SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
บนเวทีเสวนาเรื่องการระดมความคิดยุทธศาสตร์การวิจัยราย
ประเด็นด้านการขนส่งระบบราง : "ความพร้อมในการพัฒนาระบบรางของ
ไทย" ซึ่งจัดโดยสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) วิทยากรซึ่งเป็น
คนรุ่นใหม่ อายุน้อยได้เชิญให้ผู้เขียนพูด พร้อมทั้งกล่าวเป็นเชิงแนะนาว่าไม่
ต้องพูดถึงประวัติศาสตร์ยาวนัก เพราะมีเวลาจากัด
แทนที่จะพูดเรื่องยุทธศาสตร์การวิจัย ผู้เขียนจึงให้มุมมองว่า
ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องสาคัญเพราะการกระทาที่เกิดขึ้นแล้วในอดีตจะส่งผล
มาที่ปัจจุบัน ในทานองเดียวกัน การกระทาในปัจจุบันก็คือสิ่งที่จะเกิดแก่
อนุชนคนรุ่นหลังในอนาคต
ดังนั้น หากเราพอใจและมีความสุขกับสภาพในปัจจุบัน ก็ต้อง
เข้าใจว่านี่คือผลของสิ่งดีงามที่บรรพบุรุษทาไว้ในอดีต ตรงกันข้าม หากเรา
ไม่มีความสุขกับสภาพในปัจจุบัน ก็ต้องเข้าใจว่านี่ก็คือสิ่งที่ไม่ดีไม่งามที่
บรรพบุรุษทาไว้ในอดีตเช่นเดียวกัน
ประเทศนี้มีรถไฟซึ่งส่งผ่านมาหลายช่วงอายุคนจนมาถึงคนรุ่นเรา
เป็นเวลากว่า 118 ปี จะดีหรือไม่ดี เราพอใจหรือไม่พอใจก็ดี เราสามารถ
รับรู้ได้ คาถามคือเราจะส่งผ่านรถไฟที่มีรูปร่างหน้าตาอย่างไรไปสู่คนรุ่นหลัง
ที่จะมารับช่วงสืบสานต่อไป
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 141414 ประจำเดือน กรกฎำคม 255ประจำเดือน กรกฎำคม 255ประจำเดือน กรกฎำคม 255888
โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ
สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1
อนาคตที่กาหนดได้ด้วยการกระทาในวันนี้
Manage the future from present
บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
กองบรรณาธิการ
ควำมแตกต่ำงของอดีต ปัจจุบันและอนำคต เป็นเพียงมำยำคติ
ที่ฝังลึกในจิตที่ยังเวียนว่ำยอยู่ (ในวัฏสงสำร) เท่ำนั้น
(อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์)
เรารับพันธุกรรม (DNA) ที่ส่งผ่านมาจากบรรพบุรุษของเรา แล้ว
เราก็ส่งมันต่อไปสู่คนรุ่นต่อไป นอกจากสิ่งนี้แล้ว เราก็ยังส่งผ่านมรดกที่เขา
จะใช้ดารงชีวิตไปด้วย เรามีความเป็นชาติซึ่งพร้อมบริบูรณ์ด้วยทรัพยากร
และศิลปวัฒนธรรมก็ด้วยบรรพบุรุษของเราที่ลุกขึ้นกอบกู้ เอาเลือดเนื้อเข้า
แลก เราจึงมีประเทศเป็นของเราเอง มีภาษาเป็นของเราเอง มีสิทธิจะถือ
ครองบัตรประชาชนซึ่งเป็นใบเบิกทางที่จะเสพสุข(และทุกข์)บนผืนแผ่นดิน
ที่เรามีร่วมกัน
บางห้วงเวลาของความคิดคานึง เราอาจลืมสิ่งนี้ไปบ้าง เราอาจ
ห่วงตัวเอง ห่วงธุรกิจ ห่วงสิ่งที่เราจะได้รับคืนมาจากการลงมือทา แต่ก็ควร
มีบางเวลาที่ถามตัวเองว่า "แล้วเราจะส่งต่อประเทศไทยที่มีหน้าตาเป็น
อย่างไรให้กับอนุชนคนรุ่นหลังของเรา"
บางทีนี่ก็อาจจะใช่วิสัยทัศน์ในความคิดเชิงยุทธศาสตร์ด้านการ
วิจัยเรื่องระบบรางด้วย
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
7 ส.ค. 58 เวลา 13.00 – 17.00 น. ขอเชิญร่วมงานสัมมนา
วิชาการ Smart Growth Thailand Summit 2015 เรื่องการ
สนับสนุนทางการเงินและสิทธิประโยชน์สาหรับหน่วยงาน
และผู้ประกอบการขนส่งมวลชนและผู้พัฒนาพื้นที่รอบ
สถานีขนส่งมวลชน ณ โรงแรมริชมอนด์ สไตล์ลิส คอน
เวนชั่น รับผู้ร่วมสัมมนา 120 ท่านเท่านั้น ลงทะเบียนได้ที่
E-mail : asiamuseums.kamonrat@gmail.com โ ท ร
086-364-6742 โดยไม่เสียค่าลงทะเบียน หรือดูรายละเอียด
ที่ www.facebook.com/SmartGrowthThailand
16 – 20 ส.ค. 58 เวลา 9.00 – 20.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมการ
ประชุม “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558” (Thailand Research
Expo 2015) จัดโดยสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ณ บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท
เซ็นทรัลเวิลด์ และในวันที่ 20 ส.ค. 58 เวลา 9.00 - 12.00
น. ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมในหัวข้อ "ระบบรางของไทย
ในทศวรรษหน้า" ดูรายละเอียดเพิ่มเติม และลงทะเบียนได้
ที่ www.researchexpo-register.com สอบถามที่ Call
Center : 0-2539-3128
รถไฟฟ้ าเชียงใหม่ ฝันที่ใกล้เป็ นจริง ตอนที่ 2
บทความโดย นายชัยยศ ปีติเจตน์ (วศร.1)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
โครงการศึกษาวิจัยความเหมาะสม และออกแบบรายละเอียดระบบขนส่งมวลชน
เชียงใหม่ ลาพูนและลาปาง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการศึกษาจาก สานักงานพัฒนา
พิงคนคร (องค์การมหาชน) ได้ดาเนินการนาเสนอผลการศึกษาและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วน
