SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
"... เรื่ อ งที่ จ ะช่ ว ยชาวเขา และโครงการชาวเขานั น มี ป ระโยชน์ โ ดยตรงกั บ ชาวเขาที่ จ ะส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้
                                                                       ้
ชาวเขามี ค วามเป็ นอยู่ ดี ขึ น สามารถเพาะปลู ก สิ่ ง ที่ เ ป็ นประโยชน์ แ ละเป็ นรายได้ กั บ เขาเอง ที่ มี โ ครงการนี ้ จุ ด ประสงค์
                                       ้
 อย่ า งหนึ่ ง ก็ คื อ มนุ ษ ยธรรม หมายถึ ง ให้ ผู้ ที่ อ ยู่ ใ นถิ่ น ทุ ร กั น ดารสามารถที่ จ ะมี ค วามรู้ และพยุ ง ตั ว มี ค วามเจริ ญ ได้ อี ก
     อย่ า งหนึ่ ง ก็ เ ป็ นเรื่ อ งช่ ว ยในทางที่ ทุ ก คนเห็ น ว่ า เขาจะเลิ ก ปลู ก ยาเสพย์ ติ ด คื อ ฝิ่ น ทาให้ นโยบายการระงั บ การ
 ปราบปราม การสู บ ฝิ่ น และการค้ าฝิ่ นได้ ผลดี อั น นี เ้ ป็ นผลอย่ า งหนึ่ ง ผลอี ก อย่ า งหนึ่ ง ซึ่ ง สาคั ญ มากก็ คื อ ชาวเขาเป็ น
ผู้ ทาการเพาะปลู ก โดยวิ ธี ที่ จ ะทาให้ บ้ านเมื อ งของเราไปสู่ ห ายนะได้ โดยที่ ถ างป่ าแล้ วปลู ก ก็ เ ท่ า กั บ ช่ ว ยบ้ านเมื อ งให้ มี
ความดี ความอยู่ กิ น ดี แ ละความปลอดภั ย ได้ อี ก ทั่ ว ประเทศ เพราะถ้ าสามารถทาโครงการนี ไ้ ด้ สาเร็ จ ให้ ชาวเขาอยู่ เ ป็ น
   หลั ก เป็ นแหล่ ง สามารถที่ จ ะอยู่ ดี กิ น ดี พ อสมควร และสนั บ สนุ น นโยบายที่ จ ะรั ก ษาป่ าไม้ รั ก ษาดิ น ให้ เป็ นประโยชน์
                                                       ต่ อ ไป ประโยชน์ อั น นี จ ะยั่ ง ยื น มาก...."
                                                                                  ้
การเสด็จประพาสต้นบนดอย ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หว เป็ นต้ นกาเนินของ
                                                              ั
โครงการหลวงเมื่อ 32 ปี มาแล้ ว โครงการหลวงเป็ นโครงการส่วนพระองค์อย่างแท้ จริ ง ตังแต่เริ่ มแรก
                                                                                        ้
ทรงบริ จาคพระราชทรัพย์สวนพระองค์ เพื่อเริ่ มโครงการนี ้ เพื่อพิสจน์ทฤษฎี เพื่อดูแลอธิปไตยของ
                                ่                               ู
ประเทศและเหนือสิ่งอื่นใด เพื่อความอยู่ดีกินดีของพสกนิกรของพระองค์เอง ไม่มีพระมหากษัตริ ย์
พระองค์ใดในโลก ทรงอุทิศพระวรกาย พระชนมายุพระราชหฤทัย และทรงให้ เวลาอย่างมากมายใน
การทรงงานเพื่อทวยราษฎร์ อย่างแท้ จริ ง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ม.จ.ภีศเดช รัชนี รับสนอง
แนวพระพระราชดาริ และทรงนาการปฏิบติบนดอยตามพระราชดาริ และพระราชกระแส ความ
                                              ั
มุ่งมันที่มีรับสังครังแล้ วครังเล่าก็คือ "ความผาสุกของประชาชน และความมันคงของประเทศ" ซึงเป็ น
      ่          ่ ้          ้                                            ่                 ่
ภาพรวมของกรอบปฏิบติที่ใช้ ได้ ทวประเทศ สาหรับโครงการหลวงซึงดาเนินการในเขตภาคเหนือนัน
                            ั          ั่                           ่                           ้
มีความสาคัญในแง่ของการรักษาอธิปไตยของประเทศในการรักษาสภาวะวิกฤตของการรักษาและ
ดูแลต้ นน ้าลาธาร ในการทาให้ ชาวเขามีความเป็ นอยู่ดีขึ ้น ไม่ตดไม้ ทาลายป่ า ไม่ทาไรเลื่อนลอย ไม่
