SlideShare a Scribd company logo
L O G O
การประเมินภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบ ๔
(พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓)
โดย
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
ผู้อานวยการ สมศ.
Why : ประเมินทาไม?
เสียเวลา / เป็นภาระ
What : ประเมินอะไร?
ตบช./ เกณฑ์ / O-NET
How : เตรียมอย่างไร ?
วัฒนธรรมคุณภาพ / วิถีชีวิต / พฤติกรรม
WORLD CLASS
พร้อมเสมอทุกเวลา
พร้อมต้องนัดหมาย
ไม่เคยพร้อมประเมิน
•กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ.๒๕๕๓
•พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒
•ปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ ๒
• ประเมินตนเองทุกปี อย่างน้อยปีละครั้ง
• ต้นสังกัดประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 3 ปี
IQA
EQA
• สมศ.ประเมินภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5ปี
หลักการ : เพื่อการพัฒนา...อย่างต่อเนื่อง
ระดับ : มาตรฐานขั้นต่า
(MINIMUM STANDARD)
เกณฑ์ : ท้าทาย...ยกระดับ
คะแนน : ๕ ระดับ
ความเชื่อมโยง : พื้นฐาน/ อาชีวะ/ อุดม
หลักฐานเชิงประจักษ์...มากกว่าเอกสาร
ข้อมูลย้อนหลัง ๓ ปี…ทุกตัวบ่งชี้
ผลการจัดอันดับ PISA 65 ประเทศสมาชิก
ประเทศไทย อันดับที่ 50
คณิตศาสตร์ 427 คะแนน จากค่าเฉลี่ย 494 คะแนน
ด้านการอ่าน 441 คะแนน จากค่าเฉลี่ย 496 คะแนน
วิทยาศาสตร์ 444 คะแนน จากค่าเฉลี่ย 501 คะแนน
การจัดอันดับของประเทศสมาชิกในอาเซียน
- ประเทศสิงคโปร์ อันดับที่ 2
- ประเทศเวียดนาม อันดับที่ 17
- ประเทศไทย อันดับที่ 50
- ประเทศมาเลเซีย อันดับที่ 52
- ประเทศอินโดนีเซีย อันดับที่ 64
คนไทยอ่านหนังสือปีละ 4 บรรทัด (UNESCO:2556)
ระดับ รอบ ๑ รอบ ๒ รอบ ๓ รอบ ๔
ขั้นพื้นฐาน
๕๓ ตบช.
๑๔ มฐ.
๖๕ ตบช.
๑๔ มฐ.
๑๒(๒๕) ตบช.
๔ มฐ.
๒๐ ตบช.
๔ มฐ.
ตัวบ่งชี้ ๓ มิติ
๑ ๒ ๓
ตัวบ่งชี้
อัตลักษณ์
ตัวบ่งชี้
มาตรการ
ส่งเสริม
ตัวบ่งชี้
พื้นฐาน
มาตรการเทียบเคียง
๑. คุณภาพศิษย์ : ๔ ตบช.
๒๐ ตัวบ่งชี้
• จานวน ๗ ด้าน
๒. คุณภาพครู/อาจารย์ : ๔ ตบช.
๓. การบริหารและธรรมาภิบาล
สถานศึกษา : ๔ ตบช.
๖. อัตลักษณ์/เอกลักษณ์ : ๒ ตบช.
๔. ความสัมพันธ์กับสังคม/ชุมชน : ๒ ตบช.
๕. การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม : ๒ ตบช.
๗. มาตรการส่งเสริม : ๒ ตบช.
รวม ๒๐ ตบช.
๑. ด้านคุณภาพศิษย์
ตบช. ๑ ผู้เรียนเป็นคนดี
ตบช. ๒ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร
ตบช. ๓ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด
ตบช. ๔ ผู้เรียนมีทักษะชีวิต
ผู้เรียนด้ารงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีน้้าใจไมตรี มีจิตอาสา
และมีการพัฒนาคุณธรรมด้านต่างๆ อาทิวินัย สติ กตัญญู เมตตา
อดทน ซื่อสัตย์ ประหยัด ขยัน ไม่เห็นแก่ตัว ฯลฯ ผ่านการท้างาน
ท้ากิจกรรม บ้าเพ็ญประโยชน์
ตบช. ๑ ผู้เรียนเป็นคนดี
ท้างาน... เพื่อแบ่งเบาภาระครอบครัว
ท้ากิจกรรมสถานศึกษา... เพื่อพัฒนาตนเอง
บ้าเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม... เพื่อปลูกฝังจิตอาสา
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
ร้อยละของผู้เรียนที่ท้างาน ท้ากิจกรรม บ้าเพ็ญประโยชน์
(นอกหลักสูตร) ไม่น้อยกว่า ๕๐ ชั่วโมง/ปี/คน
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินสุ่มตรวจผู้เรียนที่ปฏิบัติตามหลักฐานของสถานศึกษา
เช่น บันทึกความดี
เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีผู้เรียนท้าร้ายร่างกายผู้อื่นลักทรัพย์ ล่วงละเมิดทางเพศ
การพนัน และค้ายาเสพติด ฯลฯ โดยครู/อาจารย์และผู้บริหารไม่ได้
ด้าเนินการแก้ไขและป้องกันไม่ให้เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดซ้้า
ตบช. ๒ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร
เกณฑ์การประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET)
เงื่อนไข : ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีผู้เรียนระดับชั้น ป.๓ ป.๖ และ ม.๓ อ่านและเขียน
ภาษาไทยไม่ได้ตามเกณฑ์
ตบช. ๓ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด
ร้อยละของผู้เรียนระดับชั้น ป.๖ ม.๓ และ ม.๖ ที่มีผลการทดสอบ
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิด
สร้างสรรค์มีค่า T-Score≥40.00 (พิจารณาจากคะแนน O-NET )
ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพ สามารถด้าเนิน
ชีวิตประจ้าวันอย่างมีคุณค่า ใฝ่เรียนรู้ อยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล จัดการ
ปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ปรับตัวให้
ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
ตลอดจนรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผล
กระทบต่อตนเองและผู้อื่น
ตบช. ๔ ผู้เรียนมีทักษะชีวิต
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ ร้อยละของผู้เรียนที่มีรูปร่างสมส่วน
๑.๒ ร้อยละของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต
ประเภทต่างๆ
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
๒.๑ ผู้เรียนที่มีรูปร่างสมส่วน
๒.๒ สถานศึกษาน้าเสนอรายชื่อผู้เรียนที่มีพัฒนาการสมส่วน
ในช่วง ๓ ปีที่ผ่านมา
๒.๓ ผู้ประเมินสุ่มตรวจทักษะของผู้เรียนตามที่โรงเรียนส่งเสริม
เช่น ว่ายน้้า เล่นดนตรี พิมพ์สัมผัส เป็นต้น
เกณฑ์การประเมิน
ตบช. ๕ ครู/อาจารย์เป็นคนดี มีความสามารถ
ตบช. ๖ ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ
ตบช. ๗ ครู/อาจารย์มีผลงานที่น้าไปใช้ประโยชน์
ตบช. ๘ ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์
๒. ด้านคุณภาพครู/อาจารย์
ตบช. ๕ ครู/อาจารย์เป็นคนดี มีความสามารถ
ครู/อาจารย์ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด สม่้าเสมอเป็น
แบบอย่างที่ดีต่อผู้เรียน สามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ และ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนรายบุคคลพัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ
เกณฑ์การประเมิน
๑.เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ พิจารณาความดีของครู/อาจารย์จากการด้าเนินการตามประเด็น
พิจารณา (๒ คะแนน)
๑.๑.๑ มีข้อตกลงและแนวปฏิบัติร่วมกันที่น้าไปสู่ความเป็นคนดีของ
ครู/อาจารย์
๑.๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จที่เหมาะสม
๑.๑.๓ มีการด้าเนินงานที่ชัดเจน สม่้าเสมอ ต่อเนื่อง
๑.๑.๔ มีการส่งเสริมให้ครู/อาจารย์ นักเรียน ผู้ปกครองประพฤติ
ปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต
๑.๑.๕ มีผลการประเมินความส้าเร็จโดยระบุค่าร้อยละของครู/
อาจารย์ที่มีลักษณะความดีตามที่ก้าหนด
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินพิจารณาพัฒนาการของคะแนน O-NET ทุกช่วงชั้นที่เปิด
สอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้จาก ๓ ปีย้อนหลัง
เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีครู/อาจารย์ท้าผิดจรรยาบรรณ โดยผู้บริหาร/ต้นสังกัด มิได้
ด้าเนินการลงโทษ
ตบช.๖ ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ
ครู/อาจารย์ น้าประสบการณ์จากการสอนมาสร้างสรรค์ห้องเรียน/
แหล่งเรียนรู้คุณภาพในสถานศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมาย
ตามหลักสูตร โดยเน้นความเหมาะสม สะดวก แปลกใหม่ สอดคล้องกับ
ความสนใจของผู้เรียน ท้าให้ผู้เรียนใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และมาใช้บริการ
ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้นั้นอย่างสม่้าเสมอ
เกณฑ์การประเมิน
๑. ร้อยละของห้องเรียนที่สะอาด สุขลักษณะ สวยงาม (๒ คะแนน)
