SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ตุลาคม เป็นเดือนสาคัญในประวัติศาสตร์รถไฟ เพราะวันที่ 23 ตุลาคม คือ
วันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผู้ทรงให้กาเนิดแก่
กิจการรถไฟในประเทศไทย ซึ่งนับตั้งแต่วันที่เปิดการเดินรถไฟให้บริการขนส่งสาธารณ
เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2439 บัดนี้เวลาก็ผ่านไปแล้วกว่า 118 ปี
ประวัติศาสตร์มักจะหมุนวนมาซ้ารอยเดิมเสมอ เสมือนว่าเป็นโชคชะตาที่ถูก
กาหนดไว้แล้ว ดังที่ครั้งหนึ่งมังกรขาว ชาวแองโกลแซกซอน (หมายถึง สหราช
อาณาจักร) ซึ่งอยู่กันคนละซีกโลก แต่ยังสามารถถูกโชคชะตาส่งมาคุกคามความมั่นคง
ของประเทศเราได้
พ.ศ. 2402 นายไวส์ แห่งบริษัทลอยด์ของอังกฤษ ได้ทูลขอพระบรมราชานุ
ญาติตั้งบริษัทรถไฟสยาม จะสร้างทางรถไฟข้ามคอคอดกระ ฝ่ายชาวฝรั่งเศสอีกพวก
หนึ่งคิดที่จะขุดคลองคอคอดกระ แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้
ระงับการกระทาใดๆซึ่งอาจเป็นการชักนาความสนใจของมหาอานาจฝ่ายตะวันตก ต่อ
ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากไทย เพราะเป็นการล่อแหลมต่อความมั่นคงของประเทศ
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 171717 ประจำเดือน ตุลำคม 255ประจำเดือน ตุลำคม 255ประจำเดือน ตุลำคม 255888
โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ
สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1
เรื่องในอดีต: ภายใต้กรงเล็บมังกรขาว
บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
16 ต.ค. 58 เวลา 8.30 – 12.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมการประชุม
รับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 1 โครงการศึกษาความ
เหมาะสม จัดทาแบบเบื้องต้นและจัดเตรียมเอกสารประกวด
ราคาโครงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรองสายสีทอง (สถานี
รถไฟฟ้าธนบุรี-เขตคลองสาน-ประชาธิปก) ณ ห้องประชุมจรัญ อาคารสมเด็จพระ
นางเจ้าสิริกิต์ ชั้น 9 สถาบันจิตเวชสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพฯ
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
11 พ.ย. 58 ขอเชิญร่วมงานสัมมนาทางวิชาการ
6th GAST Travelling Conference 2015 ซึ่ง
ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยในสหพันธ์สาธารณรัฐ
เยอรมนี ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จ.นครปฐม ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
http://gast.tu-ilmenau.de. หรือติดต่อสอบถาม และสารองที่นั่งได้ที่ E-mail :
waressara@gmail.com
กองบรรณาธิการ
พ.ศ. 2416 เมื่อมีข่าวลือว่ารัฐบาลริเริ่มจะสร้างทาง
รถไฟจากกรุงเทพฯไปยังนครราชสีมา ชาวยุโรปหลายชาติได้มา
ติดต่อขอรับเหมาก่อสร้างทางรถไฟให้แก่รัฐบาลไทย พ.ศ. 2428
วิศวกรชาวอังกฤษ นาย อาร์ชิบอล อาร์ โคลฮุน และ นาย โฮลท์
ฮัลเลต ได้ติดต่อรัฐบาลไทย ขอสร้างทางรถไฟผ่านภาคเหนือทาง
เมืองระแหง (ตาก) อังกฤษวางแผนจะสร้างทางรถไฟระหว่าง
อินเดียกับจีนโดยผ่านพม่าและภาคเหนือของไทย แต่รัฐบาลไทย
เห็นว่าถ้ายอมให้อังกฤษสร้างทางรถไฟสายนี้ขึ้นแล้ว ก็จะแบ่ง
ประเทศออกเป็นสองส่วน ยิ่งกว่านั้น อังกฤษจะได้รับ
ผลประโยชน์แต่ผู้เดียว
ความคิดในการขุดคอคอดกระมีมานานกว่า 300 ปี ในรัชสมัยของสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช ทรงมีพระราชดาริจะขุดคอคอดกระเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการเคลื่อน
กองทัพเรือจากฝั่งอ่าวไทยไปฝั่งอันดามัน เป็นการขยายความเข็มแข็งของราชอาณาจักรในยุค
สมัยนั้น และเพื่อให้การค้ากับต่างประเทศ ที่ได้เริ่มเปิดประเทศ ติดต่อกับชาติยุโรปที่จะมาทาง
ฝั่งอันดามัน โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินเรืออ้อมไปผ่านที่ช่องแคบมะละกา สามารถตัดตรงจากฝั่ง
อันดามัน มายังอ่าวไทยมุ่งไปกรุงศรีอยุธยาได้สะดวก ในขณะนั้นมองว่าการขุดคลองคอคอด
กระจะเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับราชอาณาจักร แต่อีก 150 กว่าปีต่อมา มองเห็นว่าการขุด
คลอง จะเป็นอันตรายต่อประเทศ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้เสด็จ
ไปเยือนประเทศเยอรมนี ได้พบกับนายกรัฐมนตรี บิสมาร์ค และ
ได้เชิญวิศวกร นาย เค เบทเก้ (Karl Bethge) มาเป็นเจ้ากรม
รถไฟ นาย เค เบทเก้ ได้ให้คาปรึกษาที่สาคัญคือ ให้ประเทศไทย
ดาเนินนโยบายโดยอยู่ห่างจากอิทธิพลของอังกฤษในภาคตะวันตก
โดยสร้างทางรถไฟขึ้นในภาคตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา จาก
กรุงเทพฯ ถึง นครราชสีมา และสร้างเป็นทางกว้าง 1.435 เมตร
แทนที่จะสร้างเป็นทางกว้าง 1.000 เมตร ตามรายงานของวิศวกร
ชาวอังกฤษ
เรียนรู้เพื่อการจัดสร้างห้องปฏิบัติการวิจัยรถไฟ
จากแดนมังกร สาธารณรัฐประชาชนจีน
บทความโดย ดร.ชยากร ปิยะบัณฑิตกุล
เลขานุการคณะทางานจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการงานวิจัยสาหรับระบบรถไฟ
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
การเดินทางของคณะทางานจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการงานวิจัยสาหรับระบบรถไฟ
(Teaching Platform of Operation Organization and Control on Railway System)
ภายใต้ความร่วมมือของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยและสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน (STEP: Science and Technology Partnership Program) ซึ่งคณะทางาน
ประกอบไปด้วย คุณวิโรจน์ ลิมปนวัฒนกุล ประธานคณะทางาน เจ้าหน้าที่โครงการจัดตั้งสถาบันฯ
สวทช. คณาจารย์และนักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)
และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ได้เดินทางจาก
กรุงเทพมหานครถึงกรุงปักกิ่งโดยใช้เวลาประมาณ 4 ชั่วโมงเศษ ในขณะเดียวกันใช้เวลาอีก 4
ชั่วโมงในการเดินทางจากสนามบิน Beijing Capital International Airport มายัง State Key
Lab of Rail Traffic Control & Safety ของ Beijing Jiatong University (BJTU)
ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ :
รูปที่ 1 คณะดูงานร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ
รูปที่ 2 State Key Lab of Rail Traffic Control &
Safety ของ Beijing Jiatong University (BJTU)
รูปที่ 3 คณะทางานจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ
งานวิจัยสาหรับระบบรถไฟ
รูปที่ 4 ห้องปฏิบัติการระดับ State Key Lab
ในวันรุ่งขึ้นได้มีการจัดแยกประชุมออกเป็นสองคณะ โดย
มจพ. ซึ่งประกอบไปด้วย ดร. สุเทพ บุตรดี หัวหน้าทีมวิจัย พร้อมทั้ง
คณะนักวิจัย Driving Simulator นายกิติศักดิ์ ตั้งใจดีและนายชัย
อนันต์ สาขะจันทร์ ได้มีโอกาสหารือเชิงลึก Driving Simulator
ร่วมกับ Assoc.Prof.Dr.Gao Beiyuan และคณะซึ่งอยู่ภายใต้การ
ดูแลของ Prof.Dr.Fang Weining ส่วน สจล. นาคณะนักวิจัย
Teaching Platform โดย ดร.วันวิสา ชัชวงษ์ หัวหน้าทีมวิจัย ผศ.
มยุรี เลิศเวชกุล และทีมวิจัย นายสิปปกร แซ่เอี่ยว นายสมสิน ทอง
ไกรรัตน์ นายธนวิชญ์ อนุวงศ์พินิจ และคุณศักดิ์ชาย เลิศเวชกุล ล่าม
กิตติมศักดิ์ ซึ่งได้รับฟังบรรยายพร้อม ซัก-ถาม Assoc.Prof.Dr.Miao
Jianrui และ Assoc.Prof.Dr.Lingyun Meng
Page | 2
จากนั้นในช่วงบ่ายได้มีการเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ และทั้งคณะได้มีโอกาสดูงาน
ห้องปฏิบัติการระดับ State Key Lab แห่งเดียวซึ่งตั้งอยู่บนตึกหลักของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ และยัง
ได้ไปห้องปฏิบัติการอื่นๆ ที่น่าตื่นตาตื่นใจ อาทิ ห้องปฏิบัติการ High Speed Train Control
System Testing Platform ห้องปฏิบัติการ CBTC Simulation and Testing Platform และ
ห้องปฏิบัติการ Rail Transport Safety เป็นต้น
ในวันที่สามและวันถัดๆไปทาง BJTU ได้จัดให้มีการ
บรรยายและเจาะลึกลงในรายละเอียดของแต่ส่วนซึ่งถือว่าเป็น
ประโยชน์และตอบโจทย์เป้าหมายการเดินทางครั้งนี้อย่างมาก ตรง
ตามความตั้งใจที่จะกลับแบบไม่มือเปล่าพร้อมกับองค์ความรู้ข้อมูล