                                                              ั
ปลูกพืชเสพย์ติด และเป็ นประชากรที่อาศัยอยู่บนพื ้นที่สงที่มีจิตสานึกในการดูแลรักษาต้ นน ้าลาธาร
                                                        ู
ด้ วย
สาหรับงานบนพื ้นที่สง ผู้ปฏิบติงานในโครงการหลวงทุกคนได้ ยดถือหลักการ
                               ู        ั                                ึ
พระราชทาน ซึงง่าย สัน และตรงจุด มาตังแต่เริ่ มต้ นจนถึงปั จจุบนคือ
                 ่    ้                   ้                      ั
o ๑) ลดขันตอน
           ้
o ๒) เร็ วๆ เข้ า
o ๓) ช่วยเขาให้ ช่วยตัวเอง
o ๔) ปิ ดทองหลังพระ
           จากหลักการที่พระราชทานนี ้ทาให้ เกิดการสร้ างวีการที่สาคัญขึ ้น เพือใช้ ในการ
                                                                              ่
ปฏิบติในงานของโครงการหลวงคือ
    ั
o ๑) วิธีสร้ างการประสานงานและความร่ วมมือ
o ๒) วิธีสร้ างการบุกเบิกและทดสอบสิ่งใหม่ๆ
o ๓) วิธีสร้ างการกาหนดทางเลือก
o ๔) วิธีการสร้ างจิตสานึกของชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ทีอยูบนพื ้นทีสง
                                                 ่ ่         ่ ู
ม.จ.ภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง ได้ ทรงตรัสแก่เหล่าเจ้ าหน้ าที่
โครงการหลวงว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หว รับสังกับผู้เข้ าเฝาฯ ณ พระตาหนักจิตรลดา
                                                ั   ่         ้
รโหฐานว่า โครงการหลวงเกิดขึ ้นเพราะท่านไปเที่ยว คาว่า "ไปเที่ยว" นี ้ เราท่านน่าจะว่า
"ประพาสตัน" มากกว่า เพราะนอกจากจะเป็ นราชาศัพท์ที่ถกต้ อง แต่ออกจะไม่ใช้ กนแล้ วยัง
                                                            ู                     ั
ทาให้ เราเห็นภาพ พระพุทธเจ้ าหลวง เวลาเสด็จฯไปเที่ยวบ้ านชาวบ้ าน โดยที่เขาไม่ไม่ทราบ
ว่าท่านเป็ นใคร จึงไม่ประหม่ามาก คุยคล่องถึงการกินอยู่ ทาให้ ท่านสามารถพระราชทาน
ความช่วยเหลือได้ ตามพระราชอัธยาศัย ส่วนพระราชนัดดา คือ พระบาทสมเด็จพระ
เจ้ าอยู่หว รัชกาลที่ ๙ ของพวกเรานี ้ เมื่อทรงแปรพระราชฐานไปเชียงใหม่ เพื่อตามอากาศ
          ั
จะเสด็จฯไปหน้ าหนาว จึงเรี ยกว่า พักร้ อน อย่างที่ใครๆ เขามักจะเรี ยกกันไม่ได้ นอกจากนี ้
พระองค์ท่านไม่ได้ ทรงพัก แต่มกจะเสด็จฯ ดันดันไปทอดพระเนตรชีวิตของคนบนดอย ซึง
                                 ั            ้                                        ่
สาหรับคนอื่น ๆ แล้ ว ยังกับว่าอยู่คนละโลกกับเรา เช่นเมื่อราว ๓๐ ปี มาแล้ ว ทางไปพระ
ธาตุดอยสุเทพมีถนนลูกรังที่รถยนต์ขึ ้นได้ แต่ลาบาก จากนันถ้ าจะไปบ้ านแม้ วดอยปุย ก็ต้อง
                                                          ้
เดินเอา นอกจากจะจ้ างเสลี่ยงนังให้ เขาหามโยกเยกไป ในเมื่อระยะใกล้ ๆ ต้ องใช้ เวลาเดิน
                                   ่
นานเช่นนี ้ ดอยจึงพันหูพนตาของคนไทยส่วนมาก
                          ั
ตามกระแสรับสัง โครงการหลวงต้ องหาพืชเมืองหนาวมาปลูกบนดอย ซึงนอกจาก
                           ่                                                      ่
ฝิ่ นแล้ ว ในขณะนันไม่มีใครทราบว่า มีพืชอะไรบ้ างปลูกได้ ดังนันโครงการหลวงต้ องทาการ
                   ้                                          ้