ได้เสียต่อโครงการครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2558 ที่ผ่านมา โดยได้รับความสนใจจากผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในท้องถิ่น ให้
ความร่วมมือในการเข้าให้ความคิดเห็นแก่ทีมที่ปรึกษา อย่างล้นหลาม
จากการดาเนินโครงการพบว่า “ระบบขนส่งทางราง” มี
ความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่งสาหรับเมืองเชียงใหม่ ด้วยองค์ประกอบ
หลายๆด้าน โดยระบบรถรางไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า “TRAM” สามารถ
ช่วยแก้ไขปัญหาทางด้านการจราจรได้อย่างดี โดยในระยะแรก
แนวเส้นทางเริ่มต้นจากศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ
สิ้นสุดปลายทางที่อุทยานหลวงราชพฤกษ์
ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ :
เป็นที่ทราบกันแล้วว่าจังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพทางด้านเศรษฐกิจ การค้า
และการบริการที่น่าสนใจของประเทศ ซึ่งองค์ประกอบที่หลากหลายของเชียงใหม่ สามารถดึงดูด
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ รวมถึงผู้คนทั่วไปให้หลั่งไหลเดินทางมาสู่เชียงใหม่อย่าง
ต่อเนื่อง เห็นได้จากข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวที่มีอัตราเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ซึ่งความสนใจของผู้คน
จานวนมากที่หลั่งไหลเข้าสู่จังหวัด ส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตในปัจจุบันของชาวเชียงใหม่มาก
ขึ้นตามลาดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาทางด้านการจราจร จากข้อมูลการจดทะเบียนจานวนรถ
เพื่อใช้ในการเดินทางของชาวเชียงใหม่ประเภทต่าง ๆ ที่เพิ่มจานวนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิด
ปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด และมลพิษที่เกิดขึ้นจากรถยนต์ ดังนั้น ระบบขนส่งมวลชนที่
เหมาะสมกับพื้นที่ จึงเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่ควรพิจารณาอย่างเร่งด่วน เพื่อนาความเจริญ ความ
สะดวกสบายและสิ่งที่ดีมาสู่วิถีชีวิตชาวเชียงใหม่เหมือนในอดีตที่ผ่านมา
Page | 2
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
โครงกำรกำรศึกษำแนวทำงกำรพัฒนำระบบโลจิสติกส์ทำงรำง
15 - 25 มิ.ย. 58 ทีมนักวิจัยแผนงานโครงการการศึกษาแนว
ทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ทางรางเพื่อเป็นศูนย์กลางการ
พัฒนาชุมชน ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากสานักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย (สกว.) ได้เดินทางไปศึกษาข้อมูลระบบขนส่งทาง
ราง ณ ประเทศเยอรมนีและสวิตเซอร์แลนด์ โดยคณะ
นักวิจัยเครือข่ายโครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรม
ระบบขนส่งทางราง (วศร.) จาก มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ
นครเหนือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และ สวทช. นาโดย ผศ.ดร.
วเรศรา วีรวัฒน์ ได้เดินทางไปศึกษาข้อมูลทั้งในส่วนของการผลิต การวิจัยและพัฒนา การ
ให้บริการเดินรถและเชื่อมต่อระบบขนส่ง และการศึกษาทางด้านระบบขนส่งทางรางในหน่วยงาน
ต่างๆของทั้งสองประเทศ
ประกอบด้วย มหาวิทยาลัย TU Darm-
strudt, TU Braunschweig, สถาบัน
German Aerospace Center Insti-
tute of Transportation Systems-
DLR, โรงงานผลิตระบบ Signaling ของ
Siemens โรงงานประกอบรถไฟ
Alstom บริษัทบริการจัดการระบบค่า
โดยสาร The Regional Transportation Authority for Frankfurt
Rhine-Main – RMV, บริษัทพัฒนา simulator ของ PTV group และ
Open track, ห้องควบคุมการเดินรถของ BLS, ระบบขนส่งในเมือง
Bern, รถไฟไต่เขา (Mountain Railway) แบบ Funicular Railway,
รถไฟเมโทรแบบล้อยางที่เมือง Lausanne, รถไฟท่องเที่ยวรถสาย
Golden pass ที่มีรางขนาด 1 เมตร ระหว่างเมือง Montreux –
Spiez และห้องปฏิบัติการ Simulator ของ Dr.Suter สาหรับเป็น
ข้อมูลประกอบโครงการวิจัย การพัฒนาห้องปฏิบัติการระบบราง และ
การพัฒนาระบบรางของประเทศไทยในด้านอื่นๆ
แนวเส้นทำงระยะที่ 1
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
งำนเสวนำ Monorail and Heavy rail
24 มิ.ย. 58 เวลา 13.00 – 16.30 น. งานเสวนา Monorail
and Heavy rail ความเหมาะสมระบบขนส่งมวลชนใน
กรุงเทพมหานคร เสวนาโดย พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รมว.
กระทรวงคมนาคม ผู้แทนสวทช. สนข. และ รฟม. จัดโดย
คณะกรรมการนโยบายระบบราง วสท. ณ ห้องซาลอน เอ ชั้น 2 โรงแรมสวิสโซเทล เลอ