การออกแบบรายละเอียด (Detailed Design) เพื่อเปิดโอกาสให้
นักเรียน นิสิต นักศึกษา ตลอดจน หน่วยปฏิบัติการเดินรถ นักวิจัย
และผู้สนใจ ได้มีโอกาสศึกษา เรียนรู้ลักษณะการทางานตาม
แบบอย่างของประเทศอุตสาหกรรมรถไฟระดับโลก ต้องขอขอบคุณ
ผู้แทนจาก CRRC Qingdao Sifang โดย Dr.Lin Peng, He Jiajie
และคุณเจษฎา ศักดาสุคนธ์ ที่ทาให้การเดินทางครั้งนี้สาเร็จลุล่วง
ด้วยดี หวังว่าการเดินทางครั้งนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นของห้องปฏิบัติการ
วิจัยสาหรับระบบรถไฟแห่งแรกของประเทศไทย พบกันใหม่ในการ
เดินทางครั้งต่อไปครับ
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
พิธีปิดหลักสูตร วศร.5
16 ก.ย. 58 เวลา 9.00 – 12.00 น. พิธีมอบประกาศนียบัตร และพิธีปิดการฝึกอบรมหลักสูตร
โครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) รุ่นที่ 5 ณ โรงแรมแกรนด์
เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสมภพ อมาตยกุล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่า
การกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นผู้บรรยายพิเศษ เรื่อง Change Management ซึ่งมีผู้ผ่านการ
อบรม วศร.5 ทั้งสิ้น 34 ท่าน
โครงกำรจัดตั้งสถำบันฯ หำรือร่วมกับคมนำคม
15 ก.ย. 58 เวลา 14.00 น. การประชุมร่วมระหว่าง
ผู้อานวยการ สวทช. และโครงการจัดตั้งสถาบันฯ สวทช.
กับ รมว.กระทรวงคมนาคม (นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ)
และ รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ดร.พิเชฐ
ดุรงคเวโรจน์) เกี่ยวกับแนวทางการสร้างความสามารถใน
การพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางของประเทศ ณ
ห้องประชุม 1 กระทรวงคมนาคม
ประชุมคณะทำงำนพัฒนำบุคลำกรด้ำนระบบรำง
18 ก.ย. 58 เวลา 9.00 – 12.00 น. การประชุม
คณะทางานพัฒนาบุคลากรรองรับการขนส่งทางราง ครั้ง
ที่ 1/2558 ณ ห้องประชุมจันทรเกษม ชั้น 1 อาคารราช
วัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะทางานที่
แต่งตั้งโดยคณะอนุกรรมการเตรียมการจัดตั้งสถาบัน
พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
ประชุมคณะทำงำนพัฒนำสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ
18 ก.ย. 58 เวลา 13.00 – 16.00 น.การประชุม
คณะทางานพัฒนาสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง
ทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2558 ณ อาคาร สวทช.โยธี
ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นหนึ่งใน
คณะทางานที่แต่งตั้งโดยคณะอนุกรรมการเตรียมการ
จัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง
แห่งชาติ เพื่อหารือเตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนา
เทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
งำนวิจัยมุ่งเป้ำด้ำนกำรคมนำคมขนส่งทำงรำง
28 ก.ย. 58 เวลา 9.00 – 14.00
น. การสัมมนาวิชาการ เรื่อง
งานวิจัยมุ่งเป้า ด้านการ
คมนาคมขนส่งทางราง
ณ ห้องประชุมจอมพลสฤษดิ์
ธนะรัชต์ ชั้น 2 อาคาร วช.1
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยเครือข่ายองค์กร
บริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ที่ประกอบด้วยสานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ สานักงาน
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกันจัดสัมมนานี้ขึ้นเพื่อเผยแพร่
ผลงานวิจัย ที่ได้รับทุนอุดหนุนงานวิจัยด้านการคมนาคมขนส่งระบบ
รางให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
Page | 3
ตรวจรับผลงำนวิจัย Train Driving Simulator
30 ก.ย. 58 โครงการจัดตั้ง
สถาบันฯ สวทช. ตรวจรับ
ผลงานวิจัย โครงการวิจัยการ
พัฒนาระบบการจาลองการขับ
รถไฟและชุดทดสอบการทางาน
ของหัวรถจักร Alstom (Train
Driving Simulator) ณ ศูนย์ฝึกโรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ ซึ่งเป็น
โครงการวิจัยทุน วช. ปี 56 โดยมี รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เป็นหัวหน้าโครงการ โดยโครงการนี้ได้นาผลงานไปใช้จริงสาหรับทา
การฝึกอบรมนักเรียนโรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ ของการรถไฟแห่ง
ประเทศไทย
ประชุมโครงกำร Teaching Platform
7 ต.ค. 58 เวลา 13.30 น. การ
ประชุมคณะทางานจัดตั้งศูนย์
ปฏิบัติการงานวิจัยสาหรับระบบ
รถไฟ ณ ห้องประชุม 420
อาคาร สวทช.โยธี ถ.พระรามที่
6 ราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อหารือ
ความคืบหน้าโครงการวิจัย การออกแบบและพัฒนาระบบจาลอง
เสมือนจริงสาหรับการศึกษาและการวิจัยระบบรถไฟฟ้าความเร็วสูง
(Design and Development of Teaching Platform of Opera-
tion Organization and Control for High-speed Railway) และ
โครงการเครื่องฝึกหัดขับรถไฟ (Train Driving Simulator)
ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล
กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล
ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ
ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech
กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
ประชุมโครงกำร Test track facility
9 ต.ค. 58 เวลา 9.30 – 12.30 น. การประชุมโครงการ
จัดสร้างศูนย์ปฏิบัติการวิจัยขบวนรถไฟรางและอุปกรณ์
ประกอบ (Test track facility) ครั้งที่ 2/2558 ณ ห้อง
ประชุม M119 ชั้น 1 อาคารเอ็มเทค อุทยานวิทยาศาสตร์
ประเทศไทย เพื่อหารือแนวทางความร่วมมือของ
ภาคอุตสาหกรรมต่อโครงการ Test track facility
กีฬำเชื่อมสัมพันธ์ วศร.
เมื่อวันที่ 16 ก.ย. 58 หลังจากเสร็จสิ้นพิธีปิดหลักสูตร วศร.5 สมาชิกเครือข่าย วศร. รุ่นที่ 1-4 และ
วศร. รุ่นที่ 5 ร่วมกันแข่งขันกีฬาเชื่อมสัมพันธ์ โดยจัดขึ้นที่สนามฟุตบอลแห่งหนึ่งย่านพระราม 9 ผล
การแข่งขัน ทีมวศร.5 ชนะ ทีมรวมวศร.1-4 ด้วยคะแนน 15 - 6
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
ประชุมคณะกรรมกำรพัฒนำระบบนวัตกรรมของประเทศ
9 ต.ค. 58 เวลา 14.00 น. การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบนวัตกรรมของประเทศ (คพน.)
ครั้งที่ 4/2558 ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ณ ห้องสีเขียว ตึกไทยคู่ฟ้า ทาเนียบรัฐบาล โดยมี
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบในหลักการต่อ
มาตรการเร่งด่วนการพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางเพื่อสนับสนุนโครงการลงทุนขนาด
ใหญ่ของรัฐบาล และมอบหมายให้ สวทช. ประสานกับกระทรวงคมนาคม เพื่อจัดทารายละเอียด
อย่างเร่งด่วนต่อไป
ประธำน วศร.รุ่น 5 บอกกล่ำว
“ ในฐานะประธานรุ่น วศร.5 ผม
ยินดีเป็นตัวแทนปวารณาตน ที่จะ
ให้ความร่วมมือในการพัฒนา
ระบบขนส่งทางราง เพื่อประโยชน์
ของประชาชนคนไทย และเพื่อ
ความมั่นคงของประเทศไทย ”
ประชุมโครงกำร TAIST-Tokyo Tech
12 ต.ค. 58 เวลา 13.30 -
16.00 น. การประชุมหารือ
โ ค ร ง ก า ร Thailand Ad-
vanced Institute of Science
and Technology และ Tokyo
Institute of Technology
(TAIST-Tokyo Tech) ณ ห้อง 720 อาคาร สวทช.โยธี ถ.พระรามที่ 6
กรุงเทพฯ ด้วยฝ่ายพัฒนาบัณฑิตและนักวิจัย สวทช. และโครงการ
จัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ มีแนวคิดที่
จะพัฒนาหลักสูตร TAIST ระบบรางร่วมกับทาง Tokyo Institute of
Technology ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโครงการผลิตนักศึกษาระดับ
ปริญญาโท 3 สาขา ร่วมกันระหว่าง สวทช. มหาวิทยาลัยในประเทศ
ไทย และ Tokyo Institute of Technology ประเทศญี่ปุ่น
สัมมนำโครงกำรพัฒนำระบบซ่อมบำรุงและปฏิบัติกำรขนส่งระบบ
รำงแบบรวม
12 ต.ค. 58 เวลา 8.30 –
13.00 น. การสัมมนา
โครงการการพัฒนาระบบ
ซ่อมบารุงและปฏิบัติการขนส่ง
ระบบรางแบบรวม ณ ห้อง
ฟอร์จูน 3 โรงแรมแกรนด์
เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพ ซึ่งเป็นแผนงานวิจัยทุน วช. ปี 56 โดยมี
ผศ.ดร.ประมวล สุธีจารุวัฒน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย เป็นหัวหน้าแผนงานวิจัย
Page | 4