วิจย คือ ทดลองมากมายหลายโครงการ การวิจยย่อมต้ องใช้ คนและเงิน สาหรับคนนันพวกที่
     ั                                       ั                                      ้
เพียบพร้ อมด้ วยความสามารถก็หาไม่ยาก เพราะเหล่านักวิชาศาสตร์ ทางเกษตร ทังจาก    ้
มหาวิทยาลัย และสถาบันต่าง ๆ มีความจงรักภักดีที่จะทางานถวาย โดยเฉพาะได้ ทางานใน
โครงการหลวง ที่ไม่ขนตอนมากมายเหมือนในระบบราชการ เพราะมีรับสังให้ ลดขันตอน
                     ั้                                               ่       ้
อนึง บรรดาอาจารย์ที่มาอาสาสมัครวิจยนัน ก็ได้ ข้อมูลความรู้จากผลการวิจยในประเทศเรา
       ่                              ั ้                               ั
ไปสอนแก่ศิษย์ ซึงดีกว่าการศึกษาในตาราที่ฝรั่งเขียนไว้ สาหรับเมืองเขา
                 ่
เหตุผลที่ว่าทาไมถึงต้ องส่งเสริ มให้ ชาวเขาปลูกไม้ ผล สาหรับเป็ นพืชทดแทนฝิ่ นนันก็
                                                                                               ้
เนื่องมาจากในงานวิจยของโครงการหลวง ในการหาพืชอื่นให้ ชาวเขาปลูกทดแทนฝิ่ นนันทาง
                         ั                                                             ้
โครงการฯ มีความมุ่งหมายที่จะแก้ ไขเรื่ องต่าง ๆ ไปพร้ อมกันด้ วย กล่าวคือพืชหลักควรจะเป็ นไม้ ยืน
ต้ น เช่นไม้ ผลชนิดต่าง ๆ กาแฟ ต้ นนัท (พวกเกาลัด มะคาเดเมียนัท วอลนัทหรื อมันฮ่อ เป็ นต้ น) ทังนี ้
                                                                                                   ้
เพื่อมุ่งหวังให้ ชาวเขาทามาหากินอยู่กบที่ เลิกทาไร่ เลื่อนลอย ซึงจะทาให้ หยุดยังการทาลายป่ าลงได้
                                         ั                         ่               ้
นอกจากนัน ไม้ ยืนต้ นเหล่านี ้ก็ยงให้ ประโยชน์ในแง่ของการอนุรักษ์ ดินและน ้า เหมือนกับเป็ นการ
             ้                    ั
ทดแทนป่ าไม้ อีกด้ วย จากการทดลองในเรื่ องไม้ ผลยืนต้ นนี ้ ทางโครงการหลวงสามารถหาพันธุ์ไม้ ผล
เมืองหนาวหลายชนิด ที่สามารถให้ ผลผลิตได้ ดีบนพื ้นที่สง และได้ นาผลจากการวิจยเรื่ อง การ
                                                            ู                        ั
ขยายพันธุ์ การปลูก ขันตอนการดูแลรักษา จนกระทังการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยได้ มีเจ้ าหน้ าที่
                           ้                             ่
ส่งเสริ มของโครงการมานาเอาความรู้ดงกล่าว ไปถ่ายทอด อบรมให้ แก่เกษตรกรชาวเขาตามหมู่บ้าน
                                           ั
ต่าง ๆ ต่อไป ปั จจุบนผลไม้ เมืองหนาวหลายชนิดที่ผลิตโดยชาวเขา เช่น พีช พลับ บ๊ วย พลัม สาบี่
                      ั
เอเซีย(ผลสีน ้าตาล) สตรอเบอรี่ ผลกีวี อะโวกาโดร องุ่น ฯลฯ มีจาหน่ายในตลาดกรุงเทพฯและ
เชียงใหม่ ภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าว่า "ดอยคา"
เนื่องจากไม้ ผลยืนต้ นต้ องใช้ เวลานาน ๓-๖ ปี กว่าจะได้ ผลผลิตทารายได้ ให้ แก่
ชาวเขาผู้ปลูก โครงการหลวงจึงมีนโนบายให้ หาพืชอายุสนให้ ชาวเขา ปลูกเป็ นรายได้ ไป
                                                           ั้
พลางก่อน พืชอายุสนเหล่านี ้มีมากมายหลายชนิดทีขึ ้นได้ ดีในที่สง และทารายได้ ไปพลาง
                        ั้                            ่           ู
