SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
1
มีนาคม 2565 •
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
วช. - สวทช. หนุน ‘ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัยศักยภาพสูง’ สร้างการแข่งขันประเทศ ด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม
เอนก เร่งเครื่อง BCG ผ่านความร่วมมือของ สวทช. และ ปตท. มุ่งวิจัยต่อยอดนวัตกรรมสุขภาพการแพทย์แก้วิกฤติสุขภาพ
เนคเทค สวทช. จับมือเครือข่ายพันธมิตร เสริมแกร่งเยาวชนในยุค New Normal เฟ้นหาสุดยอดนวัตกรน้อยด้านเกษตรอัจฉริยะ
HandySense ตามเศรษฐกิจใหม่ BCG Model
วช. - สวทช. ส่งมอบนวัตกรรม MagikTuch ‘ลิฟต์ไร้สัมผัส’ แก่ผู้ว่าจังหวัดปทุมฯ เพื่อลดความเสี่ยง เลี่ยงสัมผัสเชื้อโควิด
สวทช. – อบจ.ระยอง ขยายผลพื้นที่สาธิตเทคโนโลยีถุงห่อทุเรียน Magik Growth ให้กลุ่มเกษตรกรสวนทุเรียนนำ�ร่องต้นแบบ
จ.ระยอง
ENTEC สวทช. ร่วม วช. ส่งมอบ ENcase เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อ ด้วยวิธีการผลิตทางไฟฟ้าเคมี แก่ 10 โรงพยาบาล ใน 4
จังหวัด
สวทช. มอบใบรับรองระบบบริหารการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้กับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
ใช้สิทธิยกเว้นภาษีได้ด้วยตนเอง (Self-Declaration)
ไอแทป สวทช. จับมือ ทีเซลส์ ช่วยผู้ประกอบการพัฒนา Cell Enhancer นวัตกรรมเพิ่มสารออกฤทธิ์ชีวภาพ เสริมแกร่งธุรกิจ
อาหารฟังก์ชัน
บทความ Article
ข่าว News
ที่ปรึกษา	 ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล, ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล, ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
	 ดร.ลดาวัลย์ กระแสร์ชล, กุลประภา นาวานุเคราะห์
กองบรรณาธิการ ชนานันท์ คงธนาฤทธิ์, อาทิตย์ ลมูลปลั่ง, วัชราภรณ์ สนทนา, วรรณงาม วีระผาสุก
อุดมรัตน์ วัฒนกูล, ไพรัตน์ ปัญญารักกิจ, สายพิณ ธนะศิริวัฒนา, บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
ต่อตระกูล พูลโสภา, ชมพูนุช อนุศาสน์สิทธิกิจ, วีณา ยศวังใจ, ปรมาภรณ์ จูฑะจันทร์, พีรภัฏ บุญชู
ศิลปกรรม ชุมพล พินิจธนสาร
ทีมงาน NSTDA e-newsletter
ผู้ผลิต
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และฝ่ายเผยแพร่วิทยาศาสตร์
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
โทรศัพท์ 0 2564 7000 ต่อ 71725 โทรสาร 0 2564 7078
http://www.nstda.or.th/
อีเมล pr@nstda.or.th
2
3
4
5
7
8
9
6
ในเล่ม Insight
อย่าหยุดเติมความรู้
เพื่อสร้างนวัตกรรมกับงาน 10
2 NSTDA • March 2022
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
2 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค (บางนา): กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
โดยสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.) และสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) ร่วมจัดแถลงข่าวพิธีลงนามบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือ “โครงการทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัยศักยภาพสูง” โดย ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
พร้อมด้วย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำ�นวยการ สวทช. และผู้บริหารทั้ง2 หน่วยงานเข้าร่วมงาน
และเป็นสักขีพยาน
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-mou-02022565/
วช. - สวทช. หนุน ‘ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัยศักยภาพสูง’
สร้างการแข่งขันประเทศด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม
3
มีนาคม 2565 •
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
4 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องแถลงข่าว ชั้น 1 อาคารพระจอมเกล้า สำ�นักงานปลัดกระทรวง อว.: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
พร้อมด้วย นายนพดล ปิ่นสุภา ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจใหม่และโครงสร้างพื้นฐาน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) (ปตท.)
และ ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ อดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะประธาน BCG สาขาเครื่องมือแพทย์
ร่วมแถลงข่าวพิธีลงนามความร่วมมือการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านสุขภาพและการแพทย์ตอบโจทย์โมเดลเศรษฐกิจ BCG ประกอบ
ด้วยการลงนามสัญญาถ่ายทอดเทคโนโลยีน้ำ�ยาเคลือบวัสดุคอมพอสิทของไฮดรอกซีอะพาไทต์และไทเทเนียมไดออกไซค์บนแผ่น
นอนวูฟเวนเพื่อใช้เป็นแผ่นกรองสำ�หรับการผลิตหน้ากากอนามัย Safie Plus และ การลงนามความร่วมมือการวิจัยและพัฒนาวัสดุ
ฝังในทางการแพทย์ (Implant devices) โดยได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.) เป็นประธานการลงนามและร่วมแสดงความยินดี พร้อมด้วย ศ.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
ปลัดกระทรวง อว. และผู้บริหารนักวิจัยของ 2 หน่วยงานเข้าร่วมงานแถลงข่าว
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-ptt-mou-04022565/
เอนก เร่งเครื่อง BCG
ผ่านความร่วมมือของ สวทช. และ ปตท.
มุ่งวิจัยต่อยอดนวัตกรรมสุขภาพการแพทย์แก้วิกฤติสุขภาพ
4 NSTDA • March 2022
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
เนคเทค สวทช. จับมือเครือข่ายพันธมิตร
เสริมแกร่งเยาวชนในยุค New Normal
เฟ้นหาสุดยอดนวัตกรน้อยด้านเกษตรอัจฉริยะ HandySense
ตามเศรษฐกิจใหม่ BCG Model
7 กุมภาพันธ์ 2565 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) โดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) จัดประกวดโครงการประยุกต์ใช้ระบบเกษตรอัจฉริยะ
HandySense ใช้งานได้จริงในโรงเรียนรอบชิงชนะเลิศในรูปแบบออนไลน์ สำ�หรับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายถึงมัธยมศึกษา
ตอนต้น ชิงรางวัลอุปกรณ์ HandySense พร้อมทุนพัฒนาโครงการฯ หวังเป็นจุดเริ่มต้นของเทคโนโลยีเกษตรที่ช่วย เติมเต็ม ก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชนอย่างยั่งยืน
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/handysense_contest/
5
มีนาคม 2565 •
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
9 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง
ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) นำ�โดย ดร.ศิวรักษ์
ศิวโมกษธรรม ผู้อำ�นวยการศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์ (NSD) สวทช. นำ�นวัตกรรม
MagikTuch ปุ่มกดลิฟต์ไร้สัมผัสแบบ2in1 ส่งมอบพร้อมติดตั้งภายในอาคารศาลากลางจังหวัดปทุมธานี โดยมีนายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร
ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี และคณะรับมอบนวัตกรรม พร้อมขอบคุณนักวิจัยและผู้บริหารหน่วยงานวิจัยภายใต้กระทรวง อว.
ที่คิดค้นและผลิตนวัตกรรมปุ่มกดลิฟต์แบบไร้สัมผัส เพื่อช่วยลดความเสี่ยง เลี่ยงการสัมผัสเชื้อโควิดแก่ประชาชนที่ใช้บริการและเจ้าหน้าที่
ที่เข้ามาทำ�งานภายในอาคารศาลากลางจังหวัดปทุมธานี
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/magiktuch-nstda-09022565/
วช. - สวทช. ส่งมอบนวัตกรรม
MagikTuch ‘ลิฟต์ไร้สัมผัส’ แก่ผู้ว่าจังหวัดปทุมฯ
เพื่อลดความเสี่ยง เลี่ยงสัมผัสเชื้อโควิด
6 NSTDA • March 2022
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
17 กุมภาพันธ์2565 ณ ห้องประชุม2 ชั้น3 องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง: เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก(EECi)
โดยสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.)