๒. ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพที่เป็นต้นแบบ อย่างน้อย ๑ ห้อง
ซึ่งเอื้ออ้านวยต่อ (๓ คะแนน)
๒.๑ ความคิดสร้างสรรค์
๒.๒ ประหยัด
๒.๓ ประโยชน์
๒.๔ ปลอดภัย
๒.๕ บรรยากาศการส่งเสริมการเรียนรู้
เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ มิได้เกิดจากการคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ของครู/อาจารย์
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
ร้อยละของครู/อาจารย์ที่มีผลงาน เช่น คู่มือ สื่อการสอน สิ่งประดิษฐ์
แบบจ้าลอง งานสร้างสรรค์ นวัตกรรมหรืองานวิจัยที่น้าไปใช้ในการจัดการเรียน
การสอน ซึ่งได้รับการรับรองจากสถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินสุ่มตรวจผลงานฯ ตามหลักการสุ่มตัวอย่างในประเด็น ความ
สอดคล้องของผลงานกับการปฏิบัติจริงของครู/อาจารย์
ตบช. ๗ ครู/อาจารย์มีผลงานที่น้าไปใช้ประโยชน์
เงื่อนไข: จะได้ ๐ คะแนน หากพบว่า
๑. มีครู/อาจารย์ คัดลอกหรือให้ผู้อื่นท้าผลงานแทนเพื่อขอวิทยฐานะ
โดยผู้บริหารมิได้ด้าเนินการลงโทษ
๒. มีผู้บริหารคัดลอกหรือให้ผู้อื่นท้าผลงานแทนเพื่อขอวิทยฐานะ
โดยต้นสังกัดมิได้ด้าเนินการลงโทษ
ตบช. ๘ ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์
ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ เพื่อพัฒนา
ความรู้/ทักษะที่ส้าคัญเช่น วิธีการจัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผล
การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนความรู้ในวิชาที่สอนเพื่อให้
ทันสมัยทันโลก ฯลฯ โดยการเข้าร่วมการประชุมวิชาการ/เข้ารับการ
อบรม/ศึกษาบางวิชา/ดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในและระหว่าง
สถานศึกษา ทั้งในและ/หรือต่างประเทศ โดยไม่กระทบต่อการจัดการเรียน
การสอน
เปิดเทอม แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ปิดเทอม เติมความรู้
พัฒนา ครู/อาจารย์
เกณฑ์การประเมิน
๑. แลกเปลี่ยนเรียนรู้: (๒ คะแนน)
ร้อยละของครู/อาจารย์ประจ้าที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเปิด
ภาคเรียน (นอกเวลาเรียน)อย่างน้อย ๕๐ชั่วโมง/คน/ปี
๒. เพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์: (๓ คะแนน)
ร้อยละของครู/อาจารย์ประจ้าที่ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/
ประสบการณ์ระหว่างปิดภาคเรียนอย่างน้อย ๕๐ชั่วโมง/คน/ปี
เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีครู/อาจารย์ละทิ้งการสอนโดยมิได้มีการจัดการสอนชดเชย
ตบช. ๙ การด้าเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา
๓. ด้านการบริหารและธรรมาภิบาลของสถานศึกษา
ตบช. ๑๐ การด้าเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษา
ตบช. ๑๑ การบริหารความเสี่ยง
ตบช. ๑๒ การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
ตบช. ๙ การด้าเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีการก้าหนดนโยบาย แนวทางการด้าเนินงาน
๑.๒ มีผลการพิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตร
ที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น
๑.๓ มีการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่
๑.๔ มีการบริหารจัดการประชุมที่ดี
๑.๕ มีการน้าผลประเมินตนเองของสถานศึกษา
ไปใช้ปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
สัมภาษณ์บุคคลต่อไปนี้
๑. ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (๑ คะแนน)
๒. ผู้แทนกรรมการ ๑-๒ คน (๑ คะแนน)
๓. ครู/อาจารย์ (๑ คะแนน)
เงื่อนไข: จะได้ ๐ คะแนน หากพบว่า
มีการจัดท้ารายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา โดย
ไม่มีการจัดประชุมจริง
ตบช. ๑๐ การด้าเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษา
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ ผลการประเมินการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร
สถานศึกษา โดยคณะกรรมการสถานศึกษา (๑ คะแนน)
๑.๒ คะแนนที่ผู้บริหารสถานศึกษาได้รับจากการประเมินคุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานที่ ๘ โดยต้นสังกัด (ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาท
หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล) ปีล่าสุด (๑ คะแนน)
เงื่อนไข: จะได้ ๐ คะแนน หากพบว่า
๑. มีผู้บริหารสถานศึกษากระท้าการทุจริต หรือ
๒. มีคะแนน O-NET ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่้ากว่าค่าเฉลี่ย
ระดับประเทศ
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
๒.๑ สุ่มทดสอบการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียน(ประถมศึกษา) และ/หรือ
การอ่านจับใจความ(มัธยมศึกษา) (๑ คะแนน)
๒.๒ ผู้ประเมินสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาในประเด็นการปฏิบัติงานตาม
รายงานผลการประเมินตนเองและการน้าผลการประเมินไปใช้ในการ
พัฒนาสถานศึกษา (๑ คะแนน)
๒.๓ การน้าผลการประกันคุณภาพภายในมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ย้อนหลัง ๓ ปี (๑ คะแนน)
สถานศึกษามีผลการบริหารความเสี่ยงจากกระบวนการ
ประเมินสถานการณ์ จัดล้าดับความส้าคัญ จัดการ ควบคุม
ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขความเสี่ยง ส่งผลให้ลด
สาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน
ชื่อเสียง และสังคม
ตบช. ๑๑ การบริหารความเสี่ยง
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีการก้าหนดกลยุทธ์และเป้าหมาย
๑.๒ มีการระบุความเสี่ยงภายในและ/หรือภายนอก
๑.๓ มีการประเมินโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยง
๑.๔ มีการก้าหนดวิธีการ มาตรการ กลไกการควบคุม
๑.๕ มีการก้ากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารความเสี่ยง
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินพิจารณาผลการบริหารจัดการความเสี่ยง
๒.๑ สามารถควบคุมความเสี่ยงทุกเรื่องตามที่ก้าหนด
(๑ คะแนน)
๒.๒ สามารถลดความเสี่ยงทุกเรื่องตามที่ก้าหนด (๑ คะแนน)
๒.๓ ไม่ปรากฏเหตุการณ์ที่อยู่นอกเหนือประเภทความเสี่ยงที่
ก้าหนด (๑ คะแนน)
เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น โดยพิจารณาจาก
ความรุนแรง ความถี่ และละเลย ไม่มีการแก้ไข ป้องกัน
ตบช. ๑๒ การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
สถานศึกษามีบุคลากรประจ้าสายสนับสนุนวิชาการ/ธุรการที่ได้รับ
การเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ เช่น ประชุมวิชาการ/อบรม/ศึกษาบาง
วิชา/ดูงาน/น้าเสนอผลงานวิชาการและงานวิจัย ทั้งในและต่างประเทศ
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑. มีบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ/ธุรการอย่างน้อย
๑ คน (๑ คะแนน)
๒. มีการด้าเนินงานให้บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ/
ธุรการได้รับการพัฒนา (๑ คะแนน)
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
สุ่มสัมภาษณ์บุลคลากรสายสนับสนุนวิชาการ/ธุรการใน
ประเด็นต่อไปนี้
๑. ได้รับการพัฒนา (๑ คะแนน)
๒. ได้รับการพัฒนาตรงกับงานที่เกี่ยวข้อง (๑ คะแนน)
๓. ได้มีการแบ่งเบาภาระงานธุรการของครู/อาจารย์ (คะแนน)
ตบช. ๑๓ การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม
๔. ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม
ตบช. ๑๔ การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดแผนงาน
๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จ
๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ
๑.๔ มีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง
๑.๕ มีผลประเมินความพึงพอใจ
ตบช. ๑๓ การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ระบุโครงการที่ประสบความส้าเร็จที่สุดอย่างน้อย ๑ โครงการ