ก่อน พืชอายุสนเหล่านี ้มีมากมายหลายชนิดทีขึ ้นได้ ดีในที่สง และทารายได้ ให้ แก่ผ้ ปลูกเป็ น
                  ั้                             ่            ู                   ู
อย่างมาก พืชดังกล่าว เช่น สตรอเบอรี่ ถัวชนิดต่าง ๆ ผักเมืองหนาวหลายชนิด สมุนไพร
                                             ่
เครื่ องเทศ เมล็ดพันธุ์ผกและดอกไม้ ไม้ ดอกชนิดต่าง ๆ ข้ าวสาลี และธัญพืชอื่นๆ เป็ นต้ น
                               ั
นอกจากไม้ ยืนต้ นและพืชอายุสนทีกล่าวถึงแล้ ว ชาวเขายังสามารถหารายได้ จากงานอื่น ๆ
                                  ั้ ่
เช่น งานหัตถกรรม ซึงทางมูลนิธิสงเสริ มศิลปาชีพได้ เข้ ามาให้ คาแนะนาการเลี ้ยงสัตว์ การ
                           ่         ่
ปลูก เห็ดเมืองหนาว เป็ นต้ น
             จะเห็นได้ วาถ้ าเราสามารถจัดการให้ ชาวเขามีการปลูกไม้ ผลยืนต้ นเป็ นพืชหลัก
                             ่
และพาพืชอายุสนอื่นๆ ที่เหมาะสมกับท้ องถิ่นให้ ปลูกได้ ตลอดปี โดยอาจมีงานพิเศษเสริ ม
                     ั้
เข้ าไปด้ วย ก็จะทาให้ ชาวเขามีรายได้ เกินกว่าการปลูกฝิ่ นอย่างมากมาย ชนิดของพืชทีจะ  ่
แนะนะให้ ปลูกและงานพิเศษที่จะเสริ มรายได้ นน จะต้ องมีการวางแผนให้ เหมาะ เพื่อให้
                                                   ั้
สอดคล้ องกับปั จจัยต่างๆ เช่น ภูมิอากาศ ทางคมนาคม และตลาด เป็ นต้ น
ด้ วยสายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่ ที่ทรงตังพระราชหฤทัยให้
                                                                                      ้
มีการรักษาป่ า ต้ นน ้าลาธาร บนพื ้นที่ภเู ขาสูงของประเทศ และในขณะเดียวกันก็ให้ ชาวเขาที่มาพึง       ่
พระบรมโพธสมภารอยู่ในพื ้นที่นนได้ มีชีวิตที่ดีขึ ้น ไม่เบียดเบียนป่ านัน คือ ไม่ตดไม้ ทาลายป่ า ไม่
                                  ั้                                      ้       ั
ปลูกพืชเสพย์ติดนัน พระองค์ได้ พระราชทานพระราชดาริ ให้ ชาวเขาอยู่เป็ นที่ไม่ทาไร่เลื่อนลอย ไม่
                     ้
ย้ ายหมู่บ้านเหมือนในอดีต พระองค์ได้ พระราชทานแนวทางการใช้ ประโยชน์ของป่ า ๓ อย่าง ให้ แก่
กรมป่ าไม้ และโครงการหลวงนาไปปฏิบติ คือ    ั
o ๑. ป่ าใช้ สอย คือให้ ชาวบ้ านปลูกต้ นไม้ เนื ้อแข็ง ที่สาหรับจะได้ นามาใช้ ก่อสร้ างที่ อยู่อาศัย
o ๒. ป่ าทาเชื ้อเพลิง คือให้ มีการปลูกต้ นไม้ โตเร็ วไว้ ในบริ เวณหมู่บ้าน สาหรับนามาใช้ สอยใน
    ครัวเรื อน เช่น ทาฟื น เพาะเห็ด
o ๓. ป่ ากินได้ คือให้ มีการปลูกต้ นไม้ ที่ให้ ผลผลิตสาหรับไว้ รับประทานและขายเป็ นร ได้ ซึงก็คือ ไม้
                                                                                                 ่
    ผลยืนต้ นชนิดต่าง ๆ
              และด้ วยวิธี จะทาให้ ชาวเขาเกิดความรักในพื ้นที่ทากิน มีความหวงแหนในต้ นไม้ ของเขา
และผลที่ตามมาก็คือ ต้ นไม้ ยืนต้ นเหล่านี ้ ก็จะทาหน้ าที่คล้ วยกับป่ า ในการอนุรักษ์ สภาพแวดล้ อม
รักษาต้ นน ้า ลาธารที่เป็ นสมบัติอนล ้าค่าของประเทศไทยต่อไป
                                     ั
ในเรื่ องของการรักษาสิงแวดล้ อมบนพื ้นที่สงทางโครงการหลวง ได้ ตระหนัก
                                   ่                     ู
เป็ นอย่างดี และได้ ปรับปรุงวิธีการผลิตไม้ ผล โดยไม่ใช้ สารเคมีที่เป็ นอันตรายในการ