นำ�โดย ดร.เจนกฤษณ์ คณาธารณา รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และผู้อำ�นวยการเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi)
นางกุลประภา นาวานุเคราะห์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. นำ� ดร.ณัฐภพ สุวรรณเมฆ นักวิจัยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สวทช.
และทีมงานเข้าพบ นายมนตรี ชนะชัยวิบูลวัฒน์ ที่ปรึกษา อบจ. ระยอง นายสมศักดิ์ เกตุสาคร เลขานุการ นายก อบจ. ระยอง นางนวรถ
ปะรักมะสิทธิ์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักแผนภาพรวม สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) นายโชติชัย
บัวดิษ เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ไม้ผล จ.ระยอง และเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนทุเรียน จ.ระยอง เพื่อนำ�เสนอกิจกรรมนวัตกรรม
ถุงห่อทุเรียน Magik Growth สวนทุเรียนนำ�ร่องต้นแบบพื้นที่จังหวัดระยอง
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/eeci-magikgrowth-17202565/
สวทช. – อบจ.ระยอง ขยายผลพื้นที่สาธิต
เทคโนโลยีถุงห่อทุเรียน Magik Growth
ให้กลุ่มเกษตรกรสวนทุเรียนนำ�ร่องต้นแบบ จ.ระยอง
7
มีนาคม 2565 •
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
22 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องแถลงข่าวกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) อาคารพระจอมเกล้า กรุงเทพฯ
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย ดร.สุมิตรา จรสโรจน์กุล ผู้อำ�นวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมพลังงาน
ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (ENTEC) พร้อมด้วย ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมแถลงข่าว
ส่งมอบนวัตกรรม “ENcase” เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อด้วยวิธีการผลิตทางไฟฟ้าเคมีให้แก่โรงพยาบาล 10 แห่ง ใน 4 จังหวัด เพื่อให้
โรงพยาบาลสามารถผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้ออิเล็กโทรไลต์ “ENERclean” ได้เอง สำ�หรับใช้ทำ�ลายเชื้อโรคในขั้นตอนการบำ�บัดมูลฝอยติดเชื้อ
ภายในโรงพยาบาลและใช้ประโยชน์ในสถานการณ์ COVID-19
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/entec-encase-22022565/
ENTEC สวทช. ร่วม วช. ส่งมอบ ENcase
เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อ ด้วยวิธีการผลิตทางไฟฟ้าเคมี
แก่ 10 โรงพยาบาล ใน 4 จังหวัด
8 NSTDA • March 2022
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
สวทช. มอบใบรับรองระบบบริหาร
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ให้กับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
ใช้สิทธิยกเว้นภาษีได้ด้วยตนเอง (Self-Declaration)
22 กุมภาพันธ์2565 ณ ทรูดิจิทัล พาร์ค บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด(มหาชน): กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
(อว.) โดย สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มอบใบรับรองระบบบริหารการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม ให้แก่ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด(มหาชน) เพื่อรับรองว่าเป็นองค์กรที่มีศักยภาพและมาตรฐานในการบริหารจัดการองค์กร
เกี่ยวกับการดำ�เนินงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม พร้อมสามารถใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ 200% สำ�หรับรายจ่ายในการวิจัยได้ด้วยตนเอง
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/rdims/
9
มีนาคม 2565 •
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
ไอแทป สวทช. จับมือ ทีเซลส์
ช่วยผู้ประกอบการพัฒนา Cell Enhancer
นวัตกรรมเพิ่มสารออกฤทธิ์ชีวภาพ
เสริมแกร่งธุรกิจอาหารฟังก์ชัน
28 กุมภาพันธ์ 2565 ณ โถงอาคาร สวทช. (โยธี) ถ.พระรามที่ 6 กรุงเทพฯ: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
โดย ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) ร่วมกับศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยา
ศาสตร์ (องค์การมหาชน) (TCELS) พร้อมด้วย ดร.สรวง สมานหมู่ นักวิจัยผู้เชี่ยวชาญโครงการดำ�เนินการวิจัยให้กับ บริษัท แอดวาเทค
จำ�กัด ร่วมแถลงข่าวเพิ่มมูลค่าเกษตรไทย ตอบโจทย์โมเดล BCG หัวข้อ “Cell Enhancer นวัตกรรมเพิ่มสารออกฤทธิ์ชีวภาพ เสริมแกร่ง
ธุรกิจอาหารฟังก์ชัน”
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/cell-enhancer/
10 NSTDA • March 2022
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
เรียบเรียง: อาทิตย์ ลมูลปลั่ง
		 หากคุณกำ�ลังสร้างนวัตกรรมในองค์กร หากคุณต้องการต่อยอดธุรกิจให้เติบโต หรือหากคุณต้องการหาความรู้
เพื่อพัฒนางานในวิชาชีพของตนเอง คุณไม่ควรพลาด งานประชุมวิชาการประจำ�ปี สวทช. ครั้งที่ 17 หรือ ‘NAC2022’
งานแนค (NAC2022) จัดโดยสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. ปีนี้ด้วยสถานการณ์
โควิด-19 จึงจัดบนแพลตฟอร์มออนไลน์ช่องทาง www.nstda.or.th/nac ระหว่างวันที่ 28-31 มีนาคม 2565 เพื่อคน
ทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นนักเรียนนักศึกษา ผู้ประกอบการ รวมทั้งอาจารย์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยทั้งในและต่างประเทศ
ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการวิจัยและพัฒนา เพื่อนำ�เอาองค์ความรู้มาสื่อสาร แลกเปลี่ยนและพัฒนานวัตกรรมที่ดีที่สุด
อย่าหยุดเติมความรู้
เพื่อสร้างนวัตกรรมกับงาน
11
มีนาคม 2565 •
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
	 	 ดร.ณรงค์ศิริเลิศวรกุลผู้อำ�นวย
การสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าว
ว่า ‘NAC2022’ ถือเป็นอีกหนึ่งเวที ที่
จัดขึ้นมาให้เกิดการแลกเปลี่ยนอย่าง
สมบูรณ์ ทั้งฝั่ง Demand ฝั่ง Supply
และฝั่งที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุน
กิจกรรมต่างๆ ที่นำ�วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์และพัฒนา
ประเทศอย่างต่อเนื่อง ฉะนั้นการ
จัดประชุมวิชาการประจำ�ปี สวทช.