คองคอร์ด เพื่อเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้เรื่องระบบขนส่งทางราง
กำรประชุมคณะอนุกรรมกำรเตรียมกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำง
แห่งชำติ ครั้งที่ 1/2558
24 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 – 12.00 น. การประชุมคณะอนุกรรม
การเตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทาง
รางแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2558 ณ ห้องประชุม 301 ชั้น 3 ตึก
บัญชาการ 1 ทาเนียบรัฐบาล เพื่อหารือการเตรียมความพร้อม
ของประเทศไทยในการพัฒนาระบบราง และการถ่ายทอด
เทคโนโลยีสู่อุตสาหกรรมไทย
เยี่ยมชมศูนย์พัฒนำและทดสอบระบบเบรก บริษัท คอมแพ็คอินเตอร์เนชั่นแนล(1994)
23 มิ.ย. 58 โครงการ 1 เดือน 1 กิจกรรม จัดโดยโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ
ขนส่งทางรางแห่งชาติ เข้าเยี่ยมชมศูนย์พัฒนาและทดสอบ
ระบบเบรกของ บริษัท คอมแพ็คอินเตอร์เนชั่นแนล(1994)
จากัด จ.เพชรบุรี โดยได้รับเกียรติจากคุณมีชัย ศรีวิบูลย์ ผู้ช่วย
กรรมการผู้จัดการสายงานวิจัยและพัฒนา ให้การต้อนรับและ
เป็นผู้บรรยายพาเยี่ยมชมโรงงาน
ประชุมระดมควำมคิด (ร่ำง) ยุทธศำสตร์กำรวิจัยรำยประเด็นด้ำนกำรขนส่งระบบรำง
19 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 - 15.00 น. การประชุมระดมความคิด
(ร่าง) ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านการขนส่งระบบราง
โดย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ณ ห้องไมดาส
1 โรงแรม ไมด้า ซิตี้ รีสอร์ท แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ เพื่อระดม
ความคิดเห็นและแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะจาก
หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อการปรับปรุงแก้ไขร่าง
ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านการขนส่งระบบรางให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และ
นาไปใช้ในการกาหนดกรอบการวิจัยสาหรับการจัดสรรงบประมาณในการวิจัยต่อไป
โครงกำรอบรมผู้สอนช่ำงเทคนิคด้ำนระบบขนส่งทำงรำง
27 - 29 มิ.ย. 58 โครงการอบรม
ผู้สอนรายวิชากลางในโครงการ
พัฒนาหลักสูตรและนาร่อง การ
สร้างกาลังคนระดับช่างเทคนิคด้าน
ระบบขนส่งทางรางเข้าสู่ตลาดแรงงาน ประจาปี 2558 ณ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต
ขอนแก่น
นิทรรศกำร 99 ปีสถำนีรถไฟกรุงเทพ
25 – 27 มิ.ย. 58 นิทรรศการ 99 ปี
สถานีรถไฟกรุงเทพ ณ โถง
กลางสถานีรถไฟกรุงเทพ
(หัวลาโพง) โดยในงานมีการ
จัดแสดงภาพถ่าย ประวัติ ของ
สถานีรถไฟกรุงเทพ รวมถึงโมเดลรถจักร ล้อเลื่อนที่ใช้ในกิจการ
เครื่องใช้สมัยกรมรถไฟหลวง
Page | 3
บรรยำยพิเศษ Urban Transportation Problems, Systems and Solutions
24 มิ.ย. 58 เวลา 13.00 – 17.00 น. การบรรยายพิเศษ
“Urban Transportation Problems, Systems and
Solutions” จัดโดย คณะกรรมการนโยบายระบบราง
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
ร่วมกับ Mitsubishi Heavy Industries,Ltd. (MHI) ณ ห้อง 1
ชั้น 6 อาคาร วสท. บรรยายโดย Mr.Masahisa Masukawa ,Managing Expert for
Automated Guideway Transit จาก MHI
งำน Asia Rail Summit
25 - 26 มิ.ย. 58 งาน Asia Rail Summit ณ ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทารา
แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดการ
ประชุมแ ละ สัมมนาร่วมกับ
ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานและบริษัท
ด้านระบบขนส่งทางรางมากกว่า 20
ประเทศ
กำรประชุมวิชำกำร Hybrid Canal-Rail Connectivity
26 มิ.ย. 58 เวลา 8.30 – 13.00 น.
การประชุมวิชาการแนวทางการ
พัฒนาโครงข่ายต่อเชื่อมการ
คมนาคมขนส่งทางน้าและราง
(Hybrid Canal-Rail Connectivi-
ty: Linking Bangkok’s Canals
Networks to Mass Rapid Transit Lines) จัดโดย คณะนักวิจัย
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โดยการสนับสนุนจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ประเทศไทย ณ ห้องบอล
รูม 2 โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ ซึ่งการศึกษาวิจัยนี้มีการ
เลือกสถานที่ 3 แห่ง ประกอบด้วย ถ.เพชรบุรี ถ.รามคาแหง และคลอง
ภาษีเจริญ เพื่อดาเนินการพัฒนาท่าเรือเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนให้
การเดินทางของประชาชนนั้นมีทางเลือกที่มากขึ้น
ที่ปรึกษำ : ดร.ชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล
กองบรรณำธิกำร : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล
ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ
ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech
กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
ประชุมชี้แจงกรอบกำรวิจัย ประจำปีงบประมำณ 2559
6 ก.ค. 58 การประชุมชี้แจงกรอบการวิจัย ประจาปี
งบประมาณ 2559 เรื่อง "ผลงานวิจัยมุ่งเป้าช่วยแก้ปัญหา
ประเทศได้อย่างไร" ณ ห้องแกรนด์บอลรูม ชั้น 4 โรงแรม มิรา
เคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น โดยสานักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติ (วช.) ร่วมกับเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) เพื่อประชาสัมพันธ์
เกี่ยวกับการรับข้อเสนอการ วิจัย รวมถึงแนะนาขั้นตอน วิธีการสนับสนุนทุนวิจัยปีงบประมาณ
2559 จานวน 2 กลุ่มเรื่อง คือ 1) มันสาปะหลัง 2) การคมนาคมขนส่งระบบราง
แถลงข่ำวเปิดตัว Exporail South East Asia 2016
9 ก.ค. 58 งานแถลงข่าวการจัดงาน Exporail South East
Asia 2016 งานแสดงสินค้านานาชาติและเทคโนโลยีด้านระบบ
ขนส่งทางรางชั้นนาของโลก ณ ห้องแอสเตอร์ 3 โรงแรมเดอะ
เซนต์ รีจิส กรุงเทพฯ จัดโดย บริษัท แม็ค บรูคส์ เอ็กซิบิชั่นส์
เอเชีย จากัด ซึ่งจะขึ้นระหว่างวันที่ 8 – 10 มิ.ย. 59 ณ ศูนย์
นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ
นิทรรศกำร Siemens Mobility Day
30 มิ.ย. 58 งานสัมมนาและนิทรรศการงาน Siemens Mobili-
ty Day ณ ห้องแอทธินี คริสตัล ฮอลล์ โรงแรม พลาซ่าแอทธินี
กรุงเทพ เอ รอยัล เมอริเดียน จัดโดย บริษัท ซีเมนส์ จากัด
ประเทศไทย เพื่อย้าถึงความพร้อมในการสนับสนุนแผนการ
พัฒนาและขยายเครือข่ายระบบขนส่งมวลชนของรัฐบาล
นักศึกษำส่งมอบผลงำนวิจัยเครื่องทดสอบหน้ำสัมผัสรีเลย์สำหรับรถไฟฟ้ำ
30 มิ.ย. 58 ดร.ธรรมวฤทธิ์ สิงหวิลัย และนักศึกษาภาควิชา
วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เข้าพบผู้แทนแผนก
ระบบอาณัติสัญญาณ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด
(มหาชน) หรือ BTS เพื่อส่งมอบเครื่องทดสอบหน้าสัมผัสรีเลย์
สาหรับรถไฟฟ้า พร้อมทั้งสาธิตการใช้งาน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ
ในด้านการซ่อมบารุงระบบควบคุมรถอัตโนมัติ (Automatic
Train Control: ATC) ของระบบรถไฟฟ้า BTS ซึ่งผลงานวิจัยนี้ได้ดาเนินการพัฒนาภายใต้
“โครงการส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมระบบขนส่งทางราง (สวทช. – มหิดล)” รุ่นที่ 2
กำรประชุมคณะอนุกรรมกำรกรอบแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี
10 ก.ค. 58 เวลา 13.00 น. การ
ประชุมคณะอนุกรรมการกรอบแผน
อุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 3
(พ.ศ. 2560-2575) และแผนพัฒนา
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-
2565) ครั้งที่ 6/2558 ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์วิจิตร ศรี
สอ้าน ชั้น 5 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คุณนคร จันทศร
ได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่อง “ทิศทางการพัฒนาระบบ
คมนาคมของประเทศ : ผลกระทบต่อการวางแผนอุดมศึกษา”
Page | 4
วศร.5 ร่วมระดมความคิดเพื่อเสนอ
แนวทาง “การจัดทาแผนที่นาทางการ
พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางไทย
อย่างยั่งยืน” สาหรับใช้ในการนาเสนอ
ต่อที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบ
นวัตกรรมของประเทศ (คพน.)
วศร.2 รับมอบงานวิจัย Wheel set
simulation จากคณะนักวิจัย คณะครุ
ศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรี ในวันพุธที่ 1 กรกฎาคม 2558
ประชุมโครงกำรพัฒนำหลักสูตรด้ำนระบบขนส่งทำงรำง
8 ก.ค. 58 ประชุมคณะอานวยการโครงการพัฒนาหลักสูตร
และนาร่องการสร้างกาลังคนระดับช่างเทคนิคด้านระบบขนส่ง
ทางรางเข้าสู่ตลาดแรงงาน ครั้งที่ 2/2558 หอเกียรติยศ ชั้น 8
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
กำรศึกษำและจัดทำดัชนีควำมเหมำะสมในกำรเดินเท้ำรอบสถำนี
รถไฟฟ้ำ ครั้งที่ 2
14 ก.ค. 58 เวลา 8.30 – 12.00 น.
งานสัมมนาโครงการ “การศึกษา
และจัดทาดัชนีความเหมาะสมใน
การเดินเท้ารอบสถานีรถไฟฟ้า”
ครั้งที่ 2 ภายใต้แผนงานโครงการ
“การศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ทางรางเพื่อเป็น
ศูนย์กลางการพัฒนาชุมชน” โดย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ณ ห้องประชุมมิ่งเมือง โรงแรม เดอะ ทวินทาวเวอร์ เพื่อเผยแพร่ผล
การศึกษาการสารวจข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง

More Related Content

What's hot

การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ1
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ1การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ1
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ1Prachyanun Nilsook
 
Schedule The First NIDA Business Analytics and Data Sciences Contest Conferen...
Schedule The First NIDA Business Analytics and Data Sciences Contest Conferen...Schedule The First NIDA Business Analytics and Data Sciences Contest Conferen...
Schedule The First NIDA Business Analytics and Data Sciences Contest Conferen...BAINIDA
 
ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1
ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1
ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1Prachyanun Nilsook
 
แนวโน้มการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวโน้มการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวโน้มการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวโน้มการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศPrachyanun Nilsook
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนเทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนPrachyanun Nilsook
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา02
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา02สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา02
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา02Prachyanun Nilsook
 
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2Prachyanun Nilsook
 
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ2
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ2การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ2
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ2Prachyanun Nilsook
 
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2Prachyanun Nilsook
 

What's hot (9)

การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ1
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ1การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ1
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ1
 
Schedule The First NIDA Business Analytics and Data Sciences Contest Conferen...
Schedule The First NIDA Business Analytics and Data Sciences Contest Conferen...Schedule The First NIDA Business Analytics and Data Sciences Contest Conferen...
Schedule The First NIDA Business Analytics and Data Sciences Contest Conferen...
 
ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1
ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1
ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1
 
แนวโน้มการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวโน้มการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวโน้มการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวโน้มการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนเทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา02
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา02สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา02
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา02
 
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
 
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ2
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ2การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ2
การบูรณาการไอทีทางธุรกิจ2
 
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
 

Viewers also liked

Miguel Jaime M de Leon
Miguel Jaime M de LeonMiguel Jaime M de Leon
Miguel Jaime M de LeonMiguel de Leon
 
буклет Урал лето 2016
буклет Урал лето    2016буклет Урал лето    2016
буклет Урал лето 2016Vlad Safianov
 
Innovative Projects Selected By Pantapong
Innovative Projects Selected By PantapongInnovative Projects Selected By Pantapong
Innovative Projects Selected By Pantapongpantapong
 
Studio Photography - Portfolio Animation Studio 2016
Studio Photography - Portfolio Animation Studio 2016Studio Photography - Portfolio Animation Studio 2016
Studio Photography - Portfolio Animation Studio 2016Buddy Jarjoura
 
سيناريو آخر الزمان
سيناريو آخر الزمانسيناريو آخر الزمان
سيناريو آخر الزمانReda Elkholy
 
Cognitive Computing in Insurance: Going Beyond Predictive Analytics
Cognitive Computing in Insurance: Going Beyond Predictive AnalyticsCognitive Computing in Insurance: Going Beyond Predictive Analytics
Cognitive Computing in Insurance: Going Beyond Predictive Analyticsinsurance_thought_leadership
 

Viewers also liked (10)

Miguel Jaime M de Leon
Miguel Jaime M de LeonMiguel Jaime M de Leon
Miguel Jaime M de Leon
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2558
 
буклет Урал лето 2016
буклет Урал лето    2016буклет Урал лето    2016
буклет Урал лето 2016
 
Innovative Projects Selected By Pantapong
Innovative Projects Selected By PantapongInnovative Projects Selected By Pantapong
Innovative Projects Selected By Pantapong
 
Studio Photography - Portfolio Animation Studio 2016
Studio Photography - Portfolio Animation Studio 2016Studio Photography - Portfolio Animation Studio 2016
Studio Photography - Portfolio Animation Studio 2016
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
 
Caitlin Barfield's Resume
Caitlin Barfield's ResumeCaitlin Barfield's Resume
Caitlin Barfield's Resume
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
 
سيناريو آخر الزمان
سيناريو آخر الزمانسيناريو آخر الزمان
سيناريو آخر الزمان
 
Cognitive Computing in Insurance: Going Beyond Predictive Analytics
Cognitive Computing in Insurance: Going Beyond Predictive AnalyticsCognitive Computing in Insurance: Going Beyond Predictive Analytics
Cognitive Computing in Insurance: Going Beyond Predictive Analytics
 

Similar to Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14

Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.Prachyanun Nilsook
 
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"FURD_RSU
 
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1Prachyanun Nilsook
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...Wichit Chawaha
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...Wichit Chawaha
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาAo Krubz
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"Klangpanya
 

Similar to Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14 (20)

Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
 
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17
Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย วช.
 
V 302
V 302V 302
V 302
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
 
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
 
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
การเขียนโครงการวิจัยเพื่อขอทุน#1
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
Man n cre.
Man n cre.Man n cre.
Man n cre.
 
Man n cre
Man n creMan n cre
Man n cre
 
22072
2207222072
22072
 
22072
2207222072
22072
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
V 282
V 282V 282
V 282
 
Moral Project Plan2008
Moral Project Plan2008Moral Project Plan2008
Moral Project Plan2008
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 14