กาจัดแมลงและโรคที่เป็ นศัตรูพืช กล่าวคือ นอกจากจะใช้ วิธีการควบคุมศัตรูพืชโดย
ชีววิธี เช่น ให้ แมลง เช่น พวกห ้า ตัวเบียน คอยควบคุมจานวนแมลงที่เป็ นศัตรูของพืช
โดยการรักษาสมดุลของธรรมชาติแล้ ว ทางโครงการหลวงยังได้ นาวิธีการต่างๆ มาใช้
เช่น ได้ แนะนาให้ เกษตรกรชาวเขา ห่อผลไม้ ตงแต่ผลยังเล็ก เพื่อปองกันไม่ให้ แมลง
                                              ั้                   ้
ทาลาย จึงทาให้ ไม่ต้องใช้ ยาฆ่าแมลงพ่น เหมือนกับการผลิตไม้ ผลเมืองหนาวทัวๆ ไป   ่
ในต่างประเทศ นอกจากนี ้ยังได้ แนะนาให้ ชาวเขาทาปุยหมัก ปู่ ยพืชสด ใช้ เอง โดยใช้
                                                       ๋
มูลสัตว์ และเศษพืชในท้ องที่เป็ นการลดการใช้ ป๋ ยเคมี เป็ นต้ น จึงกลาวได้ วาผลผลิต
                                                 ุ                           ่
ของโครงการหลวงนันสะอาด ปลอดภัยจากสารพิษตกค้ าง
                        ้
นางสาวอาทิมา รัตนพันธ์
มัธยมศึกษาปี ที่ ๔/๖ เลขที่ ๕

More Related Content

Similar to โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา

Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงPatchanon Winky'n Jindawanich
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5tongsuchart
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่kima203
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_sheet
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_sheetใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_sheet
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_sheet
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_sheetใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_sheet
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_sheetPrachoom Rangkasikorn
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัสbitzren
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 

Similar to โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา (20)

Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
ดอยคำ
ดอยคำดอยคำ
ดอยคำ
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
 
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_sheet
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_sheetใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_sheet
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_sheet
 
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_sheet
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_sheetใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_sheet
ใบความรู้ ใบกิจกรรม สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_sheet
 
$Rvri4 lq
$Rvri4 lq$Rvri4 lq
$Rvri4 lq
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัส
 
1
11
1
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 

โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา

  • 1. "... เรื่ อ งที่ จ ะช่ ว ยชาวเขา และโครงการชาวเขานั น มี ป ระโยชน์ โ ดยตรงกั บ ชาวเขาที่ จ ะส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ ้ ชาวเขามี ค วามเป็ นอยู่ ดี ขึ น สามารถเพาะปลู ก สิ่ ง ที่ เ ป็ นประโยชน์ แ ละเป็ นรายได้ กั บ เขาเอง ที่ มี โ ครงการนี ้ จุ ด ประสงค์ ้ อย่ า งหนึ่ ง ก็ คื อ มนุ ษ ยธรรม หมายถึ ง ให้ ผู้ ที่ อ ยู่ ใ นถิ่ น ทุ ร กั น ดารสามารถที่ จ ะมี ค วามรู้ และพยุ ง ตั ว มี ค วามเจริ ญ ได้ อี ก อย่ า งหนึ่ ง ก็ เ ป็ นเรื่ อ งช่ ว ยในทางที่ ทุ ก คนเห็ น ว่ า เขาจะเลิ ก ปลู ก ยาเสพย์ ติ ด คื อ ฝิ่ น ทาให้ นโยบายการระงั บ การ ปราบปราม การสู บ ฝิ่ น และการค้ าฝิ่ นได้ ผลดี อั น นี เ้ ป็ นผลอย่ า งหนึ่ ง ผลอี ก อย่ า งหนึ่ ง ซึ่ ง สาคั ญ มากก็ คื อ ชาวเขาเป็ น ผู้ ทาการเพาะปลู ก โดยวิ ธี ที่ จ ะทาให้ บ้ านเมื อ งของเราไปสู่ ห ายนะได้ โดยที่ ถ างป่ าแล้ วปลู ก ก็ เ ท่ า กั บ ช่ ว ยบ้ านเมื อ งให้ มี ความดี ความอยู่ กิ น ดี แ ละความปลอดภั ย ได้ อี ก ทั่ ว ประเทศ เพราะถ้ าสามารถทาโครงการนี ไ้ ด้ สาเร็ จ ให้ ชาวเขาอยู่ เ ป็ น หลั ก เป็ นแหล่ ง สามารถที่ จ ะอยู่ ดี กิ น ดี พ อสมควร และสนั บ สนุ น นโยบายที่ จ ะรั ก ษาป่ าไม้ รั ก ษาดิ น ให้ เป็ นประโยชน์ ต่ อ ไป ประโยชน์ อั น นี จ ะยั่ ง ยื น มาก...." ้
  • 2. การเสด็จประพาสต้นบนดอย ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หว เป็ นต้ นกาเนินของ ั โครงการหลวงเมื่อ 32 ปี มาแล้ ว โครงการหลวงเป็ นโครงการส่วนพระองค์อย่างแท้ จริ ง ตังแต่เริ่ มแรก ้ ทรงบริ จาคพระราชทรัพย์สวนพระองค์ เพื่อเริ่ มโครงการนี ้ เพื่อพิสจน์ทฤษฎี เพื่อดูแลอธิปไตยของ ่ ู ประเทศและเหนือสิ่งอื่นใด เพื่อความอยู่ดีกินดีของพสกนิกรของพระองค์เอง ไม่มีพระมหากษัตริ ย์ พระองค์ใดในโลก ทรงอุทิศพระวรกาย พระชนมายุพระราชหฤทัย และทรงให้ เวลาอย่างมากมายใน การทรงงานเพื่อทวยราษฎร์ อย่างแท้ จริ ง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ม.จ.ภีศเดช รัชนี รับสนอง แนวพระพระราชดาริ และทรงนาการปฏิบติบนดอยตามพระราชดาริ และพระราชกระแส ความ ั มุ่งมันที่มีรับสังครังแล้ วครังเล่าก็คือ "ความผาสุกของประชาชน และความมันคงของประเทศ" ซึงเป็ น ่ ่ ้ ้ ่ ่ ภาพรวมของกรอบปฏิบติที่ใช้ ได้ ทวประเทศ สาหรับโครงการหลวงซึงดาเนินการในเขตภาคเหนือนัน ั ั่ ่ ้ มีความสาคัญในแง่ของการรักษาอธิปไตยของประเทศในการรักษาสภาวะวิกฤตของการรักษาและ ดูแลต้ นน ้าลาธาร ในการทาให้ ชาวเขามีความเป็ นอยู่ดีขึ ้น ไม่ตดไม้ ทาลายป่ า ไม่ทาไรเลื่อนลอย ไม่ ั ปลูกพืชเสพย์ติด และเป็ นประชากรที่อาศัยอยู่บนพื ้นที่สงที่มีจิตสานึกในการดูแลรักษาต้ นน ้าลาธาร ู ด้ วย
  • 3. สาหรับงานบนพื ้นที่สง ผู้ปฏิบติงานในโครงการหลวงทุกคนได้ ยดถือหลักการ ู ั ึ พระราชทาน ซึงง่าย สัน และตรงจุด มาตังแต่เริ่ มต้ นจนถึงปั จจุบนคือ ่ ้ ้ ั o ๑) ลดขันตอน ้ o ๒) เร็ วๆ เข้ า o ๓) ช่วยเขาให้ ช่วยตัวเอง o ๔) ปิ ดทองหลังพระ จากหลักการที่พระราชทานนี ้ทาให้ เกิดการสร้ างวีการที่สาคัญขึ ้น เพือใช้ ในการ ่ ปฏิบติในงานของโครงการหลวงคือ ั o ๑) วิธีสร้ างการประสานงานและความร่ วมมือ o ๒) วิธีสร้ างการบุกเบิกและทดสอบสิ่งใหม่ๆ o ๓) วิธีสร้ างการกาหนดทางเลือก o ๔) วิธีการสร้ างจิตสานึกของชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ทีอยูบนพื ้นทีสง ่ ่ ่ ู