More Related Content

Similar to Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17

พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[] พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[] Overview Biew
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)aekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมaekgapak
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIIsriya Paireepairit
 
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...ThaiprincessIT
 

Similar to Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17 (18)

Flood Seminar 54
Flood Seminar 54Flood Seminar 54
Flood Seminar 54
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[] พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม[]
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม(Pic)
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคมพัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
พัฒนาการรถไฟไทยกับความก้าวหน้าของสังคม
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
 
Man n cre
Man n creMan n cre
Man n cre
 
22072
2207222072
22072
 
22072
2207222072
22072
 
Presentation For Eric
Presentation For EricPresentation For Eric
Presentation For Eric
 
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
 
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
Newsletter ฉบับงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015)
 
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
 
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
โครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน(Chinese Academy of Sciences: ...
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 17

  • 1. ตุลาคม เป็นเดือนสาคัญในประวัติศาสตร์รถไฟ เพราะวันที่ 23 ตุลาคม คือ วันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผู้ทรงให้กาเนิดแก่ กิจการรถไฟในประเทศไทย ซึ่งนับตั้งแต่วันที่เปิดการเดินรถไฟให้บริการขนส่งสาธารณ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2439 บัดนี้เวลาก็ผ่านไปแล้วกว่า 118 ปี ประวัติศาสตร์มักจะหมุนวนมาซ้ารอยเดิมเสมอ เสมือนว่าเป็นโชคชะตาที่ถูก กาหนดไว้แล้ว ดังที่ครั้งหนึ่งมังกรขาว ชาวแองโกลแซกซอน (หมายถึง สหราช อาณาจักร) ซึ่งอยู่กันคนละซีกโลก แต่ยังสามารถถูกโชคชะตาส่งมาคุกคามความมั่นคง ของประเทศเราได้ พ.ศ. 2402 นายไวส์ แห่งบริษัทลอยด์ของอังกฤษ ได้ทูลขอพระบรมราชานุ ญาติตั้งบริษัทรถไฟสยาม จะสร้างทางรถไฟข้ามคอคอดกระ ฝ่ายชาวฝรั่งเศสอีกพวก หนึ่งคิดที่จะขุดคลองคอคอดกระ แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ ระงับการกระทาใดๆซึ่งอาจเป็นการชักนาความสนใจของมหาอานาจฝ่ายตะวันตก ต่อ ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากไทย เพราะเป็นการล่อแหลมต่อความมั่นคงของประเทศ EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 171717 ประจำเดือน ตุลำคม 255ประจำเดือน ตุลำคม 255ประจำเดือน ตุลำคม 255888 โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1 เรื่องในอดีต: ภายใต้กรงเล็บมังกรขาว บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : 16 ต.ค. 58 เวลา 8.30 – 12.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมการประชุม รับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 1 โครงการศึกษาความ เหมาะสม จัดทาแบบเบื้องต้นและจัดเตรียมเอกสารประกวด ราคาโครงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรองสายสีทอง (สถานี รถไฟฟ้าธนบุรี-เขตคลองสาน-ประชาธิปก) ณ ห้องประชุมจรัญ อาคารสมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิต์ ชั้น 9 สถาบันจิตเวชสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพฯ ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : 11 พ.ย. 58 ขอเชิญร่วมงานสัมมนาทางวิชาการ 6th GAST Travelling Conference 2015 ซึ่ง ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยในสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จ.