ทุกๆ ปี เป้าหมายนอกจากเผยแพร่
ความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ร่วม
กันแล้ว เป้าหมายหลักยังเป็นการ
ช่วยกันพัฒนาประเทศผ่านการ
ทำ�งานร่วมกันบนกลไก ‘จตุภาคี’
ตามแนวคิดโมเดลเศรษฐกิจ BCG
ซึ่งหมายถึงการทำ�งานร่วมกันระหว่าง
ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาสังคม และ
ภาควิชาการ
		 ไฮไลต์สำ�คัญของงาน
NAC2022 มีการสัมมนาออนไลน์ 45
หัวข้อ 4 วันเต็มของการจัดงาน เพื่อ
รับฟังความเห็นจากภาคเอกชนและ
เกษตรกรซึ่งเป็นผู้ผลิต และนำ�ข้อคิด
เห็น นำ�โจทย์วิจัยที่ท้าทายกลับเข้า
มายังหน่วยวิจัย เพื่อคิดค้นนวัตกรรม
นั้นๆ ออกไปยังภาคการผลิตและ
ภาคประชาสังคมเพื่อให้เกิดการใช้
ประโยชน์และแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้น
ระยะยาวของสังคมไทย
		 ตัวอย่างนวัตกรรม102 ผลงาน
ให้ชมในรูปแบบนิทรรศการออนไลน์
ซึ่งปีนี้ผลงานวิจัยและนวัตกรรมนำ�
มาแสดงภายใต้แนวคิด พลิกฟื้น
เศรษฐกิจและสังคมไทยด้วยงานวิจัย
และนวัตกรรม BCG ทั้ง 4 สาขา
ได้แก่1. เกษตรและอาหาร2. สุขภาพ
และการแพทย์ 3. พลังงาน วัสดุและ
เคมีชีวภาพ และ4. การท่องเที่ยวและ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตัวอย่างเช่น
12 NSTDA • March 2022
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
สาขาเกษตรและอาหาร
	ผลิตภัณฑ์ถุงมือ
	 ยางธรรมชาติโปรตีนต่ำ�
		 นักวิจัยเอ็มเทค สวทช. ลด
ปริมาณโปรตีนที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ใน
ผลิตภัณฑ์ถุงมือยางธรรมชาติให้
มีปริมาณโปรตีนที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้
น้อยเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO
11193-1:2008, EN 455 และ ASTM
D3578-05 ช่วยยกระดับคุณภาพ
ของผลิตภัณฑ์ถุงมือยางธรรมชาติให้
สามารถแข่งขันได้กับผลิตภัณฑ์ถุงมือ
ยางสังเคราะห์ และรักษาความเป็น
ผู้นำ�ด้านการผลิตยางและผลิตภัณฑ์
ยางธรรมชาติของประเทศไทย
	 “Plant-based egg”
	ผลิตภัณฑ์ไข่เหลวจาก
	โปรตีนพืช
		 ทีมวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทาง
อาหาร ไบโอเทค และบริษัท ดรอป
แอนด์พิค กรุ๊ป จำ�กัด ได้ร่วมพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ไข่เหลวพาสเจอร์ไรซ์จาก
โปรตีนพืชครั้งแรกของไทย โดยพัฒนา
สูตรโปรตีนจากพืชเป็นไข่เหลวจากพืช
พาสเจอร์ไรซ์ ที่มีคุณสมบัติในการ
ขึ้นรูปในระหว่างการทอดในน้ำ�มัน
ได้ และเนื้อสัมผัส ใกล้เคียงกับไข่ไก่
นำ�ไปใช้ประกอบอาหารได้หลากหลาย
เมนู เหมาะสำ�หรับกลุ่มผู้บริโภคกลุ่ม
กินวีแกน(Vegan) และกลุ่มที่แพ้ไข่ไก่
	 นวัตกรรม มะนีมะนาว
	 น้ำ�มะนาวคั้นสด 100%
	 แช่แข็ง (ManeeManao)
		 “น้ำ�มะนาวแช่แข็ง” นักวิจัย
นาโนเทค สวทช. ได้เปลี่ยนสภาวะ
การแช่เยือกแข็งที่เหมาะสม โดยขั้น
ตอนการผลิตเดิมไม่ถูกเปลี่ยน ช่วย
เพิ่มคุณสมบัติในการลดการทำ�งาน
ของเอนไซม์ ผลการทดสอบด้วย
กระบวนการที่ปรับปรุงนั้นคือ กลิ่น
สี และรสของน้ำ�มะนาวแช่แข็งที่นำ�
มาทำ�ละลายเทียบเคียงน้ำ�มะนาวสด
ซึ่งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของกลิ่น
สี รส ภายใน 2-3 วัน แต่น้ำ�มะนาว
แช่แข็งสามารถเก็บได้นานกว่า 2 ปี
ที่สำ�คัญหากนำ�น้ำ�มะนาวแช่แข็งด้วย
กระบวนการที่ปรับปรุงนี้ไปทำ�ละลาย
แล้ว สามารถเก็บในรูปของเหลวได้
นาน 2-3 เดือน โดยที่กลิ่น สี และรส
เทียบเคียงมะนาวสด
	การผลิตและเพิ่มมูลค่า
	พันธุ์ฟักทองไข่เน่า
	อัตลักษณ์ท้องถิ่น
	 กลุ่มนาน้อย จ.น่าน
	 	 ตัวอย่างความสำ�เร็จการพัฒนา
ชุมชนด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG :
		โดยสถาบันการจัดการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
(สท.) สวทช. ถ่ายทอดองค์ความรู้
และเทคโนโลยีการคัดเลือกสายพันธุ์
13
มีนาคม 2565 •
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
ฟักทอง การคัดเลือกสายพันธุ์ฟักทอง
ไข่เน่า เพื่อการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรท้องถิ่น สู่การรับรองเป็น
พันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นของ จ.น่าน
ทำ�ให้ได้สายพันธุ์ฟักทองไข่เน่าที่มีสี
เขียวปนเหลือง มีความสม่ำ�เสมอของ
รูปทรงผล มีรสชาติหวาน มัน อร่อย
และเนื้อเหนียวหนึบ นอกจากนี้ยังส่ง
ผลผลิตสดจำ�หน่ายซูเปอร์มาร์เก็ต
ชั้นนำ� และสร้างมูลค่าเพิ่มโดยแปรรูป
เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ฟักทองผง
ข้าวเกรียบฟักทอง ส่วนเมล็ดฟักทอง
นำ�มาสกัดเป็น “น้ำ�มันเมล็ดฟักทอง”
ชิ้นส่วนที่เหลืออื่นๆ นำ�ไปหมักด้วย
หัวเชื้อจุลินทรีย์ประสิทธิภาพสูงเพื่อ
ใช้เป็นอาหารสัตว์สำ�หรับเลี้ยงไก่ไข่
อินทรีย์และโค ทำ�ให้เป็นชุมชนที่มี
ระบบการผลิตทางการเกษตรให้ปลอด
วัสดุเหลือใช้ (Zero waste agricul-
ture) อย่างแท้จริง
14 NSTDA • March 2022
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
	 Handy Sense +
	 Farm to School
		 นักวิจัยเนคเทค สวทช. คิดค้น
ระบบเกษตรแม่นยำ� ฟาร์มอัจฉริยะ
(HandySense) ประกอบด้วยอุปกรณ์
ตรวจวัดและควบคุมสภาพแวดล้อม
ที่เป็นปัจจัยต่อการเจริญเติบโตของ
พืช ด้วยการนำ�เทคโนโลยีเซนเซอร์
(sensor) ผนวกอุปกรณ์ไอโอที
(Internet of Things) มาพร้อมกับ
ความโดดเด่นคือ อุปกรณ์ใช้งานง่าย
ทนทานต่อสภาพแวดล้อม ในราคาที่
เกษตรกรเข้าถึงได้ โดยHandySense
จะตรวจวัดค่าสภาพแวดล้อมที่สำ�คัญ
ต่อการเจริญเติบโตของพืชผลแบบ
เรียลไทม์ผ่านเซนเซอร์ (sensor)
ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิ ความชื้นใน
ดิน ความชื้นสัมพัทธ์ แสง และส่ง
ต่อข้อมูลจากเซนเซอร์ผ่านระบบ
คลาวด์แล้วนำ�มาเปรียบเทียบกับค่าที่
เหมาะสมของการเพาะปลูกพืช(Crop
Requirement) เพื่อแจ้งเตือนและสั่ง
การระบบต่างๆ ให้ทำ�งานต่อไป
		 มีการติดตั้งใช้งานไปแล้ว
มากกว่า 100 แห่งทั่วประเทศ และ
ประกาศเป็นเทคโนโลยีแบบเปิด
(OpenInnovation) เพื่อให้ผู้สนใจนำ�
ไปใช้กับแปลงเกษตรและเชิงพาณิชย์
ได้แล้ว และขยายผลสู่ Farm to
School ทดสอบการใช้งานในพื้นที่
นำ�ร่องของโครงการใน 3 ตำ�บล
3 อำ�เภอของจังหวัดสุรินทร์
ประกอบด้วย 8 กลุ่มวิสาหกิจ
และเครือข่ายเกษตรกรและ
5 โรงเรียนใน ต.จอมพระ อ.จอมพระ,
นำ�มาตรวจสอบภายในห้องปฏิบัติการ
และต้องใช้อุปกรณ์และเครื่องอ่านผล
ใช้เวลาในการตรวจสอบจนทราบผล
ประมาณ 1-2 วัน
		 ทีมนักวิจัย จึงได้พัฒนาชุด
ตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบstriptest
สามารถพกพาไปใช้ในภาคสนาม โดย
ไม่ต้องเก็บตัวอย่างส่งมาตรวจยังห้อง
ปฏิบัติการ ทราบผลได้ภายใน15 นาที
และตรวจสอบได้เองโดยไม่ต้องอาศัย