  • 4. ม.จ.ภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง ได้ ทรงตรัสแก่เหล่าเจ้ าหน้ าที่ โครงการหลวงว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หว รับสังกับผู้เข้ าเฝาฯ ณ พระตาหนักจิตรลดา ั ่ ้ รโหฐานว่า โครงการหลวงเกิดขึ ้นเพราะท่านไปเที่ยว คาว่า "ไปเที่ยว" นี ้ เราท่านน่าจะว่า "ประพาสตัน" มากกว่า เพราะนอกจากจะเป็ นราชาศัพท์ที่ถกต้ อง แต่ออกจะไม่ใช้ กนแล้ วยัง ู ั ทาให้ เราเห็นภาพ พระพุทธเจ้ าหลวง เวลาเสด็จฯไปเที่ยวบ้ านชาวบ้ าน โดยที่เขาไม่ไม่ทราบ ว่าท่านเป็ นใคร จึงไม่ประหม่ามาก คุยคล่องถึงการกินอยู่ ทาให้ ท่านสามารถพระราชทาน ความช่วยเหลือได้ ตามพระราชอัธยาศัย ส่วนพระราชนัดดา คือ พระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยู่หว รัชกาลที่ ๙ ของพวกเรานี ้ เมื่อทรงแปรพระราชฐานไปเชียงใหม่ เพื่อตามอากาศ ั จะเสด็จฯไปหน้ าหนาว จึงเรี ยกว่า พักร้ อน อย่างที่ใครๆ เขามักจะเรี ยกกันไม่ได้ นอกจากนี ้ พระองค์ท่านไม่ได้ ทรงพัก แต่มกจะเสด็จฯ ดันดันไปทอดพระเนตรชีวิตของคนบนดอย ซึง ั ้ ่ สาหรับคนอื่น ๆ แล้ ว ยังกับว่าอยู่คนละโลกกับเรา เช่นเมื่อราว ๓๐ ปี มาแล้ ว ทางไปพระ ธาตุดอยสุเทพมีถนนลูกรังที่รถยนต์ขึ ้นได้ แต่ลาบาก จากนันถ้ าจะไปบ้ านแม้ วดอยปุย ก็ต้อง ้ เดินเอา นอกจากจะจ้ างเสลี่ยงนังให้ เขาหามโยกเยกไป ในเมื่อระยะใกล้ ๆ ต้ องใช้ เวลาเดิน ่ นานเช่นนี ้ ดอยจึงพันหูพนตาของคนไทยส่วนมาก ั
  • 5. ตามกระแสรับสัง โครงการหลวงต้ องหาพืชเมืองหนาวมาปลูกบนดอย ซึงนอกจาก ่ ่ ฝิ่ นแล้ ว ในขณะนันไม่มีใครทราบว่า มีพืชอะไรบ้ างปลูกได้ ดังนันโครงการหลวงต้ องทาการ ้ ้ วิจย คือ ทดลองมากมายหลายโครงการ การวิจยย่อมต้ องใช้ คนและเงิน สาหรับคนนันพวกที่ ั ั ้ เพียบพร้ อมด้ วยความสามารถก็หาไม่ยาก เพราะเหล่านักวิชาศาสตร์ ทางเกษตร ทังจาก ้ มหาวิทยาลัย และสถาบันต่าง ๆ มีความจงรักภักดีที่จะทางานถวาย โดยเฉพาะได้ ทางานใน โครงการหลวง ที่ไม่ขนตอนมากมายเหมือนในระบบราชการ เพราะมีรับสังให้ ลดขันตอน ั้ ่ ้ อนึง บรรดาอาจารย์ที่มาอาสาสมัครวิจยนัน ก็ได้ ข้อมูลความรู้จากผลการวิจยในประเทศเรา ่ ั ้ ั ไปสอนแก่ศิษย์ ซึงดีกว่าการศึกษาในตาราที่ฝรั่งเขียนไว้ สาหรับเมืองเขา ่
  • 6. เหตุผลที่ว่าทาไมถึงต้ องส่งเสริ มให้ ชาวเขาปลูกไม้ ผล สาหรับเป็ นพืชทดแทนฝิ่ นนันก็ ้ เนื่องมาจากในงานวิจยของโครงการหลวง ในการหาพืชอื่นให้ ชาวเขาปลูกทดแทนฝิ่ นนันทาง ั ้ โครงการฯ มีความมุ่งหมายที่จะแก้ ไขเรื่ องต่าง ๆ ไปพร้ อมกันด้ วย กล่าวคือพืชหลักควรจะเป็ นไม้ ยืน ต้ น เช่นไม้ ผลชนิดต่าง ๆ กาแฟ ต้ นนัท (พวกเกาลัด มะคาเดเมียนัท วอลนัทหรื อมันฮ่อ เป็ นต้ น) ทังนี ้ ้ เพื่อมุ่งหวังให้ ชาวเขาทามาหากินอยู่กบที่ เลิกทาไร่ เลื่อนลอย ซึงจะทาให้ หยุดยังการทาลายป่ าลงได้ ั ่ ้ นอกจากนัน ไม้ ยืนต้ นเหล่านี ้ก็ยงให้ ประโยชน์ในแง่ของการอนุรักษ์ ดินและน ้า เหมือนกับเป็ นการ ้ ั ทดแทนป่ าไม้ อีกด้ วย จากการทดลองในเรื่ องไม้ ผลยืนต้ นนี ้ ทางโครงการหลวงสามารถหาพันธุ์ไม้ ผล เมืองหนาวหลายชนิด ที่สามารถให้ ผลผลิตได้ ดีบนพื ้นที่สง และได้ นาผลจากการวิจยเรื่ อง การ ู ั ขยายพันธุ์ การปลูก ขันตอนการดูแลรักษา จนกระทังการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยได้ มีเจ้ าหน้ าที่ ้ ่ ส่งเสริ มของโครงการมานาเอาความรู้ดงกล่าว ไปถ่ายทอด อบรมให้ แก่เกษตรกรชาวเขาตามหมู่บ้าน ั ต่าง ๆ ต่อไป ปั จจุบนผลไม้ เมืองหนาวหลายชนิดที่ผลิตโดยชาวเขา เช่น พีช พลับ บ๊ วย พลัม สาบี่ ั เอเซีย(ผลสีน ้าตาล) สตรอเบอรี่ ผลกีวี อะโวกาโดร องุ่น ฯลฯ มีจาหน่ายในตลาดกรุงเทพฯและ เชียงใหม่ ภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าว่า "ดอยคา"
  • 7. เนื่องจากไม้ ผลยืนต้ นต้ องใช้ เวลานาน ๓-๖ ปี กว่าจะได้ ผลผลิตทารายได้ ให้ แก่ ชาวเขาผู้ปลูก โครงการหลวงจึงมีนโนบายให้ หาพืชอายุสนให้ ชาวเขา ปลูกเป็ นรายได้ ไป ั้ พลางก่อน พืชอายุสนเหล่านี ้มีมากมายหลายชนิดทีขึ ้นได้ ดีในที่สง และทารายได้ ไปพลาง ั้ ่ ู ก่อน พืชอายุสนเหล่านี ้มีมากมายหลายชนิดทีขึ ้นได้ ดีในที่สง และทารายได้ ให้ แก่ผ้ ปลูกเป็ น ั้ ่ ู ู อย่างมาก พืชดังกล่าว เช่น สตรอเบอรี่ ถัวชนิดต่าง ๆ ผักเมืองหนาวหลายชนิด สมุนไพร ่ เครื่ องเทศ เมล็ดพันธุ์ผกและดอกไม้ ไม้ ดอกชนิดต่าง ๆ ข้ าวสาลี และธัญพืชอื่นๆ เป็ นต้ น ั นอกจากไม้ ยืนต้ นและพืชอายุสนทีกล่าวถึงแล้ ว ชาวเขายังสามารถหารายได้ จากงานอื่น ๆ ั้ ่ เช่น งานหัตถกรรม ซึงทางมูลนิธิสงเสริ มศิลปาชีพได้ เข้ ามาให้ คาแนะนาการเลี ้ยงสัตว์ การ ่ ่ ปลูก เห็ดเมืองหนาว เป็ นต้ น จะเห็นได้ วาถ้ าเราสามารถจัดการให้ ชาวเขามีการปลูกไม้ ผลยืนต้ นเป็ นพืชหลัก ่ และพาพืชอายุสนอื่นๆ ที่เหมาะสมกับท้ องถิ่นให้ ปลูกได้ ตลอดปี โดยอาจมีงานพิเศษเสริ ม ั้ เข้ าไปด้ วย ก็จะทาให้ ชาวเขามีรายได้ เกินกว่าการปลูกฝิ่ นอย่างมากมาย ชนิดของพืชทีจะ ่ แนะนะให้ ปลูกและงานพิเศษที่จะเสริ มรายได้ นน จะต้ องมีการวางแผนให้ เหมาะ เพื่อให้ ั้ สอดคล้ องกับปั จจัยต่างๆ เช่น ภูมิอากาศ ทางคมนาคม และตลาด เป็ นต้ น
  • 8. ด้ วยสายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่ ที่ทรงตังพระราชหฤทัยให้ ้ มีการรักษาป่ า ต้ นน ้าลาธาร บนพื ้นที่ภเู ขาสูงของประเทศ และในขณะเดียวกันก็ให้ ชาวเขาที่มาพึง ่ พระบรมโพธสมภารอยู่ในพื ้นที่นนได้ มีชีวิตที่ดีขึ ้น ไม่เบียดเบียนป่ านัน คือ ไม่ตดไม้ ทาลายป่ า ไม่ ั้ ้ ั ปลูกพืชเสพย์ติดนัน พระองค์ได้ พระราชทานพระราชดาริ ให้ ชาวเขาอยู่เป็ นที่ไม่ทาไร่เลื่อนลอย ไม่ ้ ย้ ายหมู่บ้านเหมือนในอดีต พระองค์ได้ พระราชทานแนวทางการใช้ ประโยชน์ของป่ า ๓ อย่าง ให้ แก่ กรมป่ าไม้ และโครงการหลวงนาไปปฏิบติ คือ ั o ๑. ป่ าใช้ สอย คือให้ ชาวบ้ านปลูกต้ นไม้ เนื ้อแข็ง ที่สาหรับจะได้ นามาใช้ ก่อสร้ างที่ อยู่อาศัย o ๒. ป่ าทาเชื ้อเพลิง คือให้ มีการปลูกต้ นไม้ โตเร็ วไว้ ในบริ เวณหมู่บ้าน สาหรับนามาใช้ สอยใน ครัวเรื อน เช่น ทาฟื น เพาะเห็ด o ๓. ป่ ากินได้ คือให้ มีการปลูกต้ นไม้ ที่ให้ ผลผลิตสาหรับไว้ รับประทานและขายเป็ นร ได้ ซึงก็คือ ไม้ ่ ผลยืนต้ นชนิดต่าง ๆ และด้ วยวิธี จะทาให้ ชาวเขาเกิดความรักในพื ้นที่ทากิน มีความหวงแหนในต้ นไม้ ของเขา และผลที่ตามมาก็คือ ต้ นไม้ ยืนต้ นเหล่านี ้ ก็จะทาหน้ าที่คล้ วยกับป่ า ในการอนุรักษ์ สภาพแวดล้ อม รักษาต้ นน ้า ลาธารที่เป็ นสมบัติอนล ้าค่าของประเทศไทยต่อไป ั
  • 9. ในเรื่ องของการรักษาสิงแวดล้ อมบนพื ้นที่สงทางโครงการหลวง ได้ ตระหนัก ่ ู เป็ นอย่างดี และได้ ปรับปรุงวิธีการผลิตไม้ ผล โดยไม่ใช้ สารเคมีที่เป็ นอันตรายในการ กาจัดแมลงและโรคที่เป็ นศัตรูพืช กล่าวคือ นอกจากจะใช้ วิธีการควบคุมศัตรูพืชโดย ชีววิธี เช่น ให้ แมลง เช่น พวกห ้า ตัวเบียน คอยควบคุมจานวนแมลงที่เป็ นศัตรูของพืช โดยการรักษาสมดุลของธรรมชาติแล้ ว ทางโครงการหลวงยังได้ นาวิธีการต่างๆ มาใช้ เช่น ได้ แนะนาให้ เกษตรกรชาวเขา ห่อผลไม้ ตงแต่ผลยังเล็ก เพื่อปองกันไม่ให้ แมลง ั้ ้ ทาลาย จึงทาให้ ไม่ต้องใช้ ยาฆ่าแมลงพ่น เหมือนกับการผลิตไม้ ผลเมืองหนาวทัวๆ ไป ่ ในต่างประเทศ นอกจากนี ้ยังได้ แนะนาให้ ชาวเขาทาปุยหมัก ปู่ ยพืชสด ใช้ เอง โดยใช้ ๋ มูลสัตว์ และเศษพืชในท้ องที่เป็ นการลดการใช้ ป๋ ยเคมี เป็ นต้ น จึงกลาวได้ วาผลผลิต ุ ่ ของโครงการหลวงนันสะอาด ปลอดภัยจากสารพิษตกค้ าง ้