นครปฐม ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://gast.tu-ilmenau.de. หรือติดต่อสอบถาม และสารองที่นั่งได้ที่ E-mail : waressara@gmail.com กองบรรณาธิการ พ.ศ. 2416 เมื่อมีข่าวลือว่ารัฐบาลริเริ่มจะสร้างทาง รถไฟจากกรุงเทพฯไปยังนครราชสีมา ชาวยุโรปหลายชาติได้มา ติดต่อขอรับเหมาก่อสร้างทางรถไฟให้แก่รัฐบาลไทย พ.ศ. 2428 วิศวกรชาวอังกฤษ นาย อาร์ชิบอล อาร์ โคลฮุน และ นาย โฮลท์ ฮัลเลต ได้ติดต่อรัฐบาลไทย ขอสร้างทางรถไฟผ่านภาคเหนือทาง เมืองระแหง (ตาก) อังกฤษวางแผนจะสร้างทางรถไฟระหว่าง อินเดียกับจีนโดยผ่านพม่าและภาคเหนือของไทย แต่รัฐบาลไทย เห็นว่าถ้ายอมให้อังกฤษสร้างทางรถไฟสายนี้ขึ้นแล้ว ก็จะแบ่ง ประเทศออกเป็นสองส่วน ยิ่งกว่านั้น อังกฤษจะได้รับ ผลประโยชน์แต่ผู้เดียว ความคิดในการขุดคอคอดกระมีมานานกว่า 300 ปี ในรัชสมัยของสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช ทรงมีพระราชดาริจะขุดคอคอดกระเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการเคลื่อน กองทัพเรือจากฝั่งอ่าวไทยไปฝั่งอันดามัน เป็นการขยายความเข็มแข็งของราชอาณาจักรในยุค สมัยนั้น และเพื่อให้การค้ากับต่างประเทศ ที่ได้เริ่มเปิดประเทศ ติดต่อกับชาติยุโรปที่จะมาทาง ฝั่งอันดามัน โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินเรืออ้อมไปผ่านที่ช่องแคบมะละกา สามารถตัดตรงจากฝั่ง อันดามัน มายังอ่าวไทยมุ่งไปกรุงศรีอยุธยาได้สะดวก ในขณะนั้นมองว่าการขุดคลองคอคอด กระจะเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับราชอาณาจักร แต่อีก 150 กว่าปีต่อมา มองเห็นว่าการขุด คลอง จะเป็นอันตรายต่อประเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้เสด็จ ไปเยือนประเทศเยอรมนี ได้พบกับนายกรัฐมนตรี บิสมาร์ค และ ได้เชิญวิศวกร นาย เค เบทเก้ (Karl Bethge) มาเป็นเจ้ากรม รถไฟ นาย เค เบทเก้ ได้ให้คาปรึกษาที่สาคัญคือ ให้ประเทศไทย ดาเนินนโยบายโดยอยู่ห่างจากอิทธิพลของอังกฤษในภาคตะวันตก โดยสร้างทางรถไฟขึ้นในภาคตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา จาก กรุงเทพฯ ถึง นครราชสีมา และสร้างเป็นทางกว้าง 1.435 เมตร แทนที่จะสร้างเป็นทางกว้าง 1.000 เมตร ตามรายงานของวิศวกร ชาวอังกฤษ
  • 2. เรียนรู้เพื่อการจัดสร้างห้องปฏิบัติการวิจัยรถไฟ จากแดนมังกร สาธารณรัฐประชาชนจีน บทความโดย ดร.ชยากร ปิยะบัณฑิตกุล เลขานุการคณะทางานจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการงานวิจัยสาหรับระบบรถไฟ Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency การเดินทางของคณะทางานจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการงานวิจัยสาหรับระบบรถไฟ (Teaching Platform of Operation Organization and Control on Railway System) ภายใต้ความร่วมมือของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยและสาธารณรัฐ ประชาชนจีน (STEP: Science and Technology Partnership Program) ซึ่งคณะทางาน ประกอบไปด้วย คุณวิโรจน์ ลิมปนวัฒนกุล ประธานคณะทางาน เจ้าหน้าที่โครงการจัดตั้งสถาบันฯ สวทช. คณาจารย์และนักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ได้เดินทางจาก กรุงเทพมหานครถึงกรุงปักกิ่งโดยใช้เวลาประมาณ 4 ชั่วโมงเศษ ในขณะเดียวกันใช้เวลาอีก 4 ชั่วโมงในการเดินทางจากสนามบิน Beijing Capital International Airport มายัง State Key Lab of Rail Traffic Control & Safety ของ Beijing Jiatong University (BJTU) ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ : รูปที่ 1 คณะดูงานร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ รูปที่ 2 State Key Lab of Rail Traffic Control & Safety ของ Beijing Jiatong University (BJTU) รูปที่ 3 คณะทางานจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ งานวิจัยสาหรับระบบรถไฟ รูปที่ 4 ห้องปฏิบัติการระดับ State Key Lab ในวันรุ่งขึ้นได้มีการจัดแยกประชุมออกเป็นสองคณะ โดย มจพ. ซึ่งประกอบไปด้วย ดร. สุเทพ บุตรดี หัวหน้าทีมวิจัย พร้อมทั้ง คณะนักวิจัย Driving Simulator นายกิติศักดิ์ ตั้งใจดีและนายชัย อนันต์ สาขะจันทร์ ได้มีโอกาสหารือเชิงลึก Driving Simulator ร่วมกับ Assoc.Prof.Dr.Gao Beiyuan และคณะซึ่งอยู่ภายใต้การ ดูแลของ Prof.Dr.Fang Weining ส่วน สจล. นาคณะนักวิจัย Teaching Platform โดย ดร.