ผู้ชำ�นาญการและเครื่องมือวัดอ่านผล
ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากในการ
ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังการแพร่
	 ชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ strip test
	 สำ�หรับตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสใบด่างมันสำ�ปะหลัง
		 สวทช. ได้พัฒนาเทคนิค
การตรวจกรองไวรัสใบด่างในต้น
พันธุ์มันสำ�ปะหลัง โดยได้พัฒนา
น้ำ�ยาแอนติบอดีสำ�หรับตรวจไวรัส
ใบด่างมันสำ�ปะหลังสายพันธุ์ที่พบ
ในประเทศไทยโดยใช้เทคนิคอิไล
ซ่า (ELISA) พบว่า น้ำ�ยาแอนติบอดี
ที่พัฒนาขึ้นมีความไว (sensitivity)
ในการตรวจมากกว่าน้ำ�ยาที่มีการขาย
ในเชิงการค้า และมีราคาต่อตัวอย่าง
ถูกกว่าที่นำ�เข้าจากต่างประเทศ
อย่างไรก็ตาม การตรวจด้วยเทค
นิคอิไลซ่าจำ�เป็นต้องเก็บตัวอย่าง
ต.อู่โลก อ.ลำ�ดวน และ ต.ตานี
อ.ปราสาท
15
มีนาคม 2565 •
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
ระบาดของโรคใบด่างมันสำ�ปะหลัง
ในประเทศไทย รวมถึงการตรวจหา
เชื้อในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการ
ผลิตต้นพันธุ์ปลอดเชื้อต่อไป
สาขาสาขาสุขภาพและการแพทย์
	 เทคโนโลยี Pseudotype virus (ไวรัสตัวแทน)
	 สำ�หรับประเมินประสิทธิภาพของวัคซีนโควิด-19
		 สวทช. ผลงานพัฒนาสำ�เร็จและได้ใช้งานจริงเพื่อประเมิน
ประสิทธิภาพของวัคซีนกับโครงการวัคซีนโควิด-19 ของประเทศไทย
เช่น Chula-Cov-19, วัคซีนของบริษัทใบยาไฟโตฟาร์ม และ วัคซีน
ขององค์การเภสัชกรรม นวัตกรรมนี้ยังได้ถูกใช้ประโยชน์เพื่อประเมิน
ประสิทธิภาพวัคซีนสูตรต่างๆ ที่ใช้ในประเทศไทยต่อการระบาดของไวรัส
สายพันธุ์ใหม่ เช่น สายพันธุ์โอมิครอนBA.1 และBA.2 นอกจากนี้เทคโนโลยี
Pseudotypedvirus ยังสามารถต่อยอดนำ�ไปเป็นวิธีทดสอบหายาต้านไวรัส
ตัวใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแอนติบอดีรักษาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเข้าสู่เซลล์
ของไวรัสสายพันธุ์ต่างๆ โดยทีมวิจัยของ สวทช เป็นผู้ดำ�เนินการ
ทดสอบ และมีแผนร่วมมือกับหลายหน่วยงานเกี่ยวกับการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีในอนาคต
16 NSTDA • March 2022
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
	 นวัตกรรม “ENcase”
	 เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อ
	ด้วยวิธีการผลิตทาง
	ไฟฟ้าเคมี
		 นักวิจัยศูนย์เทคโนโลยีพลังงาน
แห่งชาติ (ENTEC) สวทช. คิดค้น
เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อด้วยวิธีทาง
ไฟฟ้าเคมี ในชื่อ ENcase ที่ใช้เพียง
ส่วนผสมระหว่าง เกลือกับน้ำ�บริสุทธิ์
เพื่อทำ�เป็นสารละลายเกลือแกง ก่อน
ใช้กระบวนการทางไฟฟ้าทำ�ปฏิกิริยา
เคมี จนได้น้ำ�ยาออกมา 2 ชนิด
พร้อมกัน คือกรดและด่าง โดยใน
ส่วนที่เป็นกรดมีองค์ประกอบของ
ไฮโปคลอรัส มีคุณสมบัติเป็นกรด
อ่อน ๆ ซึ่งผ่านการทดสอบแล้วพบ
ว่า มีประสิทธิภาพเพียงพอในการ
ฆ่าเชื้อแบคทีเรียและไวรัส ทีมนัก
วิจัยจึงตั้งชื่อน้ำ�ยาในส่วนที่เป็นกรด
ไฮโปคลอรัสว่า ENERclean ผลงาน
ดังกล่าวได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย
จากสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ในการพัฒนาเครื่อง Encase สำ�หรับ
นำ�ไปใช้ประโยชน์ในสถานการณ์การ
ระบาดของโควิด-19 ซึ่งปัจจุบันได้
นำ�ร่องส่งมอบและติดตั้งเครื่องต้น
แบบให้กับโรงพยาบาล 10 แห่ง
ใน 4 จังหวัด ทำ�ให้โรงพยาบาล
สามารถผลิตน้ำ�ยาENERclean ใช้ได้
เองและนำ�ไปใช้ฆ่าเชื้อขยะมูลฝอย
หรือขยะติดเชื้อของโรงพยาบาล
เพื่อลดต้นทุนและปลอดภัยกับ
ผู้ใช้งาน
สาขา พลังงาน วัสดุและเคมีชีวภาพ
	 แบบจำ�ลองสามมิติค่าการหมุนเวียน เพื่อความยั่งยืนในอุตสาหกรรมก่อสร้าง
	 (3D Circularity model)
17
มีนาคม 2565 •
มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12
		 เครื่องมือสำ�หรับประเมินผล
กระทบสิ่งแวดล้อมและตัวเลขการ
หมุนเวียนของวัสดุ (Material Circu-
larity Indicator: MCI) ตามแนวคิด
เศรษฐกิจหมุนเวียนของวัสดุก่อสร้าง
สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสิน
ใจ สำ�หรับนักออกแบบผลิตภัณฑ์และ
ผู้ซื้อในการพิจารณาเพื่อเลือกวัสดุที่ใช้
จะต้องมาจากส่วนประกอบที่นำ�กลับ
มาใช้ใหม่ได้โดยไม่สูญเสียการรีไซเคิล
		 ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล ผู้
อำ�นวยการศูนย์เทคโนโลยีโละและ
วัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. ใน
ฐานะประธานการจัดงาน NAC2022
กล่าวเพิ่มเติมว่า อีกหนึ่งกิจกรรม
ที่น่าสนใจคือ Open House หรือ
การเปิดบ้านให้ผู้ประกอบการ และ
นักลงทุน ได้เยี่ยมชมแบบออนไลน์
จากการนําเสนอเทคโนโลยีจากความ
ชำ�นาญของห้องปฏิบัติการชั้นนำ� 45
ห้องปฏิบัติการจำ�นวนรวม 60 เรื่อง
ซึ่งความพิเศษของการจัดในรูปแบบ
ออนไลน์ คือ สวทช. เปิดบ้านให้เห็น
ห้องปฏิบัติการวิจัยผ่านวีดีโอแบบ
ใกล้ชิด และหากมีคำ�ถามก็สามารถ
แชทข้อความสอบถามได้ทันที ดังนั้น
“งาน ‘NAC2022’ เป็นโอกาสอีกครั้ง
ท่ามกลางวิกฤติโควิด-19 เมื่อคุณเข้า
ร่วมงาน คุณจะเห็นว่า วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม เป็นฟัน
เฟืองสำ�คัญที่จะทำ�ให้ประเทศไทยเข้ม
แข็งและยั่งยืนไปด้วยกัน”
		 ดร.ณรงค์ กล่าวทิ้งท้ายว่า
“อย่าหยุดเติมความรู้ เพื่อสร้าง
นวัตกรรม” เพราะหากเมื่อไหร่ที่เรา
หยุดเติมความรู้ องค์ความรู้เราก็จะ
ถดถอย และจะสร้างนวัตกรรมไม่
ได้ ความสามารถในการแข่งขันก็จะ
ถดถอยไปด้วย ดังนั้นงาน NAC2022
จะเป็นอีกแพลตฟอร์มออนไลน์สำ�คัญ
ที่เราจะเติมความรู้ นำ�ความรู้เหล่านั้น
ไปสร้างนวัตกรรมเพื่อประโยชน์ของ
ตัวเราเอง
		 28-31 มีนาคมนี้ ชวนกันมา
เติมความรู้ เพื่อสร้างสรรค์คนวัตกรรม
ไปด้วยกัน บนแพลตฟอร์มออนไลน์
เต็มรูปแบบที่ www.nstda.or.th/
nac กับงานประชุมวิชาการประจำ�
ปี สวทช. ครั้งที่ 17 ภายใต้แนวคิด
พลิกฟื้นเศรษฐกิจและสังคมไทยด้วย
งานวิจัยและนวัตกรรม BCG

More Related Content

Similar to NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565

NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565 (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
 
20150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-201520150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-2015
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (19)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
 

NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565