  • 1. บนเวทีเสวนาเรื่องการระดมความคิดยุทธศาสตร์การวิจัยราย ประเด็นด้านการขนส่งระบบราง : "ความพร้อมในการพัฒนาระบบรางของ ไทย" ซึ่งจัดโดยสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) วิทยากรซึ่งเป็น คนรุ่นใหม่ อายุน้อยได้เชิญให้ผู้เขียนพูด พร้อมทั้งกล่าวเป็นเชิงแนะนาว่าไม่ ต้องพูดถึงประวัติศาสตร์ยาวนัก เพราะมีเวลาจากัด แทนที่จะพูดเรื่องยุทธศาสตร์การวิจัย ผู้เขียนจึงให้มุมมองว่า ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องสาคัญเพราะการกระทาที่เกิดขึ้นแล้วในอดีตจะส่งผล มาที่ปัจจุบัน ในทานองเดียวกัน การกระทาในปัจจุบันก็คือสิ่งที่จะเกิดแก่ อนุชนคนรุ่นหลังในอนาคต ดังนั้น หากเราพอใจและมีความสุขกับสภาพในปัจจุบัน ก็ต้อง เข้าใจว่านี่คือผลของสิ่งดีงามที่บรรพบุรุษทาไว้ในอดีต ตรงกันข้าม หากเรา ไม่มีความสุขกับสภาพในปัจจุบัน ก็ต้องเข้าใจว่านี่ก็คือสิ่งที่ไม่ดีไม่งามที่ บรรพบุรุษทาไว้ในอดีตเช่นเดียวกัน ประเทศนี้มีรถไฟซึ่งส่งผ่านมาหลายช่วงอายุคนจนมาถึงคนรุ่นเรา เป็นเวลากว่า 118 ปี จะดีหรือไม่ดี เราพอใจหรือไม่พอใจก็ดี เราสามารถ รับรู้ได้ คาถามคือเราจะส่งผ่านรถไฟที่มีรูปร่างหน้าตาอย่างไรไปสู่คนรุ่นหลัง ที่จะมารับช่วงสืบสานต่อไป EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 141414 ประจำเดือน กรกฎำคม 255ประจำเดือน กรกฎำคม 255ประจำเดือน กรกฎำคม 255888 โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1 อนาคตที่กาหนดได้ด้วยการกระทาในวันนี้ Manage the future from present บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ ควำมแตกต่ำงของอดีต ปัจจุบันและอนำคต เป็นเพียงมำยำคติ ที่ฝังลึกในจิตที่ยังเวียนว่ำยอยู่ (ในวัฏสงสำร) เท่ำนั้น (อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์) เรารับพันธุกรรม (DNA) ที่ส่งผ่านมาจากบรรพบุรุษของเรา แล้ว เราก็ส่งมันต่อไปสู่คนรุ่นต่อไป นอกจากสิ่งนี้แล้ว เราก็ยังส่งผ่านมรดกที่เขา จะใช้ดารงชีวิตไปด้วย เรามีความเป็นชาติซึ่งพร้อมบริบูรณ์ด้วยทรัพยากร และศิลปวัฒนธรรมก็ด้วยบรรพบุรุษของเราที่ลุกขึ้นกอบกู้ เอาเลือดเนื้อเข้า แลก เราจึงมีประเทศเป็นของเราเอง มีภาษาเป็นของเราเอง มีสิทธิจะถือ ครองบัตรประชาชนซึ่งเป็นใบเบิกทางที่จะเสพสุข(และทุกข์)บนผืนแผ่นดิน ที่เรามีร่วมกัน บางห้วงเวลาของความคิดคานึง เราอาจลืมสิ่งนี้ไปบ้าง เราอาจ ห่วงตัวเอง ห่วงธุรกิจ ห่วงสิ่งที่เราจะได้รับคืนมาจากการลงมือทา แต่ก็ควร มีบางเวลาที่ถามตัวเองว่า "แล้วเราจะส่งต่อประเทศไทยที่มีหน้าตาเป็น อย่างไรให้กับอนุชนคนรุ่นหลังของเรา" บางทีนี่ก็อาจจะใช่วิสัยทัศน์ในความคิดเชิงยุทธศาสตร์ด้านการ วิจัยเรื่องระบบรางด้วย ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : 7 ส.ค. 58 เวลา 13.00 – 17.00 น. ขอเชิญร่วมงานสัมมนา วิชาการ Smart Growth Thailand Summit 2015 เรื่องการ สนับสนุนทางการเงินและสิทธิประโยชน์สาหรับหน่วยงาน และผู้ประกอบการขนส่งมวลชนและผู้พัฒนาพื้นที่รอบ สถานีขนส่งมวลชน ณ โรงแรมริชมอนด์ สไตล์ลิส คอน เวนชั่น รับผู้ร่วมสัมมนา 120 ท่านเท่านั้น ลงทะเบียนได้ที่ E-mail : asiamuseums.kamonrat@gmail.com โ ท ร 086-364-6742 โดยไม่เสียค่าลงทะเบียน หรือดูรายละเอียด ที่ www.facebook.com/SmartGrowthThailand 16 – 20 ส.ค. 58 เวลา 9.00 – 20.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมการ ประชุม “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558” (Thailand Research Expo 2015) จัดโดยสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ณ บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ และในวันที่ 20 ส.ค. 58 เวลา 9.00 - 12.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมในหัวข้อ "ระบบรางของไทย ในทศวรรษหน้า" ดูรายละเอียดเพิ่มเติม และลงทะเบียนได้ ที่ www.researchexpo-register.com สอบถามที่ Call Center : 0-2539-3128
  • 2. รถไฟฟ้ าเชียงใหม่ ฝันที่ใกล้เป็ นจริง ตอนที่ 2 บทความโดย นายชัยยศ ปีติเจตน์ (วศร.1) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency โครงการศึกษาวิจัยความเหมาะสม และออกแบบรายละเอียดระบบขนส่งมวลชน เชียงใหม่ ลาพูนและลาปาง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการศึกษาจาก สานักงานพัฒนา พิงคนคร (องค์การมหาชน) ได้ดาเนินการนาเสนอผลการศึกษาและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วน ได้เสียต่อโครงการครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2558 ที่ผ่านมา โดยได้รับความสนใจจากผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในท้องถิ่น ให้ ความร่วมมือในการเข้าให้ความคิดเห็นแก่ทีมที่ปรึกษา อย่างล้นหลาม จากการดาเนินโครงการพบว่า “ระบบขนส่งทางราง” มี ความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่งสาหรับเมืองเชียงใหม่ ด้วยองค์ประกอบ หลายๆด้าน โดยระบบรถรางไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า “TRAM” สามารถ ช่วยแก้ไขปัญหาทางด้านการจราจรได้อย่างดี โดยในระยะแรก แนวเส้นทางเริ่มต้นจากศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ สิ้นสุดปลายทางที่อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ : เป็นที่ทราบกันแล้วว่าจังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการบริการที่น่าสนใจของประเทศ ซึ่งองค์ประกอบที่หลากหลายของเชียงใหม่ สามารถดึงดูด นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ รวมถึงผู้คนทั่วไปให้หลั่งไหลเดินทางมาสู่เชียงใหม่อย่าง ต่อเนื่อง เห็นได้จากข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวที่มีอัตราเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ซึ่งความสนใจของผู้คน จานวนมากที่หลั่งไหลเข้าสู่จังหวัด ส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตในปัจจุบันของชาวเชียงใหม่มาก ขึ้นตามลาดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาทางด้านการจราจร จากข้อมูลการจดทะเบียนจานวนรถ เพื่อใช้ในการเดินทางของชาวเชียงใหม่ประเภทต่าง ๆ ที่เพิ่มจานวนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิด ปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด และมลพิษที่เกิดขึ้นจากรถยนต์ ดังนั้น ระบบขนส่งมวลชนที่ เหมาะสมกับพื้นที่ จึงเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่ควรพิจารณาอย่างเร่งด่วน เพื่อนาความเจริญ ความ สะดวกสบายและสิ่งที่ดีมาสู่วิถีชีวิตชาวเชียงใหม่เหมือนในอดีตที่ผ่านมา Page | 2 กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : โครงกำรกำรศึกษำแนวทำงกำรพัฒนำระบบโลจิสติกส์ทำงรำง 15 - 25 มิ.