ผู้ประเมินตรวจ/สัมภาษณ์ ตามประเด็นต่อไปนี้
๒.๑ มีการด้าเนินการอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๓ ปี (๑ คะแนน)
๒.๒ ด้าเนินการได้โดยไม่ใช้งบประมาณสถานศึกษา (๑ คะแนน)
๒.๓ ได้รับการยอมรับ/ยกย่อง จากชุมชม/สังคม ขึ้นไป (๑ คะแนน)
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดแผนด้าเนินการ
๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จ
๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ
๑.๔ มีส่วนร่วมของประชาคมและชุมชน
๑.๕ มีการประเมินผลความพึงพอใจ
ตบช. ๑๔ การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ระบุโครงการที่ประสบความส้าเร็จที่สุดอย่างน้อย ๑ โครงการ
ผู้ประเมินตรวจ/สัมภาษณ์ ตามประเด็นต่อไปนี้
๒.๑ มีผลการวิเคราะห์ความส้าเร็จ (๑ คะแนน)
๒.๒ มีการเผยแพร่และขยายผลในสถานศึกษาอื่น (๑ คะแนน)
๒.๓ มีความเป็นต้นแบบ โดยได้รับการยอมรับ/ยกย่องจากชุมชน
สังคม (๑ คะแนน)
หมายเหตุ ต้องไม่เป็นโครงการเดียวกับตัวบ่งชี้ที่ ๑๓
ตบช. ๑๕ การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม
๕. ด้านการท้านุบ้ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
ตบช. ๑๖ การพัฒนาสุนทรียภาพ
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีโครงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรัก ความนิยม
ความชื่นชม ความเป็นไทย
๑.๒ มีกิจกรรมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีทักษะฝีมือ
ด้านศิลปะและวัฒนธรรมไทย และประเพณีที่ดีงาม
๑.๓ มีการจัดหางบประมาณหรือทรัพยากรสนับสนุนทั้งจากภายใน
และ/หรือภายนอก
๑.๔ มีส่วนร่วมกับชุมชน
๑.๕ มีการจัดให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม
ตบช. ๑๕ การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินสุ่มตรวจหลักฐาน/สัมภาษณ์ ดังต่อไปนี้
๒.๑ มีการจัดพื้นที่เพื่อการด้าเนินกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุน
ศิลปะและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง(๑ คะแนน)
๒.๒ ผู้เรียนและบุคลากรมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริม
สนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม (๑ คะแนน)
๒.๓ ได้รับการยอมรับ/ยกย่องระดับชาติ และ/หรือนานาชาติ
(๑ คะแนน)
เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีการด้าเนินการเฉพาะกิจเพื่อรองรับการประเมินภายนอกเท่านั้น
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีโครงการพัฒนาผู้เรียนและบุคลากร
๑.๒ มีโครงการพัฒนาโรงเรียน
๑.๓ มีโครงการพัฒนาชุมชน
๑.๔ มีการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน
๑.๕ มีการประมวลความรู้ ประสบการณ์ที่ได้จากการด้าเนิน
โครงการ และผลกระทบที่มีต่อผู้เรียน โรงเรียน และ/
หรือชุมชน
ตบช. ๑๖ การพัฒนาสุนทรียภาพ
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินพิจารณาสภาพแวดล้อมและบรรยากาศ ในประเด็น
ต่อไปนี้
๒.๑ เป็นระเบียบเรียบร้อยเอื้อต่อการใช้งาน (๑ คะแนน)
๒.๒ สอดคล้องกับธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่าง
เหมาะสม (๑ คะแนน)
๒.๓ สะอาด ถูกสุขลักษณะสวยงาม (๑ คะแนน)
เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า
มีการด้าเนินการเฉพาะกิจเพื่อรองรับการประเมินภายนอก
เท่านั้น
๖. ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๗ อัตลักษณ์ผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๘ เอกลักษณ์สถานศึกษา
ตบช. ๑๗ อัตลักษณ์ผู้เรียน
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดอัตลักษณ์ของผู้เรียนที่เหมาะสมและ
ปฏิบัติได้
๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จที่เหมาะสม
๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง
๑.๔ มีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง
๑.๕ มีการประเมินผลผู้เรียนที่ปรากฏอัตลักษณ์ (โดยระบุค่าร้อยละ)
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินสุ่มตรวจเพื่อยืนยันอัตลักษณ์ของผู้เรียน
ตามหลักการสุ่มตัวอย่าง
เกณฑ์การประเมิน
๑. เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดเอกลักษณ์สถานศึกษาที่
เหมาะสมและปฏิบัติได้
๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จที่เหมาะสม
๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและ
ต่อเนื่อง
๑.๔ มีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง
๑.๕ มีการประเมินผลและน้าผลไปใช้ปรับปรุงพัฒนา
ตบช. ๑๘ เอกลักษณ์สถานศึกษา
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินพิจารณาประเด็นต่อไปนี้
๒.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาดูงาน (๑ คะแนน)
๒.๒ มีการยอมรับ/ยกย่องในมิติต่างๆ (๑ คะแนน)
๒.๓ มีความเป็น“ต้นแบบ”วิธีด้าเนินการสู่ความส้าเร็จ และ
มีการถ่ายโอนความรู้ด้านกระบวนการสู่สถานศึกษาอื่น
(๑ คะแนน)
๗. ด้านมาตรการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๙ มาตรการส่งเสริม (ภายในสถานศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ ๒๐ มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา)
ตบช. ๑๙ มาตรการส่งเสริม (ภายในสถานศึกษา)
สถานศึกษามีการเตรียมผู้เรียนและครู/อาจารย์ให้ทันสมัย ทันโลก
และมีความพร้อมสู่สากล
ประเภทโครงการ
๑. โครงการพัฒนาผู้เรียนในด้านภาษาต่างประเทศ
๒. โครงการพัฒนาผู้เรียนในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
๓. โครงการพัฒนาสถานศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
เกณฑ์การประเมิน
๑. มีการก้าหนดนโยบาย/แผนพัฒนาที่ทันสมัยและสามารถปฏิบัติได้
๒. มีการด้าเนินงานตามโครงการ (ทุกประเภท ประเภทละ ๑
โครงการต่อปี) ที่เกิดจากการส้ารวจความคิดเห็นความต้องการ
ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
๓. มีผลประเมินทุกโครงการ
๔. มีผลการปรับปรุงและด้าเนินโครงการให้เหมาะสมกับสภาพสังคม
อย่างต่อเนื่อง
๕. มีแผนพัฒนาสู่อนาคต หรือโครงการเชิงอนาคต ที่ได้รับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
สถานศึกษามีการด้าเนินงานในการช่วยเหลือชุมชนสังคม
รอบสถานศึกษา เช่น การชี้แนะ ป้องกัน และ/หรือแก้ปัญหา
สังคม ที่สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ สภาพเศรษฐกิจ ชุมชน
สังคม และจังหวัด
ตบช. ๒๐ มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา)
เกณฑ์การประเมิน
๑.เอกสาร: (๒ คะแนน)
๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดความร่วมมือ และ/หรือช่วยเหลือชุมชน
สังคม รอบสถานศึกษา
๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จที่เหมาะสม
๑.๓ มีแนวปฏิบัติและกระบวนการที่ชัดเจนและต่อเนื่อง
๑.๔ มีระบบกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ และสร้างการมีส่วนร่วม
จากผู้เกี่ยวข้อง
๑.๕ มีผลการประเมินความพึงพอใจของชุมชนต่อสถานศึกษา
(โดยระบุค่าร้อยละ)
๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน)
ผู้ประเมินสุ่มตรวจหลักฐานที่แสดง
๒.๑ ผลการช่วยเหลือ/ความร่วมมือกับสถานศึกษาอื่นใน
การพัฒนาวิชาการ (๑ คะแนน)
๒.๒ ผลความร่วมมือกับท้องถิ่น/ชุมชน/สังคม/จังหวัด
ในการป้องกัน แก้ปัญหา และ/หรือการพัฒนาตาม
บริบทของพื้นที่ (๑ คะแนน)
๒.๓ ได้รับการยอมรับระดับชุมชน/สังคม/จังหวัด/ชาติ/
นานาชาติ (๑ คะแนน)
ขั้นตอนการด้าเนินงาน
1. ยกร่าง พค.๒๕๕๕ - ตค.๒๕๕๖
2. ประชาพิจารณ์ พย.๒๕๕๖ – มค.๒๕๕๗
3. ประเมินน้าร่อง เมย.๒๕๕๗ – มิย.๒๕๕๗
4. ปรับปรุง ตบช./เกณฑ์ กค.๒๕๕๗ – สค.๒๕๕๗
5. จัดท้าคู่มือ ๑๐ฉบับ เมย.๒๕๕๗ – กย.๒๕๕๗
6. ประกาศรอบ๔........... ๑ ตค.๒๕๕๗

