านเป็นครูนาฏศิลป์คนแรกในการวางหลักสูตร การเรียนการสอนนาฏศิลป์ไทย ทำให้การเรียนนาฏศิลป์มีระบบ มีขั้นตอนในการฝึกหัด นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าที่ท่านฝากไว้แก่แผ่นดิน ในการคิดค้นท่ารำนั้น บางท่ารำครูลมุลสามารถนำเอาท่ารำของนาฏศิลป์เพื่อนบ้าน มาดัดแปลงประดิษฐ์ขึ้นใหม่ได้อย่างแนบเนียนกลมกลืน ซึ่งเป็นแนวคิดและกลวิธีที่ครูนาฏศิลป์ในรุ่นต่อๆมา ได้นำมาใช้เป็นแบบอย่าง นอกจากนี้ ท่านยังเป็นผู้ร่างหลักสูตรให้แก่วิทยาลัยนาฏศิลป์ ซึ่งนับว่าท่านเป็นครูนาฏศิลป์คนแรกในการวางหลักสูตร การเรียนการสอนนาฏศิลป์ไทย ทำให้การเรียนนาฏศิลป์มีระบบ มีขั้นตอนในการฝึกหัด นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าที่ท่านฝากไว้แก่แผ่นดิน
  • 13. อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช ครูเฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ.2530 เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2477 ท่านเข้ารับการฝึกหัดนาฏศิลป์ ที่วังสวนกุหลาบตั้งแต่อายุ 7 ขวบ แล้วย้ายไปศึกษา ด้านการแสดงละครดึกดำบรรพ์ที่วังเพชบูรณ์ ครูเฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ.2530 เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2477 ท่านเข้ารับการฝึกหัดนาฏศิลป์ ที่วังสวนกุหลาบตั้งแต่อายุ 7 ขวบ แล้วย้ายไปศึกษา ด้านการแสดงละครดึกดำบรรพ์ที่วังเพชบูรณ์ ผลงานด้านการแสดง ท่านมีฝีมือและความสามารถในการแสดงเป็นตัวเอก เช่น นางสีดา นางสุวรรณมาลี นางเบญกาย นางมณโฑ มะเดหวี ประไหมสุหรี นางมณฑา เป็นต้น นอกจากนี้ ท่านยังได้รับการถ่ายทอดการแสดงชุดศุภลักษณ์อุ้มสม รำกริชดรสา และรำฝรั่งคู่ อีกด้วย ผลงานด้านการแสดง ท่านมีฝีมือและความสามารถในการแสดงเป็นตัวเอก เช่น นางสีดา นางสุวรรณมาลี นางเบญกาย นางมณโฑ มะเดหวี ประไหมสุหรี นางมณฑา เป็นต้น นอกจากนี้ ท่านยังได้รับการถ่ายทอดการแสดงชุดศุภลักษณ์อุ้มสม รำกริชดรสา และรำฝรั่งคู่ อีกด้วย
  • 14. อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช อาจารย์เฉลย ศุขะวนิช ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง ผลงานด้านประดิษฐ์ชุดการแสดง ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ เช่น รำพัดรัตนโกสินทร์ ฉุยฉายวันทองแปลง ฉุยฉายศูรปนขา ฉุยฉายยอพระกลิ่น ระบำศรีชัยสิงห์ ระบำกาญจนาภิเษก ระบำเทพอัปสรพนมรุ้ง ระบำขอม ระบำกินนร ระบำมิตรไมตรีซีเกมส์ ฟ้อนลาวสมเด็จ เซิ้งสราญ เป็นต้น นอกจากนี้ ท่านยังประดิษฐ์ท่ารำให้ตัวละครเอกของศิลปินกรมศิลปากร และถ่ายทอดท่ารำที่เป็นแบบแผนไว้ในหลักวิชานาฏศิลป์ นับว่าเป็นปรมาจารย์ อีกท่านหนึ่งที่ช่วยสืบทอดวิชานาฏศิลป์ไทยให้คงเอกลักษณ์อยู่คู่แผ่นดินสืบต่อไป ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ เช่น รำพัดรัตนโกสินทร์ ฉุยฉายวันทองแปลง ฉุยฉายศูรปนขา ฉุยฉายยอพระกลิ่น ระบำศรีชัยสิงห์ ระบำกาญจนาภิเษก ระบำเทพอัปสรพนมรุ้ง ระบำขอม ระบำกินนร ระบำมิตรไมตรีซีเกมส์ ฟ้อนลาวสมเด็จ เซิ้งสราญ เป็นต้น นอกจากนี้ ท่านยังประดิษฐ์ท่ารำให้ตัวละครเอกของศิลปินกรมศิลปากร และถ่ายทอดท่ารำที่เป็นแบบแผนไว้ในหลักวิชานาฏศิลป์ นับว่าเป็นปรมาจารย์ อีกท่านหนึ่งที่ช่วยสืบทอดวิชานาฏศิลป์ไทยให้คงเอกลักษณ์อยู่คู่แผ่นดินสืบต่อไป
  • 17. อาจารย์จำเรียง พุธประดับ อาจารย์จำเรียง พุธประดับ ครูจำเรียง พุธประดับ เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2459 ณ ตำบลท่าทราย อำเภอกระซง จังหวัดเพชรบุรี บิดาชื่อนายเปี่ยม มารดาชื่อนางเจิม จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนประจำ จังหวัดเพชรบุรี เมื่อ พ.ศ. 2473 ขณะนั้นอายุเพียง 13 ขวบ ได้เห็นการฝึกหัดโขนหลวง ละครหลวง ณ เรือนไทยในวังสวนกุหลาบ จนเกิดความสนใจในศิลปะ ประเภทนี้ ครูจำเรียงจึงขออนุญาตบิดามารดาเข้ารับการฝึกหัดละคร โดยไม่ยอมศึกษาวิชาสามัญต่อไป ครูจำเรียง พุธประดับ เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2459 ณ ตำบลท่าทราย อำเภอกระซง จังหวัดเพชรบุรี บิดาชื่อนายเปี่ยม มารดาชื่อนางเจิม จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนประจำ จังหวัดเพชรบุรี เมื่อ พ.ศ. 2473 ขณะนั้นอายุเพียง 13 ขวบ ได้เห็นการฝึกหัดโขนหลวง ละครหลวง ณ เรือนไทยในวังสวนกุหลาบ จนเกิดความสนใจในศิลปะ ประเภทนี้ ครูจำเรียงจึงขออนุญาตบิดามารดาเข้ารับการฝึกหัดละคร โดยไม่ยอมศึกษาวิชาสามัญต่อไป
  • 18. อาจารย์จำเรียง พุธประดับ อาจารย์จำเรียง พุธประดับ ผลงานด้านการแสดง ผลงานด้านการแสดง แสดงเป็นนางนารายณ์ ในการแสดงโขนชุดนารายณ์ปราบนนทุก แสดงเป็นพราหมณ์เกศสุริยงในละครนอกเรื่องสุวรรณหงส์ แสดงเป็นนางจันทร์ ในละครเรื่องพระร่วง แสดงเป็นรจนา ในละครนอกเรื่องสังข์ทองตอนเลือกคู่ แสดงเป็นนางสีดา (เบญกายแปลง) ในโขนชุดนางลอย แสดงเป็นนางพญาคำปิน ในละครเรื่องพญาผานอง เป็นต้น ตอนพราหมณ์เล็ก พราหมณ์โต แสดงเป็นนางนารายณ์ ในการแสดงโขนชุดนารายณ์ปราบนนทุก แสดงเป็นพราหมณ์เกศสุริยงในละครนอกเรื่องสุวรรณหงส์ แสดงเป็นนางจันทร์ ในละครเรื่องพระร่วง แสดงเป็นรจนา ในละครนอกเรื่องสังข์ทองตอนเลือกคู่ แสดงเป็นนางสีดา (เบญกายแปลง) ในโขนชุดนางลอย แสดงเป็นนางพญาคำปิน ในละครเรื่องพญาผานอง เป็นต้น ตอนพราหมณ์เล็ก พราหมณ์โต