  • 1. 1 มีนาคม 2565 • มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 วช. - สวทช. หนุน ‘ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัยศักยภาพสูง’ สร้างการแข่งขันประเทศ ด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม เอนก เร่งเครื่อง BCG ผ่านความร่วมมือของ สวทช. และ ปตท. มุ่งวิจัยต่อยอดนวัตกรรมสุขภาพการแพทย์แก้วิกฤติสุขภาพ เนคเทค สวทช. จับมือเครือข่ายพันธมิตร เสริมแกร่งเยาวชนในยุค New Normal เฟ้นหาสุดยอดนวัตกรน้อยด้านเกษตรอัจฉริยะ HandySense ตามเศรษฐกิจใหม่ BCG Model วช. - สวทช. ส่งมอบนวัตกรรม MagikTuch ‘ลิฟต์ไร้สัมผัส’ แก่ผู้ว่าจังหวัดปทุมฯ เพื่อลดความเสี่ยง เลี่ยงสัมผัสเชื้อโควิด สวทช. – อบจ.ระยอง ขยายผลพื้นที่สาธิตเทคโนโลยีถุงห่อทุเรียน Magik Growth ให้กลุ่มเกษตรกรสวนทุเรียนนำ�ร่องต้นแบบ จ.ระยอง ENTEC สวทช. ร่วม วช. ส่งมอบ ENcase เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อ ด้วยวิธีการผลิตทางไฟฟ้าเคมี แก่ 10 โรงพยาบาล ใน 4 จังหวัด สวทช. มอบใบรับรองระบบบริหารการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้กับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ใช้สิทธิยกเว้นภาษีได้ด้วยตนเอง (Self-Declaration) ไอแทป สวทช. จับมือ ทีเซลส์ ช่วยผู้ประกอบการพัฒนา Cell Enhancer นวัตกรรมเพิ่มสารออกฤทธิ์ชีวภาพ เสริมแกร่งธุรกิจ อาหารฟังก์ชัน บทความ Article ข่าว News ที่ปรึกษา ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล, ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล, ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ดร.ลดาวัลย์ กระแสร์ชล, กุลประภา นาวานุเคราะห์ กองบรรณาธิการ ชนานันท์ คงธนาฤทธิ์, อาทิตย์ ลมูลปลั่ง, วัชราภรณ์ สนทนา, วรรณงาม วีระผาสุก อุดมรัตน์ วัฒนกูล, ไพรัตน์ ปัญญารักกิจ, สายพิณ ธนะศิริวัฒนา, บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ต่อตระกูล พูลโสภา, ชมพูนุช อนุศาสน์สิทธิกิจ, วีณา ยศวังใจ, ปรมาภรณ์ จูฑะจันทร์, พีรภัฏ บุญชู ศิลปกรรม ชุมพล พินิจธนสาร ทีมงาน NSTDA e-newsletter ผู้ผลิต ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และฝ่ายเผยแพร่วิทยาศาสตร์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 7000 ต่อ 71725 โทรสาร 0 2564 7078 http://www.nstda.or.th/ อีเมล pr@nstda.or.th 2 3 4 5 7 8 9 6 ในเล่ม Insight อย่าหยุดเติมความรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมกับงาน 10
  • 2. 2 NSTDA • March 2022 มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 2 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค (บางนา): กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.) และสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) ร่วมจัดแถลงข่าวพิธีลงนามบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ “โครงการทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัยศักยภาพสูง” โดย ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พร้อมด้วย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำ�นวยการ สวทช. และผู้บริหารทั้ง2 หน่วยงานเข้าร่วมงาน และเป็นสักขีพยาน อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-mou-02022565/ วช. - สวทช. หนุน ‘ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัยศักยภาพสูง’ สร้างการแข่งขันประเทศด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม
  • 3. 3 มีนาคม 2565 • มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 4 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องแถลงข่าว ชั้น 1 อาคารพระจอมเกล้า สำ�นักงานปลัดกระทรวง อว.: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พร้อมด้วย นายนพดล ปิ่นสุภา ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจใหม่และโครงสร้างพื้นฐาน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) (ปตท.) และ ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ อดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะประธาน BCG สาขาเครื่องมือแพทย์ ร่วมแถลงข่าวพิธีลงนามความร่วมมือการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านสุขภาพและการแพทย์ตอบโจทย์โมเดลเศรษฐกิจ BCG ประกอบ ด้วยการลงนามสัญญาถ่ายทอดเทคโนโลยีน้ำ�ยาเคลือบวัสดุคอมพอสิทของไฮดรอกซีอะพาไทต์และไทเทเนียมไดออกไซค์บนแผ่น นอนวูฟเวนเพื่อใช้เป็นแผ่นกรองสำ�หรับการผลิตหน้ากากอนามัย Safie Plus และ การลงนามความร่วมมือการวิจัยและพัฒนาวัสดุ ฝังในทางการแพทย์ (Implant devices) โดยได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.) เป็นประธานการลงนามและร่วมแสดงความยินดี พร้อมด้วย ศ.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวง อว. และผู้บริหารนักวิจัยของ 2 หน่วยงานเข้าร่วมงานแถลงข่าว อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-ptt-mou-04022565/ เอนก เร่งเครื่อง BCG ผ่านความร่วมมือของ สวทช. และ ปตท. มุ่งวิจัยต่อยอดนวัตกรรมสุขภาพการแพทย์แก้วิกฤติสุขภาพ
  • 4. 4 NSTDA • March 2022 มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 เนคเทค สวทช. จับมือเครือข่ายพันธมิตร เสริมแกร่งเยาวชนในยุค New Normal เฟ้นหาสุดยอดนวัตกรน้อยด้านเกษตรอัจฉริยะ HandySense ตามเศรษฐกิจใหม่ BCG Model 7 กุมภาพันธ์ 2565 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) จัดประกวดโครงการประยุกต์ใช้ระบบเกษตรอัจฉริยะ HandySense ใช้งานได้จริงในโรงเรียนรอบชิงชนะเลิศในรูปแบบออนไลน์ สำ�หรับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายถึงมัธยมศึกษา ตอนต้น ชิงรางวัลอุปกรณ์ HandySense พร้อมทุนพัฒนาโครงการฯ หวังเป็นจุดเริ่มต้นของเทคโนโลยีเกษตรที่ช่วย เติมเต็ม ก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชนอย่างยั่งยืน อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/handysense_contest/