More Related Content

Viewers also liked

ปกรายงาน55
ปกรายงาน55ปกรายงาน55
ปกรายงาน55warijung2012
 
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
kruwaeo
 
Book2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemBook2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemjjrrwnd
 
เปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็นมงคล
เปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็นมงคลเปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็นมงคล
เปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็นมงคล
Ruangrat Watthanasaowalak
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
RHB Banking Group
 
Gerd Kanter
Gerd KanterGerd Kanter
Gerd KanterInna71
 
Laporan4
Laporan4Laporan4
Laporan4Sa Lam
 
ครั้งแรกในเมืองไทย กับ Men styling
ครั้งแรกในเมืองไทย กับ Men stylingครั้งแรกในเมืองไทย กับ Men styling
ครั้งแรกในเมืองไทย กับ Men styling
Weena StyleCoach
 
Digital text book
Digital text bookDigital text book
Digital text book
chandini288803
 
KBU communication Arts
KBU communication ArtsKBU communication Arts
KBU communication Arts
Pises Tantimala
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theoriespimporn454
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์tommy
 

Viewers also liked (20)

05 เขียนเรื่อง
05 เขียนเรื่อง05 เขียนเรื่อง
05 เขียนเรื่อง
 
ปกรายงาน55
ปกรายงาน55ปกรายงาน55
ปกรายงาน55
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
Book2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chemBook2013 oct 06-chem
Book2013 oct 06-chem
 
เปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็นมงคล
เปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็นมงคลเปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็นมงคล
เปลี่ยนชื่อใหม่ให้เป็นมงคล
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
 
Com law
Com lawCom law
Com law
 
Gerd Kanter
Gerd KanterGerd Kanter
Gerd Kanter
 
Ch14
Ch14Ch14
Ch14
 
Laporan4
Laporan4Laporan4
Laporan4
 
ครั้งแรกในเมืองไทย กับ Men styling
ครั้งแรกในเมืองไทย กับ Men stylingครั้งแรกในเมืองไทย กับ Men styling
ครั้งแรกในเมืองไทย กับ Men styling
 
Digital text book
Digital text bookDigital text book
Digital text book
 
KBU communication Arts
KBU communication ArtsKBU communication Arts
KBU communication Arts
 
Table
TableTable
Table
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
Port
PortPort
Port
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
 