ย. 58 ทีมนักวิจัยแผนงานโครงการการศึกษาแนว ทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ทางรางเพื่อเป็นศูนย์กลางการ พัฒนาชุมชน ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากสานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) ได้เดินทางไปศึกษาข้อมูลระบบขนส่งทาง ราง ณ ประเทศเยอรมนีและสวิตเซอร์แลนด์ โดยคณะ นักวิจัยเครือข่ายโครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรม ระบบขนส่งทางราง (วศร.) จาก มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และ สวทช. นาโดย ผศ.ดร. วเรศรา วีรวัฒน์ ได้เดินทางไปศึกษาข้อมูลทั้งในส่วนของการผลิต การวิจัยและพัฒนา การ ให้บริการเดินรถและเชื่อมต่อระบบขนส่ง และการศึกษาทางด้านระบบขนส่งทางรางในหน่วยงาน ต่างๆของทั้งสองประเทศ ประกอบด้วย มหาวิทยาลัย TU Darm- strudt, TU Braunschweig, สถาบัน German Aerospace Center Insti- tute of Transportation Systems- DLR, โรงงานผลิตระบบ Signaling ของ Siemens โรงงานประกอบรถไฟ Alstom บริษัทบริการจัดการระบบค่า โดยสาร The Regional Transportation Authority for Frankfurt Rhine-Main – RMV, บริษัทพัฒนา simulator ของ PTV group และ Open track, ห้องควบคุมการเดินรถของ BLS, ระบบขนส่งในเมือง Bern, รถไฟไต่เขา (Mountain Railway) แบบ Funicular Railway, รถไฟเมโทรแบบล้อยางที่เมือง Lausanne, รถไฟท่องเที่ยวรถสาย Golden pass ที่มีรางขนาด 1 เมตร ระหว่างเมือง Montreux – Spiez และห้องปฏิบัติการ Simulator ของ Dr.Suter สาหรับเป็น ข้อมูลประกอบโครงการวิจัย การพัฒนาห้องปฏิบัติการระบบราง และ การพัฒนาระบบรางของประเทศไทยในด้านอื่นๆ แนวเส้นทำงระยะที่ 1
  • 3. กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency งำนเสวนำ Monorail and Heavy rail 24 มิ.ย. 58 เวลา 13.00 – 16.30 น. งานเสวนา Monorail and Heavy rail ความเหมาะสมระบบขนส่งมวลชนใน กรุงเทพมหานคร เสวนาโดย พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รมว. กระทรวงคมนาคม ผู้แทนสวทช. สนข. และ รฟม. จัดโดย คณะกรรมการนโยบายระบบราง วสท. ณ ห้องซาลอน เอ ชั้น 2 โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด เพื่อเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้เรื่องระบบขนส่งทางราง กำรประชุมคณะอนุกรรมกำรเตรียมกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำง แห่งชำติ ครั้งที่ 1/2558 24 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 – 12.00 น. การประชุมคณะอนุกรรม การเตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทาง รางแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2558 ณ ห้องประชุม 301 ชั้น 3 ตึก บัญชาการ 1 ทาเนียบรัฐบาล เพื่อหารือการเตรียมความพร้อม ของประเทศไทยในการพัฒนาระบบราง และการถ่ายทอด เทคโนโลยีสู่อุตสาหกรรมไทย เยี่ยมชมศูนย์พัฒนำและทดสอบระบบเบรก บริษัท คอมแพ็คอินเตอร์เนชั่นแนล(1994) 23 มิ.ย. 58 โครงการ 1 เดือน 1 กิจกรรม จัดโดยโครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ ขนส่งทางรางแห่งชาติ เข้าเยี่ยมชมศูนย์พัฒนาและทดสอบ ระบบเบรกของ บริษัท คอมแพ็คอินเตอร์เนชั่นแนล(1994) จากัด จ.เพชรบุรี โดยได้รับเกียรติจากคุณมีชัย ศรีวิบูลย์ ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการสายงานวิจัยและพัฒนา ให้การต้อนรับและ เป็นผู้บรรยายพาเยี่ยมชมโรงงาน ประชุมระดมควำมคิด (ร่ำง) ยุทธศำสตร์กำรวิจัยรำยประเด็นด้ำนกำรขนส่งระบบรำง 19 มิ.ย. 58 เวลา 9.00 - 15.00 น. การประชุมระดมความคิด (ร่าง) ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านการขนส่งระบบราง โดย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ณ ห้องไมดาส 1 โรงแรม ไมด้า ซิตี้ รีสอร์ท แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ เพื่อระดม ความคิดเห็นและแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะจาก หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อการปรับปรุงแก้ไขร่าง ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านการขนส่งระบบรางให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และ นาไปใช้ในการกาหนดกรอบการวิจัยสาหรับการจัดสรรงบประมาณในการวิจัยต่อไป โครงกำรอบรมผู้สอนช่ำงเทคนิคด้ำนระบบขนส่งทำงรำง 27 - 29 มิ.ย. 58 โครงการอบรม ผู้สอนรายวิชากลางในโครงการ พัฒนาหลักสูตรและนาร่อง การ สร้างกาลังคนระดับช่างเทคนิคด้าน ระบบขนส่งทางรางเข้าสู่ตลาดแรงงาน ประจาปี 2558 ณ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต ขอนแก่น นิทรรศกำร 99 ปีสถำนีรถไฟกรุงเทพ 25 – 27 มิ.ย. 58 นิทรรศการ 99 ปี สถานีรถไฟกรุงเทพ ณ โถง กลางสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลาโพง) โดยในงานมีการ จัดแสดงภาพถ่าย ประวัติ ของ สถานีรถไฟกรุงเทพ รวมถึงโมเดลรถจักร ล้อเลื่อนที่ใช้ในกิจการ เครื่องใช้สมัยกรมรถไฟหลวง Page | 3 บรรยำยพิเศษ Urban Transportation Problems, Systems and Solutions 24 มิ.