  • 5. 5 มีนาคม 2565 • มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 9 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) นำ�โดย ดร.ศิวรักษ์ ศิวโมกษธรรม ผู้อำ�นวยการศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์ (NSD) สวทช. นำ�นวัตกรรม MagikTuch ปุ่มกดลิฟต์ไร้สัมผัสแบบ2in1 ส่งมอบพร้อมติดตั้งภายในอาคารศาลากลางจังหวัดปทุมธานี โดยมีนายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี และคณะรับมอบนวัตกรรม พร้อมขอบคุณนักวิจัยและผู้บริหารหน่วยงานวิจัยภายใต้กระทรวง อว. ที่คิดค้นและผลิตนวัตกรรมปุ่มกดลิฟต์แบบไร้สัมผัส เพื่อช่วยลดความเสี่ยง เลี่ยงการสัมผัสเชื้อโควิดแก่ประชาชนที่ใช้บริการและเจ้าหน้าที่ ที่เข้ามาทำ�งานภายในอาคารศาลากลางจังหวัดปทุมธานี อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/magiktuch-nstda-09022565/ วช. - สวทช. ส่งมอบนวัตกรรม MagikTuch ‘ลิฟต์ไร้สัมผัส’ แก่ผู้ว่าจังหวัดปทุมฯ เพื่อลดความเสี่ยง เลี่ยงสัมผัสเชื้อโควิด
  • 6. 6 NSTDA • March 2022 มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 17 กุมภาพันธ์2565 ณ ห้องประชุม2 ชั้น3 องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง: เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก(EECi) โดยสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.) นำ�โดย ดร.เจนกฤษณ์ คณาธารณา รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และผู้อำ�นวยการเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) นางกุลประภา นาวานุเคราะห์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. นำ� ดร.ณัฐภพ สุวรรณเมฆ นักวิจัยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สวทช. และทีมงานเข้าพบ นายมนตรี ชนะชัยวิบูลวัฒน์ ที่ปรึกษา อบจ. ระยอง นายสมศักดิ์ เกตุสาคร เลขานุการ นายก อบจ. ระยอง นางนวรถ ปะรักมะสิทธิ์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักแผนภาพรวม สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) นายโชติชัย บัวดิษ เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ไม้ผล จ.ระยอง และเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนทุเรียน จ.ระยอง เพื่อนำ�เสนอกิจกรรมนวัตกรรม ถุงห่อทุเรียน Magik Growth สวนทุเรียนนำ�ร่องต้นแบบพื้นที่จังหวัดระยอง อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/eeci-magikgrowth-17202565/ สวทช. – อบจ.ระยอง ขยายผลพื้นที่สาธิต เทคโนโลยีถุงห่อทุเรียน Magik Growth ให้กลุ่มเกษตรกรสวนทุเรียนนำ�ร่องต้นแบบ จ.ระยอง
  • 7. 7 มีนาคม 2565 • มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 22 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องแถลงข่าวกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) อาคารพระจอมเกล้า กรุงเทพฯ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย ดร.สุมิตรา จรสโรจน์กุล ผู้อำ�นวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมพลังงาน ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (ENTEC) พร้อมด้วย ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมแถลงข่าว ส่งมอบนวัตกรรม “ENcase” เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อด้วยวิธีการผลิตทางไฟฟ้าเคมีให้แก่โรงพยาบาล 10 แห่ง ใน 4 จังหวัด เพื่อให้ โรงพยาบาลสามารถผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้ออิเล็กโทรไลต์ “ENERclean” ได้เอง สำ�หรับใช้ทำ�ลายเชื้อโรคในขั้นตอนการบำ�บัดมูลฝอยติดเชื้อ ภายในโรงพยาบาลและใช้ประโยชน์ในสถานการณ์ COVID-19 อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/entec-encase-22022565/ ENTEC สวทช. ร่วม วช. ส่งมอบ ENcase เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อ ด้วยวิธีการผลิตทางไฟฟ้าเคมี แก่ 10 โรงพยาบาล ใน 4 จังหวัด
  • 8. 8 NSTDA • March 2022 มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 สวทช. มอบใบรับรองระบบบริหาร การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้กับ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ใช้สิทธิยกเว้นภาษีได้ด้วยตนเอง (Self-Declaration) 22 กุมภาพันธ์2565 ณ ทรูดิจิทัล พาร์ค บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด(มหาชน): กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มอบใบรับรองระบบบริหารการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรม ให้แก่ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด(มหาชน) เพื่อรับรองว่าเป็นองค์กรที่มีศักยภาพและมาตรฐานในการบริหารจัดการองค์กร เกี่ยวกับการดำ�เนินงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม พร้อมสามารถใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ 200% สำ�หรับรายจ่ายในการวิจัยได้ด้วยตนเอง อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/rdims/
  • 9. 9 มีนาคม 2565 • มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ไอแทป สวทช. จับมือ ทีเซลส์ ช่วยผู้ประกอบการพัฒนา Cell Enhancer นวัตกรรมเพิ่มสารออกฤทธิ์ชีวภาพ เสริมแกร่งธุรกิจอาหารฟังก์ชัน 28 กุมภาพันธ์ 2565 ณ โถงอาคาร สวทช. (โยธี) ถ.พระรามที่ 6 กรุงเทพฯ: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) ร่วมกับศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยา ศาสตร์ (องค์การมหาชน) (TCELS) พร้อมด้วย ดร.สรวง สมานหมู่ นักวิจัยผู้เชี่ยวชาญโครงการดำ�เนินการวิจัยให้กับ บริษัท แอดวาเทค จำ�กัด ร่วมแถลงข่าวเพิ่มมูลค่าเกษตรไทย ตอบโจทย์โมเดล BCG หัวข้อ “Cell Enhancer นวัตกรรมเพิ่มสารออกฤทธิ์ชีวภาพ เสริมแกร่ง ธุรกิจอาหารฟังก์ชัน” อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/cell-enhancer/
  • 10. 10 NSTDA • March 2022 มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 เรียบเรียง: อาทิตย์ ลมูลปลั่ง หากคุณกำ�ลังสร้างนวัตกรรมในองค์กร หากคุณต้องการต่อยอดธุรกิจให้เติบโต หรือหากคุณต้องการหาความรู้ เพื่อพัฒนางานในวิชาชีพของตนเอง คุณไม่ควรพลาด งานประชุมวิชาการประจำ�ปี สวทช. ครั้งที่ 17 หรือ ‘NAC2022’ งานแนค (NAC2022) จัดโดยสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. ปีนี้ด้วยสถานการณ์ โควิด-19 จึงจัดบนแพลตฟอร์มออนไลน์ช่องทาง www.nstda.or.th/nac ระหว่างวันที่ 28-31 มีนาคม 2565 เพื่อคน ทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นนักเรียนนักศึกษา ผู้ประกอบการ รวมทั้งอาจารย์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยทั้งในและต่างประเทศ ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการวิจัยและพัฒนา เพื่อนำ�เอาองค์ความรู้มาสื่อสาร แลกเปลี่ยนและพัฒนานวัตกรรมที่ดีที่สุด อย่าหยุดเติมความรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมกับงาน
  • 11. 11 มีนาคม 2565 • มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ดร.ณรงค์ศิริเลิศวรกุลผู้อำ�นวย การสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าว ว่า ‘NAC2022’ ถือเป็นอีกหนึ่งเวที ที่ จัดขึ้นมาให้เกิดการแลกเปลี่ยนอย่าง สมบูรณ์ ทั้งฝั่ง Demand ฝั่ง Supply และฝั่งที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุน กิจกรรมต่างๆ ที่นำ�วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์และพัฒนา ประเทศอย่างต่อเนื่อง ฉะนั้นการ จัดประชุมวิชาการประจำ�ปี สวทช. ทุกๆ ปี เป้าหมายนอกจากเผยแพร่ ความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ร่วม กันแล้ว เป้าหมายหลักยังเป็นการ ช่วยกันพัฒนาประเทศผ่านการ ทำ�งานร่วมกันบนกลไก ‘จตุภาคี’ ตามแนวคิดโมเดลเศรษฐกิจ BCG ซึ่งหมายถึงการทำ�งานร่วมกันระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาสังคม และ ภาควิชาการ ไฮไลต์สำ�คัญของงาน NAC2022 มีการสัมมนาออนไลน์ 45 หัวข้อ 4 วันเต็มของการจัดงาน เพื่อ รับฟังความเห็นจากภาคเอกชนและ เกษตรกรซึ่งเป็นผู้ผลิต และนำ�ข้อคิด เห็น นำ�โจทย์วิจัยที่ท้าทายกลับเข้า มายังหน่วยวิจัย เพื่อคิดค้นนวัตกรรม นั้นๆ ออกไปยังภาคการผลิตและ ภาคประชาสังคมเพื่อให้เกิดการใช้ ประโยชน์และแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้น ระยะยาวของสังคมไทย ตัวอย่างนวัตกรรม102 ผลงาน ให้ชมในรูปแบบนิทรรศการออนไลน์ ซึ่งปีนี้ผลงานวิจัยและนวัตกรรมนำ� มาแสดงภายใต้แนวคิด พลิกฟื้น เศรษฐกิจและสังคมไทยด้วยงานวิจัย และนวัตกรรม BCG ทั้ง 4 สาขา ได้แก่1. เกษตรและอาหาร2. สุขภาพ และการแพทย์ 3. พลังงาน วัสดุและ เคมีชีวภาพ และ4. การท่องเที่ยวและ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตัวอย่างเช่น
  • 12. 12 NSTDA • March 2022 มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 สาขาเกษตรและอาหาร ผลิตภัณฑ์ถุงมือ ยางธรรมชาติโปรตีนต่ำ� นักวิจัยเอ็มเทค สวทช. ลด ปริมาณโปรตีนที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ใน ผลิตภัณฑ์ถุงมือยางธรรมชาติให้ มีปริมาณโปรตีนที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ น้อยเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO 11193-1:2008, EN 455 และ ASTM D3578-05 ช่วยยกระดับคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ถุงมือยางธรรมชาติให้ สามารถแข่งขันได้กับผลิตภัณฑ์ถุงมือ ยางสังเคราะห์ และรักษาความเป็น ผู้นำ�ด้านการผลิตยางและผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติของประเทศไทย “Plant-based egg” ผลิตภัณฑ์ไข่เหลวจาก โปรตีนพืช ทีมวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทาง อาหาร ไบโอเทค และบริษัท ดรอป แอนด์พิค กรุ๊ป จำ�กัด ได้ร่วมพัฒนา ผลิตภัณฑ์ไข่เหลวพาสเจอร์ไรซ์จาก โปรตีนพืชครั้งแรกของไทย โดยพัฒนา สูตรโปรตีนจากพืชเป็นไข่เหลวจากพืช พาสเจอร์ไรซ์ ที่มีคุณสมบัติในการ ขึ้นรูปในระหว่างการทอดในน้ำ�มัน ได้ และเนื้อสัมผัส ใกล้เคียงกับไข่ไก่ นำ�ไปใช้ประกอบอาหารได้หลากหลาย เมนู เหมาะสำ�หรับกลุ่มผู้บริโภคกลุ่ม กินวีแกน(Vegan) และกลุ่มที่แพ้ไข่ไก่ นวัตกรรม มะนีมะนาว น้ำ�มะนาวคั้นสด 100% แช่แข็ง (ManeeManao) “น้ำ�มะนาวแช่แข็ง” นักวิจัย นาโนเทค สวทช. ได้เปลี่ยนสภาวะ การแช่เยือกแข็งที่เหมาะสม โดยขั้น ตอนการผลิตเดิมไม่ถูกเปลี่ยน ช่วย เพิ่มคุณสมบัติในการลดการทำ�งาน ของเอนไซม์ ผลการทดสอบด้วย กระบวนการที่ปรับปรุงนั้นคือ กลิ่น สี และรสของน้ำ�มะนาวแช่แข็งที่นำ� มาทำ�ละลายเทียบเคียงน้ำ�มะนาวสด ซึ่งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของกลิ่น สี รส ภายใน 2-3 วัน แต่น้ำ�มะนาว แช่แข็งสามารถเก็บได้นานกว่า 2 ปี ที่สำ�คัญหากนำ�น้ำ�มะนาวแช่แข็งด้วย กระบวนการที่ปรับปรุงนี้ไปทำ�ละลาย แล้ว สามารถเก็บในรูปของเหลวได้ นาน 2-3 เดือน โดยที่กลิ่น สี และรส เทียบเคียงมะนาวสด การผลิตและเพิ่มมูลค่า พันธุ์ฟักทองไข่เน่า อัตลักษณ์ท้องถิ่น กลุ่มนาน้อย จ.น่าน ตัวอย่างความสำ�เร็จการพัฒนา ชุมชนด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG : โดยสถาบันการจัดการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) สวทช. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีการคัดเลือกสายพันธุ์
  • 13. 13 มีนาคม 2565 • มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ฟักทอง การคัดเลือกสายพันธุ์ฟักทอง ไข่เน่า เพื่อการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรท้องถิ่น สู่การรับรองเป็น พันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นของ จ.น่าน ทำ�ให้ได้สายพันธุ์ฟักทองไข่เน่าที่มีสี เขียวปนเหลือง มีความสม่ำ�เสมอของ รูปทรงผล มีรสชาติหวาน มัน อร่อย และเนื้อเหนียวหนึบ นอกจากนี้ยังส่ง ผลผลิตสดจำ�หน่ายซูเปอร์มาร์เก็ต ชั้นนำ� และสร้างมูลค่าเพิ่มโดยแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ฟักทองผง ข้าวเกรียบฟักทอง ส่วนเมล็ดฟักทอง นำ�มาสกัดเป็น “น้ำ�มันเมล็ดฟักทอง” ชิ้นส่วนที่เหลืออื่นๆ นำ�ไปหมักด้วย หัวเชื้อจุลินทรีย์ประสิทธิภาพสูงเพื่อ ใช้เป็นอาหารสัตว์สำ�หรับเลี้ยงไก่ไข่ อินทรีย์และโค ทำ�ให้เป็นชุมชนที่มี ระบบการผลิตทางการเกษตรให้ปลอด วัสดุเหลือใช้ (Zero waste agricul- ture) อย่างแท้จริง
  • 14. 14 NSTDA • March 2022 มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 Handy Sense + Farm to School นักวิจัยเนคเทค สวทช. คิดค้น ระบบเกษตรแม่นยำ� ฟาร์มอัจฉริยะ (HandySense) ประกอบด้วยอุปกรณ์ ตรวจวัดและควบคุมสภาพแวดล้อม ที่เป็นปัจจัยต่อการเจริญเติบโตของ พืช ด้วยการนำ�เทคโนโลยีเซนเซอร์ (sensor) ผนวกอุปกรณ์ไอโอที (Internet of Things) มาพร้อมกับ ความโดดเด่นคือ อุปกรณ์ใช้งานง่าย ทนทานต่อสภาพแวดล้อม ในราคาที่ เกษตรกรเข้าถึงได้ โดยHandySense จะตรวจวัดค่าสภาพแวดล้อมที่สำ�คัญ ต่อการเจริญเติบโตของพืชผลแบบ เรียลไทม์ผ่านเซนเซอร์ (sensor) ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิ ความชื้นใน ดิน ความชื้นสัมพัทธ์ แสง และส่ง ต่อข้อมูลจากเซนเซอร์ผ่านระบบ คลาวด์แล้วนำ�มาเปรียบเทียบกับค่าที่ เหมาะสมของการเพาะปลูกพืช(Crop Requirement) เพื่อแจ้งเตือนและสั่ง การระบบต่างๆ ให้ทำ�งานต่อไป มีการติดตั้งใช้งานไปแล้ว มากกว่า 100 แห่งทั่วประเทศ และ ประกาศเป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (OpenInnovation) เพื่อให้ผู้สนใจนำ� ไปใช้กับแปลงเกษตรและเชิงพาณิชย์ ได้แล้ว และขยายผลสู่ Farm to School ทดสอบการใช้งานในพื้นที่ นำ�ร่องของโครงการใน 3 ตำ�บล 3 อำ�เภอของจังหวัดสุรินทร์ ประกอบด้วย 8 กลุ่มวิสาหกิจ และเครือข่ายเกษตรกรและ 5 โรงเรียนใน ต.