Book inter germany
Book inter germanyBook inter germany
Book inter germany
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 

Similar to Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457

โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
Puripat Piriyasatit
 
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
อับดลรอศักดิ์ มณีโส๊ะ
 
Standard54
Standard54Standard54
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
อับดลรอศักดิ์ มณีโส๊ะ
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
Boonlert Aroonpiboon
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
Koonsombat Narinruk
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51krupornpana55
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1Montree Jareeyanuwat
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
Aobinta In
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
luanrit
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
QA Bpi
 

Similar to Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457 (20)

โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
 
Standard54
Standard54Standard54
Standard54
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 

More from Nirut Uthatip

บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงบทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
Nirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Nirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
Nirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Nirut Uthatip
 
Audit chartern2
Audit chartern2Audit chartern2
Audit chartern2
Nirut Uthatip
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนว
Nirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Nirut Uthatip
 
ปก Ita
ปก Itaปก Ita
ปก Ita
Nirut Uthatip
 
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐคู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
Nirut Uthatip
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบ
Nirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
Nirut Uthatip
 
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
Nirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
Nirut Uthatip
 
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
Nirut Uthatip
 
การนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidreการนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidre
Nirut Uthatip
 
1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด
Nirut Uthatip
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...Nirut Uthatip
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 

More from Nirut Uthatip (20)

บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงบทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Audit chartern2
Audit chartern2Audit chartern2
Audit chartern2
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนว
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ปก Ita
ปก Itaปก Ita
ปก Ita
 
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐคู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบ
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
 
การนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidreการนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidre
 
1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
 
Full
FullFull
Full
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
3 moral project
3 moral project3 moral project
3 moral project
 

Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457

  • 1. L O G O การประเมินภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบ ๔ (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓) โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ผู้อานวยการ สมศ.
  • 2. Why : ประเมินทาไม? เสียเวลา / เป็นภาระ What : ประเมินอะไร? ตบช./ เกณฑ์ / O-NET How : เตรียมอย่างไร ? วัฒนธรรมคุณภาพ / วิถีชีวิต / พฤติกรรม
  • 5. • ประเมินตนเองทุกปี อย่างน้อยปีละครั้ง • ต้นสังกัดประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 3 ปี IQA EQA • สมศ.ประเมินภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5ปี
  • 6. หลักการ : เพื่อการพัฒนา...อย่างต่อเนื่อง ระดับ : มาตรฐานขั้นต่า (MINIMUM STANDARD) เกณฑ์ : ท้าทาย...ยกระดับ
  • 7. คะแนน : ๕ ระดับ ความเชื่อมโยง : พื้นฐาน/ อาชีวะ/ อุดม หลักฐานเชิงประจักษ์...มากกว่าเอกสาร ข้อมูลย้อนหลัง ๓ ปี…ทุกตัวบ่งชี้
  • 8.
  • 9.
  • 10. ผลการจัดอันดับ PISA 65 ประเทศสมาชิก ประเทศไทย อันดับที่ 50 คณิตศาสตร์ 427 คะแนน จากค่าเฉลี่ย 494 คะแนน ด้านการอ่าน 441 คะแนน จากค่าเฉลี่ย 496 คะแนน วิทยาศาสตร์ 444 คะแนน จากค่าเฉลี่ย 501 คะแนน
  • 11. การจัดอันดับของประเทศสมาชิกในอาเซียน - ประเทศสิงคโปร์ อันดับที่ 2 - ประเทศเวียดนาม อันดับที่ 17 - ประเทศไทย อันดับที่ 50 - ประเทศมาเลเซีย อันดับที่ 52 - ประเทศอินโดนีเซีย อันดับที่ 64 คนไทยอ่านหนังสือปีละ 4 บรรทัด (UNESCO:2556)
  • 12. ระดับ รอบ ๑ รอบ ๒ รอบ ๓ รอบ ๔ ขั้นพื้นฐาน ๕๓ ตบช. ๑๔ มฐ. ๖๕ ตบช. ๑๔ มฐ. ๑๒(๒๕) ตบช. ๔ มฐ. ๒๐ ตบช. ๔ มฐ.
  • 13. ตัวบ่งชี้ ๓ มิติ ๑ ๒ ๓ ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ มาตรการ ส่งเสริม ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน มาตรการเทียบเคียง
  • 14. ๑. คุณภาพศิษย์ : ๔ ตบช. ๒๐ ตัวบ่งชี้ • จานวน ๗ ด้าน ๒. คุณภาพครู/อาจารย์ : ๔ ตบช. ๓. การบริหารและธรรมาภิบาล สถานศึกษา : ๔ ตบช.
  • 15. ๖. อัตลักษณ์/เอกลักษณ์ : ๒ ตบช. ๔. ความสัมพันธ์กับสังคม/ชุมชน : ๒ ตบช. ๕. การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม : ๒ ตบช. ๗. มาตรการส่งเสริม : ๒ ตบช. รวม ๒๐ ตบช.
  • 16. ๑. ด้านคุณภาพศิษย์ ตบช. ๑ ผู้เรียนเป็นคนดี ตบช. ๒ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตบช. ๓ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด ตบช. ๔ ผู้เรียนมีทักษะชีวิต
  • 17. ผู้เรียนด้ารงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีน้้าใจไมตรี มีจิตอาสา และมีการพัฒนาคุณธรรมด้านต่างๆ อาทิวินัย สติ กตัญญู เมตตา อดทน ซื่อสัตย์ ประหยัด ขยัน ไม่เห็นแก่ตัว ฯลฯ ผ่านการท้างาน ท้ากิจกรรม บ้าเพ็ญประโยชน์ ตบช. ๑ ผู้เรียนเป็นคนดี ท้างาน... เพื่อแบ่งเบาภาระครอบครัว ท้ากิจกรรมสถานศึกษา... เพื่อพัฒนาตนเอง บ้าเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม... เพื่อปลูกฝังจิตอาสา
  • 18. เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ร้อยละของผู้เรียนที่ท้างาน ท้ากิจกรรม บ้าเพ็ญประโยชน์ (นอกหลักสูตร) ไม่น้อยกว่า ๕๐ ชั่วโมง/ปี/คน ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ผู้ประเมินสุ่มตรวจผู้เรียนที่ปฏิบัติตามหลักฐานของสถานศึกษา เช่น บันทึกความดี เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า มีผู้เรียนท้าร้ายร่างกายผู้อื่นลักทรัพย์ ล่วงละเมิดทางเพศ การพนัน และค้ายาเสพติด ฯลฯ โดยครู/อาจารย์และผู้บริหารไม่ได้ ด้าเนินการแก้ไขและป้องกันไม่ให้เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดซ้้า
  • 19. ตบช. ๒ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร เกณฑ์การประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) เงื่อนไข : ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า มีผู้เรียนระดับชั้น ป.๓ ป.๖ และ ม.๓ อ่านและเขียน ภาษาไทยไม่ได้ตามเกณฑ์
  • 20. ตบช. ๓ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด ร้อยละของผู้เรียนระดับชั้น ป.๖ ม.๓ และ ม.๖ ที่มีผลการทดสอบ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิด สร้างสรรค์มีค่า T-Score≥40.00 (พิจารณาจากคะแนน O-NET )
  • 21. ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพ สามารถด้าเนิน ชีวิตประจ้าวันอย่างมีคุณค่า ใฝ่เรียนรู้ อยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล จัดการ ปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ปรับตัวให้ ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ตลอดจนรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผล กระทบต่อตนเองและผู้อื่น ตบช. ๔ ผู้เรียนมีทักษะชีวิต
  • 22. ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ ร้อยละของผู้เรียนที่มีรูปร่างสมส่วน ๑.๒ ร้อยละของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ประเภทต่างๆ ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ๒.๑ ผู้เรียนที่มีรูปร่างสมส่วน ๒.๒ สถานศึกษาน้าเสนอรายชื่อผู้เรียนที่มีพัฒนาการสมส่วน ในช่วง ๓ ปีที่ผ่านมา ๒.๓ ผู้ประเมินสุ่มตรวจทักษะของผู้เรียนตามที่โรงเรียนส่งเสริม เช่น ว่ายน้้า เล่นดนตรี พิมพ์สัมผัส เป็นต้น เกณฑ์การประเมิน
  • 23. ตบช. ๕ ครู/อาจารย์เป็นคนดี มีความสามารถ ตบช. ๖ ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ ตบช. ๗ ครู/อาจารย์มีผลงานที่น้าไปใช้ประโยชน์ ตบช. ๘ ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ ๒. ด้านคุณภาพครู/อาจารย์
  • 24. ตบช. ๕ ครู/อาจารย์เป็นคนดี มีความสามารถ ครู/อาจารย์ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด สม่้าเสมอเป็น แบบอย่างที่ดีต่อผู้เรียน สามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ และ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรายบุคคลพัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ เกณฑ์การประเมิน ๑.เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ พิจารณาความดีของครู/อาจารย์จากการด้าเนินการตามประเด็น พิจารณา (๒ คะแนน) ๑.๑.๑ มีข้อตกลงและแนวปฏิบัติร่วมกันที่น้าไปสู่ความเป็นคนดีของ ครู/อาจารย์ ๑.๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จที่เหมาะสม ๑.๑.๓ มีการด้าเนินงานที่ชัดเจน สม่้าเสมอ ต่อเนื่อง
  • 25. ๑.๑.๔ มีการส่งเสริมให้ครู/อาจารย์ นักเรียน ผู้ปกครองประพฤติ ปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต ๑.๑.๕ มีผลการประเมินความส้าเร็จโดยระบุค่าร้อยละของครู/ อาจารย์ที่มีลักษณะความดีตามที่ก้าหนด ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ผู้ประเมินพิจารณาพัฒนาการของคะแนน O-NET ทุกช่วงชั้นที่เปิด สอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้จาก ๓ ปีย้อนหลัง เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า มีครู/อาจารย์ท้าผิดจรรยาบรรณ โดยผู้บริหาร/ต้นสังกัด มิได้ ด้าเนินการลงโทษ
  • 26. ตบช.๖ ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ ครู/อาจารย์ น้าประสบการณ์จากการสอนมาสร้างสรรค์ห้องเรียน/ แหล่งเรียนรู้คุณภาพในสถานศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมาย ตามหลักสูตร โดยเน้นความเหมาะสม สะดวก แปลกใหม่ สอดคล้องกับ ความสนใจของผู้เรียน ท้าให้ผู้เรียนใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และมาใช้บริการ ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้นั้นอย่างสม่้าเสมอ
  • 27. เกณฑ์การประเมิน ๑. ร้อยละของห้องเรียนที่สะอาด สุขลักษณะ สวยงาม (๒ คะแนน) ๒. ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพที่เป็นต้นแบบ อย่างน้อย ๑ ห้อง ซึ่งเอื้ออ้านวยต่อ (๓ คะแนน) ๒.๑ ความคิดสร้างสรรค์ ๒.๒ ประหยัด ๒.๓ ประโยชน์ ๒.๔ ปลอดภัย ๒.๕ บรรยากาศการส่งเสริมการเรียนรู้ เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า มีห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ มิได้เกิดจากการคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ของครู/อาจารย์