วันวิสา ชัชวงษ์ หัวหน้าทีมวิจัย ผศ. มยุรี เลิศเวชกุล และทีมวิจัย นายสิปปกร แซ่เอี่ยว นายสมสิน ทอง ไกรรัตน์ นายธนวิชญ์ อนุวงศ์พินิจ และคุณศักดิ์ชาย เลิศเวชกุล ล่าม กิตติมศักดิ์ ซึ่งได้รับฟังบรรยายพร้อม ซัก-ถาม Assoc.Prof.Dr.Miao Jianrui และ Assoc.Prof.Dr.Lingyun Meng Page | 2 จากนั้นในช่วงบ่ายได้มีการเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ และทั้งคณะได้มีโอกาสดูงาน ห้องปฏิบัติการระดับ State Key Lab แห่งเดียวซึ่งตั้งอยู่บนตึกหลักของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ และยัง ได้ไปห้องปฏิบัติการอื่นๆ ที่น่าตื่นตาตื่นใจ อาทิ ห้องปฏิบัติการ High Speed Train Control System Testing Platform ห้องปฏิบัติการ CBTC Simulation and Testing Platform และ ห้องปฏิบัติการ Rail Transport Safety เป็นต้น ในวันที่สามและวันถัดๆไปทาง BJTU ได้จัดให้มีการ บรรยายและเจาะลึกลงในรายละเอียดของแต่ส่วนซึ่งถือว่าเป็น ประโยชน์และตอบโจทย์เป้าหมายการเดินทางครั้งนี้อย่างมาก ตรง ตามความตั้งใจที่จะกลับแบบไม่มือเปล่าพร้อมกับองค์ความรู้ข้อมูล การออกแบบรายละเอียด (Detailed Design) เพื่อเปิดโอกาสให้ นักเรียน นิสิต นักศึกษา ตลอดจน หน่วยปฏิบัติการเดินรถ นักวิจัย และผู้สนใจ ได้มีโอกาสศึกษา เรียนรู้ลักษณะการทางานตาม แบบอย่างของประเทศอุตสาหกรรมรถไฟระดับโลก ต้องขอขอบคุณ ผู้แทนจาก CRRC Qingdao Sifang โดย Dr.Lin Peng, He Jiajie และคุณเจษฎา ศักดาสุคนธ์ ที่ทาให้การเดินทางครั้งนี้สาเร็จลุล่วง ด้วยดี หวังว่าการเดินทางครั้งนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นของห้องปฏิบัติการ วิจัยสาหรับระบบรถไฟแห่งแรกของประเทศไทย พบกันใหม่ในการ เดินทางครั้งต่อไปครับ
  • 3. กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency พิธีปิดหลักสูตร วศร.5 16 ก.ย. 58 เวลา 9.00 – 12.00 น. พิธีมอบประกาศนียบัตร และพิธีปิดการฝึกอบรมหลักสูตร โครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) รุ่นที่ 5 ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสมภพ อมาตยกุล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่า การกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นผู้บรรยายพิเศษ เรื่อง Change Management ซึ่งมีผู้ผ่านการ อบรม วศร.5 ทั้งสิ้น 34 ท่าน โครงกำรจัดตั้งสถำบันฯ หำรือร่วมกับคมนำคม 15 ก.ย. 58 เวลา 14.00 น. การประชุมร่วมระหว่าง ผู้อานวยการ สวทช. และโครงการจัดตั้งสถาบันฯ สวทช. กับ รมว.กระทรวงคมนาคม (นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ) และ รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์) เกี่ยวกับแนวทางการสร้างความสามารถใน การพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางของประเทศ ณ ห้องประชุม 1 กระทรวงคมนาคม ประชุมคณะทำงำนพัฒนำบุคลำกรด้ำนระบบรำง 18 ก.ย. 58 เวลา 9.00 – 12.00 น. การประชุม คณะทางานพัฒนาบุคลากรรองรับการขนส่งทางราง ครั้ง ที่ 1/2558 ณ ห้องประชุมจันทรเกษม ชั้น 1 อาคารราช วัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะทางานที่ แต่งตั้งโดยคณะอนุกรรมการเตรียมการจัดตั้งสถาบัน พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ประชุมคณะทำงำนพัฒนำสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ 18 ก.ย. 58 เวลา 13.00 – 16.00 น.การประชุม คณะทางานพัฒนาสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง ทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2558 ณ อาคาร สวทช.โยธี ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นหนึ่งใน คณะทางานที่แต่งตั้งโดยคณะอนุกรรมการเตรียมการ จัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางราง แห่งชาติ เพื่อหารือเตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนา เทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ งำนวิจัยมุ่งเป้ำด้ำนกำรคมนำคมขนส่งทำงรำง 28 ก.ย. 58 เวลา 9.00 – 14.00 น. การสัมมนาวิชาการ เรื่อง งานวิจัยมุ่งเป้า ด้านการ คมนาคมขนส่งทางราง ณ ห้องประชุมจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ชั้น 2 อาคาร วช.1 สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยเครือข่ายองค์กร บริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ที่ประกอบด้วยสานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ สานักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกันจัดสัมมนานี้ขึ้นเพื่อเผยแพร่ ผลงานวิจัย ที่ได้รับทุนอุดหนุนงานวิจัยด้านการคมนาคมขนส่งระบบ รางให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน Page | 3 ตรวจรับผลงำนวิจัย Train Driving Simulator 30 ก.