จอมพระ อ.จอมพระ, นำ�มาตรวจสอบภายในห้องปฏิบัติการ และต้องใช้อุปกรณ์และเครื่องอ่านผล ใช้เวลาในการตรวจสอบจนทราบผล ประมาณ 1-2 วัน ทีมนักวิจัย จึงได้พัฒนาชุด ตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบstriptest สามารถพกพาไปใช้ในภาคสนาม โดย ไม่ต้องเก็บตัวอย่างส่งมาตรวจยังห้อง ปฏิบัติการ ทราบผลได้ภายใน15 นาที และตรวจสอบได้เองโดยไม่ต้องอาศัย ผู้ชำ�นาญการและเครื่องมือวัดอ่านผล ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากในการ ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังการแพร่ ชุดตรวจแบบรวดเร็วในรูปแบบ strip test สำ�หรับตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสใบด่างมันสำ�ปะหลัง สวทช. ได้พัฒนาเทคนิค การตรวจกรองไวรัสใบด่างในต้น พันธุ์มันสำ�ปะหลัง โดยได้พัฒนา น้ำ�ยาแอนติบอดีสำ�หรับตรวจไวรัส ใบด่างมันสำ�ปะหลังสายพันธุ์ที่พบ ในประเทศไทยโดยใช้เทคนิคอิไล ซ่า (ELISA) พบว่า น้ำ�ยาแอนติบอดี ที่พัฒนาขึ้นมีความไว (sensitivity) ในการตรวจมากกว่าน้ำ�ยาที่มีการขาย ในเชิงการค้า และมีราคาต่อตัวอย่าง ถูกกว่าที่นำ�เข้าจากต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม การตรวจด้วยเทค นิคอิไลซ่าจำ�เป็นต้องเก็บตัวอย่าง ต.อู่โลก อ.ลำ�ดวน และ ต.ตานี อ.ปราสาท
  • 15. 15 มีนาคม 2565 • มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ระบาดของโรคใบด่างมันสำ�ปะหลัง ในประเทศไทย รวมถึงการตรวจหา เชื้อในขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการ ผลิตต้นพันธุ์ปลอดเชื้อต่อไป สาขาสาขาสุขภาพและการแพทย์ เทคโนโลยี Pseudotype virus (ไวรัสตัวแทน) สำ�หรับประเมินประสิทธิภาพของวัคซีนโควิด-19 สวทช. ผลงานพัฒนาสำ�เร็จและได้ใช้งานจริงเพื่อประเมิน ประสิทธิภาพของวัคซีนกับโครงการวัคซีนโควิด-19 ของประเทศไทย เช่น Chula-Cov-19, วัคซีนของบริษัทใบยาไฟโตฟาร์ม และ วัคซีน ขององค์การเภสัชกรรม นวัตกรรมนี้ยังได้ถูกใช้ประโยชน์เพื่อประเมิน ประสิทธิภาพวัคซีนสูตรต่างๆ ที่ใช้ในประเทศไทยต่อการระบาดของไวรัส สายพันธุ์ใหม่ เช่น สายพันธุ์โอมิครอนBA.1 และBA.2 นอกจากนี้เทคโนโลยี Pseudotypedvirus ยังสามารถต่อยอดนำ�ไปเป็นวิธีทดสอบหายาต้านไวรัส ตัวใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแอนติบอดีรักษาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเข้าสู่เซลล์ ของไวรัสสายพันธุ์ต่างๆ โดยทีมวิจัยของ สวทช เป็นผู้ดำ�เนินการ ทดสอบ และมีแผนร่วมมือกับหลายหน่วยงานเกี่ยวกับการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีในอนาคต
  • 16. 16 NSTDA • March 2022 มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 นวัตกรรม “ENcase” เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อ ด้วยวิธีการผลิตทาง ไฟฟ้าเคมี นักวิจัยศูนย์เทคโนโลยีพลังงาน แห่งชาติ (ENTEC) สวทช. คิดค้น เครื่องผลิตน้ำ�ยาฆ่าเชื้อด้วยวิธีทาง ไฟฟ้าเคมี ในชื่อ ENcase ที่ใช้เพียง ส่วนผสมระหว่าง เกลือกับน้ำ�บริสุทธิ์ เพื่อทำ�เป็นสารละลายเกลือแกง ก่อน ใช้กระบวนการทางไฟฟ้าทำ�ปฏิกิริยา เคมี จนได้น้ำ�ยาออกมา 2 ชนิด พร้อมกัน คือกรดและด่าง โดยใน ส่วนที่เป็นกรดมีองค์ประกอบของ ไฮโปคลอรัส มีคุณสมบัติเป็นกรด อ่อน ๆ ซึ่งผ่านการทดสอบแล้วพบ ว่า มีประสิทธิภาพเพียงพอในการ ฆ่าเชื้อแบคทีเรียและไวรัส ทีมนัก วิจัยจึงตั้งชื่อน้ำ�ยาในส่วนที่เป็นกรด ไฮโปคลอรัสว่า ENERclean ผลงาน ดังกล่าวได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย จากสำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในการพัฒนาเครื่อง Encase สำ�หรับ นำ�ไปใช้ประโยชน์ในสถานการณ์การ ระบาดของโควิด-19 ซึ่งปัจจุบันได้ นำ�ร่องส่งมอบและติดตั้งเครื่องต้น แบบให้กับโรงพยาบาล 10 แห่ง ใน 4 จังหวัด ทำ�ให้โรงพยาบาล สามารถผลิตน้ำ�ยาENERclean ใช้ได้ เองและนำ�ไปใช้ฆ่าเชื้อขยะมูลฝอย หรือขยะติดเชื้อของโรงพยาบาล เพื่อลดต้นทุนและปลอดภัยกับ ผู้ใช้งาน สาขา พลังงาน วัสดุและเคมีชีวภาพ แบบจำ�ลองสามมิติค่าการหมุนเวียน เพื่อความยั่งยืนในอุตสาหกรรมก่อสร้าง (3D Circularity model)
  • 17. 17 มีนาคม 2565 • มีนาคม 2565 ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 เครื่องมือสำ�หรับประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมและตัวเลขการ หมุนเวียนของวัสดุ (Material Circu- larity Indicator: MCI) ตามแนวคิด เศรษฐกิจหมุนเวียนของวัสดุก่อสร้าง สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสิน ใจ สำ�หรับนักออกแบบผลิตภัณฑ์และ ผู้ซื้อในการพิจารณาเพื่อเลือกวัสดุที่ใช้ จะต้องมาจากส่วนประกอบที่นำ�กลับ มาใช้ใหม่ได้โดยไม่สูญเสียการรีไซเคิล ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล ผู้ อำ�นวยการศูนย์เทคโนโลยีโละและ วัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. ใน ฐานะประธานการจัดงาน NAC2022 กล่าวเพิ่มเติมว่า อีกหนึ่งกิจกรรม ที่น่าสนใจคือ Open House หรือ การเปิดบ้านให้ผู้ประกอบการ และ นักลงทุน ได้เยี่ยมชมแบบออนไลน์ จากการนําเสนอเทคโนโลยีจากความ ชำ�นาญของห้องปฏิบัติการชั้นนำ� 45 ห้องปฏิบัติการจำ�นวนรวม 60 เรื่อง ซึ่งความพิเศษของการจัดในรูปแบบ ออนไลน์ คือ สวทช. เปิดบ้านให้เห็น ห้องปฏิบัติการวิจัยผ่านวีดีโอแบบ ใกล้ชิด และหากมีคำ�ถามก็สามารถ แชทข้อความสอบถามได้ทันที ดังนั้น “งาน ‘NAC2022’ เป็นโอกาสอีกครั้ง ท่ามกลางวิกฤติโควิด-19 เมื่อคุณเข้า ร่วมงาน คุณจะเห็นว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เป็นฟัน เฟืองสำ�คัญที่จะทำ�ให้ประเทศไทยเข้ม แข็งและยั่งยืนไปด้วยกัน” ดร.ณรงค์ กล่าวทิ้งท้ายว่า “อย่าหยุดเติมความรู้ เพื่อสร้าง นวัตกรรม” เพราะหากเมื่อไหร่ที่เรา หยุดเติมความรู้ องค์ความรู้เราก็จะ ถดถอย และจะสร้างนวัตกรรมไม่ ได้ ความสามารถในการแข่งขันก็จะ ถดถอยไปด้วย ดังนั้นงาน NAC2022 จะเป็นอีกแพลตฟอร์มออนไลน์สำ�คัญ ที่เราจะเติมความรู้ นำ�ความรู้เหล่านั้น ไปสร้างนวัตกรรมเพื่อประโยชน์ของ ตัวเราเอง 28-31 มีนาคมนี้ ชวนกันมา เติมความรู้ เพื่อสร้างสรรค์คนวัตกรรม ไปด้วยกัน บนแพลตฟอร์มออนไลน์ เต็มรูปแบบที่ www.nstda.or.th/ nac กับงานประชุมวิชาการประจำ� ปี สวทช. ครั้งที่ 17 ภายใต้แนวคิด พลิกฟื้นเศรษฐกิจและสังคมไทยด้วย งานวิจัยและนวัตกรรม BCG