  • 28. เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ร้อยละของครู/อาจารย์ที่มีผลงาน เช่น คู่มือ สื่อการสอน สิ่งประดิษฐ์ แบบจ้าลอง งานสร้างสรรค์ นวัตกรรมหรืองานวิจัยที่น้าไปใช้ในการจัดการเรียน การสอน ซึ่งได้รับการรับรองจากสถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ผู้ประเมินสุ่มตรวจผลงานฯ ตามหลักการสุ่มตัวอย่างในประเด็น ความ สอดคล้องของผลงานกับการปฏิบัติจริงของครู/อาจารย์ ตบช. ๗ ครู/อาจารย์มีผลงานที่น้าไปใช้ประโยชน์
  • 29. เงื่อนไข: จะได้ ๐ คะแนน หากพบว่า ๑. มีครู/อาจารย์ คัดลอกหรือให้ผู้อื่นท้าผลงานแทนเพื่อขอวิทยฐานะ โดยผู้บริหารมิได้ด้าเนินการลงโทษ ๒. มีผู้บริหารคัดลอกหรือให้ผู้อื่นท้าผลงานแทนเพื่อขอวิทยฐานะ โดยต้นสังกัดมิได้ด้าเนินการลงโทษ
  • 30. ตบช. ๘ ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ เพื่อพัฒนา ความรู้/ทักษะที่ส้าคัญเช่น วิธีการจัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผล การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนความรู้ในวิชาที่สอนเพื่อให้ ทันสมัยทันโลก ฯลฯ โดยการเข้าร่วมการประชุมวิชาการ/เข้ารับการ อบรม/ศึกษาบางวิชา/ดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในและระหว่าง สถานศึกษา ทั้งในและ/หรือต่างประเทศ โดยไม่กระทบต่อการจัดการเรียน การสอน เปิดเทอม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปิดเทอม เติมความรู้ พัฒนา ครู/อาจารย์
  • 31. เกณฑ์การประเมิน ๑. แลกเปลี่ยนเรียนรู้: (๒ คะแนน) ร้อยละของครู/อาจารย์ประจ้าที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเปิด ภาคเรียน (นอกเวลาเรียน)อย่างน้อย ๕๐ชั่วโมง/คน/ปี ๒. เพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์: (๓ คะแนน) ร้อยละของครู/อาจารย์ประจ้าที่ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ ประสบการณ์ระหว่างปิดภาคเรียนอย่างน้อย ๕๐ชั่วโมง/คน/ปี เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า มีครู/อาจารย์ละทิ้งการสอนโดยมิได้มีการจัดการสอนชดเชย
  • 32. ตบช. ๙ การด้าเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา ๓. ด้านการบริหารและธรรมาภิบาลของสถานศึกษา ตบช. ๑๐ การด้าเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษา ตบช. ๑๑ การบริหารความเสี่ยง ตบช. ๑๒ การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
  • 33. ตบช. ๙ การด้าเนินงานของคณะกรรมการสถานศึกษา เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ มีการก้าหนดนโยบาย แนวทางการด้าเนินงาน ๑.๒ มีผลการพิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตร ที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ๑.๓ มีการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ ๑.๔ มีการบริหารจัดการประชุมที่ดี ๑.๕ มีการน้าผลประเมินตนเองของสถานศึกษา ไปใช้ปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
  • 34. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) สัมภาษณ์บุคคลต่อไปนี้ ๑. ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (๑ คะแนน) ๒. ผู้แทนกรรมการ ๑-๒ คน (๑ คะแนน) ๓. ครู/อาจารย์ (๑ คะแนน) เงื่อนไข: จะได้ ๐ คะแนน หากพบว่า มีการจัดท้ารายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา โดย ไม่มีการจัดประชุมจริง
  • 35. ตบช. ๑๐ การด้าเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษา เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ ผลการประเมินการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร สถานศึกษา โดยคณะกรรมการสถานศึกษา (๑ คะแนน) ๑.๒ คะแนนที่ผู้บริหารสถานศึกษาได้รับจากการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ ๘ โดยต้นสังกัด (ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล) ปีล่าสุด (๑ คะแนน)
  • 36. เงื่อนไข: จะได้ ๐ คะแนน หากพบว่า ๑. มีผู้บริหารสถานศึกษากระท้าการทุจริต หรือ ๒. มีคะแนน O-NET ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่้ากว่าค่าเฉลี่ย ระดับประเทศ ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ๒.๑ สุ่มทดสอบการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียน(ประถมศึกษา) และ/หรือ การอ่านจับใจความ(มัธยมศึกษา) (๑ คะแนน) ๒.๒ ผู้ประเมินสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาในประเด็นการปฏิบัติงานตาม รายงานผลการประเมินตนเองและการน้าผลการประเมินไปใช้ในการ พัฒนาสถานศึกษา (๑ คะแนน) ๒.๓ การน้าผลการประกันคุณภาพภายในมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ย้อนหลัง ๓ ปี (๑ คะแนน)
  • 37. สถานศึกษามีผลการบริหารความเสี่ยงจากกระบวนการ ประเมินสถานการณ์ จัดล้าดับความส้าคัญ จัดการ ควบคุม ติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขความเสี่ยง ส่งผลให้ลด สาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน ชื่อเสียง และสังคม ตบช. ๑๑ การบริหารความเสี่ยง
  • 38. เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ มีการก้าหนดกลยุทธ์และเป้าหมาย ๑.๒ มีการระบุความเสี่ยงภายในและ/หรือภายนอก ๑.๓ มีการประเมินโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยง ๑.๔ มีการก้าหนดวิธีการ มาตรการ กลไกการควบคุม ๑.๕ มีการก้ากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารความเสี่ยง
  • 39. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ผู้ประเมินพิจารณาผลการบริหารจัดการความเสี่ยง ๒.๑ สามารถควบคุมความเสี่ยงทุกเรื่องตามที่ก้าหนด (๑ คะแนน) ๒.๒ สามารถลดความเสี่ยงทุกเรื่องตามที่ก้าหนด (๑ คะแนน) ๒.๓ ไม่ปรากฏเหตุการณ์ที่อยู่นอกเหนือประเภทความเสี่ยงที่ ก้าหนด (๑ คะแนน) เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า มีเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น โดยพิจารณาจาก ความรุนแรง ความถี่ และละเลย ไม่มีการแก้ไข ป้องกัน
  • 40. ตบช. ๑๒ การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน สถานศึกษามีบุคลากรประจ้าสายสนับสนุนวิชาการ/ธุรการที่ได้รับ การเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ เช่น ประชุมวิชาการ/อบรม/ศึกษาบาง วิชา/ดูงาน/น้าเสนอผลงานวิชาการและงานวิจัย ทั้งในและต่างประเทศ เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑. มีบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ/ธุรการอย่างน้อย ๑ คน (๑ คะแนน) ๒. มีการด้าเนินงานให้บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ/ ธุรการได้รับการพัฒนา (๑ คะแนน)
  • 41. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) สุ่มสัมภาษณ์บุลคลากรสายสนับสนุนวิชาการ/ธุรการใน ประเด็นต่อไปนี้ ๑. ได้รับการพัฒนา (๑ คะแนน) ๒. ได้รับการพัฒนาตรงกับงานที่เกี่ยวข้อง (๑ คะแนน) ๓. ได้มีการแบ่งเบาภาระงานธุรการของครู/อาจารย์ (คะแนน)
  • 42. ตบช. ๑๓ การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม ๔. ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม ตบช. ๑๔ การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา
  • 43. เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดแผนงาน ๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จ ๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ๑.๔ มีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ๑.๕ มีผลประเมินความพึงพอใจ ตบช. ๑๓ การให้ความร่วมมือที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม
  • 44. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ระบุโครงการที่ประสบความส้าเร็จที่สุดอย่างน้อย ๑ โครงการ ผู้ประเมินตรวจ/สัมภาษณ์ ตามประเด็นต่อไปนี้ ๒.๑ มีการด้าเนินการอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๓ ปี (๑ คะแนน) ๒.๒ ด้าเนินการได้โดยไม่ใช้งบประมาณสถานศึกษา (๑ คะแนน) ๒.๓ ได้รับการยอมรับ/ยกย่อง จากชุมชม/สังคม ขึ้นไป (๑ คะแนน)
  • 45. เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดแผนด้าเนินการ ๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จ ๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ๑.๔ มีส่วนร่วมของประชาคมและชุมชน ๑.๕ มีการประเมินผลความพึงพอใจ ตบช. ๑๔ การให้ความร่วมมือกับชุมชน/สังคมที่ส่งผลต่อสถานศึกษา
  • 46. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ระบุโครงการที่ประสบความส้าเร็จที่สุดอย่างน้อย ๑ โครงการ ผู้ประเมินตรวจ/สัมภาษณ์ ตามประเด็นต่อไปนี้ ๒.๑ มีผลการวิเคราะห์ความส้าเร็จ (๑ คะแนน) ๒.๒ มีการเผยแพร่และขยายผลในสถานศึกษาอื่น (๑ คะแนน) ๒.๓ มีความเป็นต้นแบบ โดยได้รับการยอมรับ/ยกย่องจากชุมชน สังคม (๑ คะแนน) หมายเหตุ ต้องไม่เป็นโครงการเดียวกับตัวบ่งชี้ที่ ๑๓
  • 47. ตบช. ๑๕ การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการท้านุบ้ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตบช. ๑๖ การพัฒนาสุนทรียภาพ
  • 48. เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ มีโครงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรัก ความนิยม ความชื่นชม ความเป็นไทย ๑.๒ มีกิจกรรมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีทักษะฝีมือ ด้านศิลปะและวัฒนธรรมไทย และประเพณีที่ดีงาม ๑.๓ มีการจัดหางบประมาณหรือทรัพยากรสนับสนุนทั้งจากภายใน และ/หรือภายนอก ๑.๔ มีส่วนร่วมกับชุมชน ๑.๕ มีการจัดให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม ตบช. ๑๕ การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม
  • 49. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ผู้ประเมินสุ่มตรวจหลักฐาน/สัมภาษณ์ ดังต่อไปนี้ ๒.๑ มีการจัดพื้นที่เพื่อการด้าเนินกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุน ศิลปะและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง(๑ คะแนน) ๒.๒ ผู้เรียนและบุคลากรมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม (๑ คะแนน) ๒.๓ ได้รับการยอมรับ/ยกย่องระดับชาติ และ/หรือนานาชาติ (๑ คะแนน) เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า มีการด้าเนินการเฉพาะกิจเพื่อรองรับการประเมินภายนอกเท่านั้น
  • 50. เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ มีโครงการพัฒนาผู้เรียนและบุคลากร ๑.๒ มีโครงการพัฒนาโรงเรียน ๑.๓ มีโครงการพัฒนาชุมชน ๑.๔ มีการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน ๑.๕ มีการประมวลความรู้ ประสบการณ์ที่ได้จากการด้าเนิน โครงการ และผลกระทบที่มีต่อผู้เรียน โรงเรียน และ/ หรือชุมชน ตบช. ๑๖ การพัฒนาสุนทรียภาพ
  • 51. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ผู้ประเมินพิจารณาสภาพแวดล้อมและบรรยากาศ ในประเด็น ต่อไปนี้ ๒.๑ เป็นระเบียบเรียบร้อยเอื้อต่อการใช้งาน (๑ คะแนน) ๒.๒ สอดคล้องกับธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่าง เหมาะสม (๑ คะแนน) ๒.๓ สะอาด ถูกสุขลักษณะสวยงาม (๑ คะแนน) เงื่อนไข: ลดลง ๑ คะแนน หากพบว่า มีการด้าเนินการเฉพาะกิจเพื่อรองรับการประเมินภายนอก เท่านั้น
  • 52. ๖. ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๗ อัตลักษณ์ผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ ๑๘ เอกลักษณ์สถานศึกษา
  • 53. ตบช. ๑๗ อัตลักษณ์ผู้เรียน เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดอัตลักษณ์ของผู้เรียนที่เหมาะสมและ ปฏิบัติได้ ๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จที่เหมาะสม ๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ๑.๔ มีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ๑.๕ มีการประเมินผลผู้เรียนที่ปรากฏอัตลักษณ์ (โดยระบุค่าร้อยละ)
  • 54. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ผู้ประเมินสุ่มตรวจเพื่อยืนยันอัตลักษณ์ของผู้เรียน ตามหลักการสุ่มตัวอย่าง
  • 55. เกณฑ์การประเมิน ๑. เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดเอกลักษณ์สถานศึกษาที่ เหมาะสมและปฏิบัติได้ ๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จที่เหมาะสม ๑.๓ มีระบบและกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนและ ต่อเนื่อง ๑.๔ มีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ๑.๕ มีการประเมินผลและน้าผลไปใช้ปรับปรุงพัฒนา ตบช. ๑๘ เอกลักษณ์สถานศึกษา
  • 56. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ผู้ประเมินพิจารณาประเด็นต่อไปนี้ ๒.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาดูงาน (๑ คะแนน) ๒.๒ มีการยอมรับ/ยกย่องในมิติต่างๆ (๑ คะแนน) ๒.๓ มีความเป็น“ต้นแบบ”วิธีด้าเนินการสู่ความส้าเร็จ และ มีการถ่ายโอนความรู้ด้านกระบวนการสู่สถานศึกษาอื่น (๑ คะแนน)
  • 57. ๗. ด้านมาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๙ มาตรการส่งเสริม (ภายในสถานศึกษา) ตัวบ่งชี้ที่ ๒๐ มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา)
  • 58. ตบช. ๑๙ มาตรการส่งเสริม (ภายในสถานศึกษา) สถานศึกษามีการเตรียมผู้เรียนและครู/อาจารย์ให้ทันสมัย ทันโลก และมีความพร้อมสู่สากล ประเภทโครงการ ๑. โครงการพัฒนาผู้เรียนในด้านภาษาต่างประเทศ ๒. โครงการพัฒนาผู้เรียนในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓. โครงการพัฒนาสถานศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
  • 59. เกณฑ์การประเมิน ๑. มีการก้าหนดนโยบาย/แผนพัฒนาที่ทันสมัยและสามารถปฏิบัติได้ ๒. มีการด้าเนินงานตามโครงการ (ทุกประเภท ประเภทละ ๑ โครงการต่อปี) ที่เกิดจากการส้ารวจความคิดเห็นความต้องการ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ๓. มีผลประเมินทุกโครงการ ๔. มีผลการปรับปรุงและด้าเนินโครงการให้เหมาะสมกับสภาพสังคม อย่างต่อเนื่อง ๕. มีแผนพัฒนาสู่อนาคต หรือโครงการเชิงอนาคต ที่ได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
  • 60. สถานศึกษามีการด้าเนินงานในการช่วยเหลือชุมชนสังคม รอบสถานศึกษา เช่น การชี้แนะ ป้องกัน และ/หรือแก้ปัญหา สังคม ที่สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ สภาพเศรษฐกิจ ชุมชน สังคม และจังหวัด ตบช. ๒๐ มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา)
  • 61. เกณฑ์การประเมิน ๑.เอกสาร: (๒ คะแนน) ๑.๑ มีเหตุผลในการก้าหนดความร่วมมือ และ/หรือช่วยเหลือชุมชน สังคม รอบสถานศึกษา ๑.๒ มีการก้าหนดตัวบ่งชี้และระดับความส้าเร็จที่เหมาะสม ๑.๓ มีแนวปฏิบัติและกระบวนการที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ๑.๔ มีระบบกลไกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ และสร้างการมีส่วนร่วม จากผู้เกี่ยวข้อง ๑.๕ มีผลการประเมินความพึงพอใจของชุมชนต่อสถานศึกษา (โดยระบุค่าร้อยละ)
  • 62. ๒. หลักฐานเชิงประจักษ์: (๓ คะแนน) ผู้ประเมินสุ่มตรวจหลักฐานที่แสดง ๒.๑ ผลการช่วยเหลือ/ความร่วมมือกับสถานศึกษาอื่นใน การพัฒนาวิชาการ (๑ คะแนน) ๒.๒ ผลความร่วมมือกับท้องถิ่น/ชุมชน/สังคม/จังหวัด ในการป้องกัน แก้ปัญหา และ/หรือการพัฒนาตาม บริบทของพื้นที่ (๑ คะแนน) ๒.๓ ได้รับการยอมรับระดับชุมชน/สังคม/จังหวัด/ชาติ/ นานาชาติ (๑ คะแนน)
  • 63. ขั้นตอนการด้าเนินงาน 1. ยกร่าง พค.๒๕๕๕ - ตค.๒๕๕๖ 2. ประชาพิจารณ์ พย.๒๕๕๖ – มค.๒๕๕๗ 3. ประเมินน้าร่อง เมย.๒๕๕๗ – มิย.๒๕๕๗ 4. ปรับปรุง ตบช./เกณฑ์ กค.๒๕๕๗ – สค.๒๕๕๗ 5. จัดท้าคู่มือ ๑๐ฉบับ เมย.๒๕๕๗ – กย.๒๕๕๗ 6. ประกาศรอบ๔........... ๑ ตค.๒๕๕๗