ย. 58 โครงการจัดตั้ง สถาบันฯ สวทช. ตรวจรับ ผลงานวิจัย โครงการวิจัยการ พัฒนาระบบการจาลองการขับ รถไฟและชุดทดสอบการทางาน ของหัวรถจักร Alstom (Train Driving Simulator) ณ ศูนย์ฝึกโรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ ซึ่งเป็น โครงการวิจัยทุน วช. ปี 56 โดยมี รศ.ดร.สุเทพ บุตรดี คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นหัวหน้าโครงการ โดยโครงการนี้ได้นาผลงานไปใช้จริงสาหรับทา การฝึกอบรมนักเรียนโรงเรียนวิศวกรรมรถไฟ ของการรถไฟแห่ง ประเทศไทย ประชุมโครงกำร Teaching Platform 7 ต.ค. 58 เวลา 13.30 น. การ ประชุมคณะทางานจัดตั้งศูนย์ ปฏิบัติการงานวิจัยสาหรับระบบ รถไฟ ณ ห้องประชุม 420 อาคาร สวทช.โยธี ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อหารือ ความคืบหน้าโครงการวิจัย การออกแบบและพัฒนาระบบจาลอง เสมือนจริงสาหรับการศึกษาและการวิจัยระบบรถไฟฟ้าความเร็วสูง (Design and Development of Teaching Platform of Opera- tion Organization and Control for High-speed Railway) และ โครงการเครื่องฝึกหัดขับรถไฟ (Train Driving Simulator)
  • 4. ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : ประชุมโครงกำร Test track facility 9 ต.ค. 58 เวลา 9.30 – 12.30 น. การประชุมโครงการ จัดสร้างศูนย์ปฏิบัติการวิจัยขบวนรถไฟรางและอุปกรณ์ ประกอบ (Test track facility) ครั้งที่ 2/2558 ณ ห้อง ประชุม M119 ชั้น 1 อาคารเอ็มเทค อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย เพื่อหารือแนวทางความร่วมมือของ ภาคอุตสาหกรรมต่อโครงการ Test track facility กีฬำเชื่อมสัมพันธ์ วศร. เมื่อวันที่ 16 ก.ย. 58 หลังจากเสร็จสิ้นพิธีปิดหลักสูตร วศร.5 สมาชิกเครือข่าย วศร. รุ่นที่ 1-4 และ วศร. รุ่นที่ 5 ร่วมกันแข่งขันกีฬาเชื่อมสัมพันธ์ โดยจัดขึ้นที่สนามฟุตบอลแห่งหนึ่งย่านพระราม 9 ผล การแข่งขัน ทีมวศร.5 ชนะ ทีมรวมวศร.1-4 ด้วยคะแนน 15 - 6 กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : ประชุมคณะกรรมกำรพัฒนำระบบนวัตกรรมของประเทศ 9 ต.ค. 58 เวลา 14.00 น. การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบนวัตกรรมของประเทศ (คพน.) ครั้งที่ 4/2558 ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ณ ห้องสีเขียว ตึกไทยคู่ฟ้า ทาเนียบรัฐบาล โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบในหลักการต่อ มาตรการเร่งด่วนการพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางเพื่อสนับสนุนโครงการลงทุนขนาด ใหญ่ของรัฐบาล และมอบหมายให้ สวทช. ประสานกับกระทรวงคมนาคม เพื่อจัดทารายละเอียด อย่างเร่งด่วนต่อไป ประธำน วศร.รุ่น 5 บอกกล่ำว “ ในฐานะประธานรุ่น วศร.5 ผม ยินดีเป็นตัวแทนปวารณาตน ที่จะ ให้ความร่วมมือในการพัฒนา ระบบขนส่งทางราง เพื่อประโยชน์ ของประชาชนคนไทย และเพื่อ ความมั่นคงของประเทศไทย ” ประชุมโครงกำร TAIST-Tokyo Tech 12 ต.ค. 58 เวลา 13.30 - 16.00 น. การประชุมหารือ โ ค ร ง ก า ร Thailand Ad- vanced Institute of Science and Technology และ Tokyo Institute of Technology (TAIST-Tokyo Tech) ณ ห้อง 720 อาคาร สวทช.โยธี ถ.พระรามที่ 6 กรุงเทพฯ ด้วยฝ่ายพัฒนาบัณฑิตและนักวิจัย สวทช. และโครงการ จัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ มีแนวคิดที่ จะพัฒนาหลักสูตร TAIST ระบบรางร่วมกับทาง Tokyo Institute of Technology ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโครงการผลิตนักศึกษาระดับ ปริญญาโท 3 สาขา ร่วมกันระหว่าง สวทช. มหาวิทยาลัยในประเทศ ไทย และ Tokyo Institute of Technology ประเทศญี่ปุ่น สัมมนำโครงกำรพัฒนำระบบซ่อมบำรุงและปฏิบัติกำรขนส่งระบบ รำงแบบรวม 12 ต.ค. 58 เวลา 8.30 – 13.00 น. การสัมมนา โครงการการพัฒนาระบบ ซ่อมบารุงและปฏิบัติการขนส่ง ระบบรางแบบรวม ณ ห้อง ฟอร์จูน 3 โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพ ซึ่งเป็นแผนงานวิจัยทุน วช. ปี 56 โดยมี ผศ.ดร.ประมวล สุธีจารุวัฒน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็นหัวหน้าแผนงานวิจัย Page | 4