ย. 58 เวลา 13.00 – 17.00 น. การบรรยายพิเศษ “Urban Transportation Problems, Systems and Solutions” จัดโดย คณะกรรมการนโยบายระบบราง วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ร่วมกับ Mitsubishi Heavy Industries,Ltd. (MHI) ณ ห้อง 1 ชั้น 6 อาคาร วสท. บรรยายโดย Mr.Masahisa Masukawa ,Managing Expert for Automated Guideway Transit จาก MHI งำน Asia Rail Summit 25 - 26 มิ.ย. 58 งาน Asia Rail Summit ณ ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดการ ประชุมแ ละ สัมมนาร่วมกับ ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานและบริษัท ด้านระบบขนส่งทางรางมากกว่า 20 ประเทศ กำรประชุมวิชำกำร Hybrid Canal-Rail Connectivity 26 มิ.ย. 58 เวลา 8.30 – 13.00 น. การประชุมวิชาการแนวทางการ พัฒนาโครงข่ายต่อเชื่อมการ คมนาคมขนส่งทางน้าและราง (Hybrid Canal-Rail Connectivi- ty: Linking Bangkok’s Canals Networks to Mass Rapid Transit Lines) จัดโดย คณะนักวิจัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยการสนับสนุนจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ประเทศไทย ณ ห้องบอล รูม 2 โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ ซึ่งการศึกษาวิจัยนี้มีการ เลือกสถานที่ 3 แห่ง ประกอบด้วย ถ.เพชรบุรี ถ.รามคาแหง และคลอง ภาษีเจริญ เพื่อดาเนินการพัฒนาท่าเรือเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนให้ การเดินทางของประชาชนนั้นมีทางเลือกที่มากขึ้น
  • 4. ที่ปรึกษำ : ดร.ชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล กองบรรณำธิกำร : คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทปกร เหมือนเตย คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : ประชุมชี้แจงกรอบกำรวิจัย ประจำปีงบประมำณ 2559 6 ก.ค. 58 การประชุมชี้แจงกรอบการวิจัย ประจาปี งบประมาณ 2559 เรื่อง "ผลงานวิจัยมุ่งเป้าช่วยแก้ปัญหา ประเทศได้อย่างไร" ณ ห้องแกรนด์บอลรูม ชั้น 4 โรงแรม มิรา เคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น โดยสานักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ (วช.) ร่วมกับเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) เพื่อประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการรับข้อเสนอการ วิจัย รวมถึงแนะนาขั้นตอน วิธีการสนับสนุนทุนวิจัยปีงบประมาณ 2559 จานวน 2 กลุ่มเรื่อง คือ 1) มันสาปะหลัง 2) การคมนาคมขนส่งระบบราง แถลงข่ำวเปิดตัว Exporail South East Asia 2016 9 ก.ค. 58 งานแถลงข่าวการจัดงาน Exporail South East Asia 2016 งานแสดงสินค้านานาชาติและเทคโนโลยีด้านระบบ ขนส่งทางรางชั้นนาของโลก ณ ห้องแอสเตอร์ 3 โรงแรมเดอะ เซนต์ รีจิส กรุงเทพฯ จัดโดย บริษัท แม็ค บรูคส์ เอ็กซิบิชั่นส์ เอเชีย จากัด ซึ่งจะขึ้นระหว่างวันที่ 8 – 10 มิ.ย. 59 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ นิทรรศกำร Siemens Mobility Day 30 มิ.ย. 58 งานสัมมนาและนิทรรศการงาน Siemens Mobili- ty Day ณ ห้องแอทธินี คริสตัล ฮอลล์ โรงแรม พลาซ่าแอทธินี กรุงเทพ เอ รอยัล เมอริเดียน จัดโดย บริษัท ซีเมนส์ จากัด ประเทศไทย เพื่อย้าถึงความพร้อมในการสนับสนุนแผนการ พัฒนาและขยายเครือข่ายระบบขนส่งมวลชนของรัฐบาล นักศึกษำส่งมอบผลงำนวิจัยเครื่องทดสอบหน้ำสัมผัสรีเลย์สำหรับรถไฟฟ้ำ 30 มิ.ย. 58 ดร.ธรรมวฤทธิ์ สิงหวิลัย และนักศึกษาภาควิชา วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เข้าพบผู้แทนแผนก ระบบอาณัติสัญญาณ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด (มหาชน) หรือ BTS เพื่อส่งมอบเครื่องทดสอบหน้าสัมผัสรีเลย์ สาหรับรถไฟฟ้า พร้อมทั้งสาธิตการใช้งาน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ในด้านการซ่อมบารุงระบบควบคุมรถอัตโนมัติ (Automatic Train Control: ATC) ของระบบรถไฟฟ้า BTS ซึ่งผลงานวิจัยนี้ได้ดาเนินการพัฒนาภายใต้ “โครงการส่งเสริมการศึกษาและวิจัยร่วมระบบขนส่งทางราง (สวทช. – มหิดล)” รุ่นที่ 2 กำรประชุมคณะอนุกรรมกำรกรอบแผนอุดมศึกษำระยะยำว 15 ปี 10 ก.ค. 58 เวลา 13.00 น. การ ประชุมคณะอนุกรรมการกรอบแผน อุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-2575) และแผนพัฒนา การศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2565) ครั้งที่ 6/2558 ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์วิจิตร ศรี สอ้าน ชั้น 5 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คุณนคร จันทศร ได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่อง “ทิศทางการพัฒนาระบบ คมนาคมของประเทศ : ผลกระทบต่อการวางแผนอุดมศึกษา” Page | 4 วศร.5 ร่วมระดมความคิดเพื่อเสนอ แนวทาง “การจัดทาแผนที่นาทางการ พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางไทย อย่างยั่งยืน” สาหรับใช้ในการนาเสนอ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบ นวัตกรรมของประเทศ (คพน.) วศร.2 รับมอบงานวิจัย Wheel set simulation จากคณะนักวิจัย คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ในวันพุธที่ 1 กรกฎาคม 2558 ประชุมโครงกำรพัฒนำหลักสูตรด้ำนระบบขนส่งทำงรำง 8 ก.ค. 58 ประชุมคณะอานวยการโครงการพัฒนาหลักสูตร และนาร่องการสร้างกาลังคนระดับช่างเทคนิคด้านระบบขนส่ง ทางรางเข้าสู่ตลาดแรงงาน ครั้งที่ 2/2558 หอเกียรติยศ ชั้น 8 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กำรศึกษำและจัดทำดัชนีควำมเหมำะสมในกำรเดินเท้ำรอบสถำนี รถไฟฟ้ำ ครั้งที่ 2 14 ก.ค. 58 เวลา 8.30 – 12.00 น. งานสัมมนาโครงการ “การศึกษา และจัดทาดัชนีความเหมาะสมใน การเดินเท้ารอบสถานีรถไฟฟ้า” ครั้งที่ 2 ภายใต้แผนงานโครงการ “การศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ทางรางเพื่อเป็น ศูนย์กลางการพัฒนาชุมชน” โดย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ณ ห้องประชุมมิ่งเมือง โรงแรม เดอะ ทวินทาวเวอร์ เพื่อเผยแพร่ผล การศึกษาการสารวจข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง