SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้
                                         เรื่อง เทคนิคการหาหัวข้ อโครงงาน

การเลือกหัวข้ อทีจะทาโครงงาน
                    ่
     1. ต้องเป็ นเรื่ องที่นกเรี ยนสนใจจริ ง ๆ จะเป็ นเรื่ องอะไรก็ได้ในท้องถิ่นหรื อชุมชนที่นกเรี ยน
                              ั                                                               ั
สนใจ อยากศึกษาค้นคว้าเพื่อหาคาตอบ ในสิ่ งที่ตนเองสงสัยเพราะการทางานที่ตนเองให้ความสนใจเป็ น
พิเศษจะทาให้งานสาเร็ จลุล่วงไปได้ดี
     2. พิจารณาข้อมูลต่าง ๆ ประกอบให้ครอบคลุมเสี ยก่อนว่าเพียงพอหรื อไม่ในการทางานนั้น ๆ
เมื่อได้เลือกหัวข้อที่จะทาโครงงานตามความสนใจแล้ว ครู ที่ปรึ กษาจะทาหน้าที่คอยแนะนาเพิ่มเติมในส่ วน
                                                                                         ่
ที่ขาดเท่านั้น ถ้าเลือกหัวข้อดังกล่าวจะหาข้อมูลได้จากแหล่งใดบ้าง ทาอย่างไร จะยุงยากเกินความสามารถ
หรื อไม่
การเลือกหัวข้ อเพือทาโครงงาน
                       ่
                                                                                       ่
          นักเรี ยนอาจพิจารณาจากประเด็น ดังนี้ ศึกษาข้อมูลจากเรื่ องที่สนใจ ที่มีอยูในท้องถิ่นหรื อสิ่ งสาคัญ
      ่
ที่อยูในท้องถิ่นที่สูญหายไปตัวอย่าง เช่น
                      - ความเชื่อเรื่ องปู่ ตา
                      - ความสัมพันธ์ของปู่ ตากับชุ มชน
           -             ลักษณะของความเชื่อ
           -             สถานที่สาคัญ เช่น บือบ้าน สถานที่ศกดิ์สิทธิ์ โบราณถานต่างๆ
                                                              ั
                      - อื่น ๆ
การตั้งคาถามโครงงานประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น
             1. การตั้งคาถามนักเรี ยนควรใช้คาถามอย่างง่ายเป็ นเรื่ องใกล้ตวเสี ยก่อน เช่น ในท้องถิ่นมี
                                                                                ั
สถานที่ใดหรื อประเพณี สาคัญ ที่หายไป หายไปเพราะเหตุใด ปั ญหาหรื อต้นเหตุที่ทาให้หายเกิดจากใคร
หากจะฟื้ นฟูจะทาอย่างไร ทาไมสถานที่สาคัญเช่น ดอนปู่ ตาคนถึงไม่ไปตัดต้นไม้ สาเหตุน่าจะเกิดจาก
อะไร นักเรี ยนจะหาคาตอบได้อย่างไร สอบถามผูรู้ ค้นหาข้อมูลจากอินเตอร์ เน็ต
                                                      ้
          จากการถามคาถามที่เกี่ยวข้องในชุมชนนาไปสู่ คาถามที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์กบสิ่ งที่เกี่ยวข้อง เช่น
                                                                                           ั
ประเพณี น้ ีมีใครเข้าร่ วมบ้าง การบวงสรวงในแต่ละยุคใช้ อะไรบ้าง เช่น ดอกไม้ วัสดุอุปกรณ์ มีใครเข้าร่ วม
พิธีบาง ฯลฯ จากคาถามดังกล่าวบางคาถามสามารถตอบได้เลยแต่บางคาถามต้องใช้เวลาในการค้นหา
        ้
คาตอบ
              2. การคิด เป็ นกระบวนการที่มีความต่อเนื่องมาจากการสังเกต หลังจากที่สังเกตแล้ว นักเรี ยน
                                                                ่
ต้องประมวลสิ่ งที่สังเกตได้บวกกับประสบการณ์เดิมที่มีอยูแล้ว ทาให้เกิดข้อสงสัยอันเป็ นจุดเริ่ มต้นของการ
ค้นหา การแก้ปัญหา การสารวจ
การตั้งคาถามเกียวกับสิ่ งเร้ าหรือความสนใจ
                  ่
คาถามทีถามถึงลักษณะทางกายภาพมักมีข้อความ“อะไร” “ก็”
                  ่
        เช่น “ อะไรที่ทาให้มนเป็ นแบบนี้ ” “ ก็ ”
                                ั
        คาถามทีถามถึงวิธีการ ทีมามักมีข้อความ “อย่างไร” “ที่ไหน”
                    ่                ่
        เช่น“ ทาอย่างไร ” “ ทาที่ไหน ”
        คาถามทีถามถึงสาเหตุ เหตุผล มักมีข้อความ “ทาไม”
                          ่
        เช่น “ ทาไมต้องเอาไก่เสี่ ยงทาย ”
        คาถามทีถามถึงความสั มพันธ์ เปรียบเทียบ มักเป็ นประโยค .. “ กว่า……………….หรือไม่ ”
                      ่
        เช่น “ ถ้าเอาสัตว์อื่นเสี่ ยงทายจะเหมือนกันหรื อแตกต่างกัน ”
        คาถามทีมีจินตนาการเข้ าไปประกอบมักเป็ นประโยค “ถ้ าจะ...หรือไม่ ” “ถ้ า….จะเป็ นอย่างไร”
                        ่
        เช่น “ ถ้าเราไม่ใช้สิ่งเหล่านี้ในการประกอบพิธีกรรม มันจะเป็ นอย่างไร ”
กติกา 3-2-1
3 คาถามที่เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน
2 คาชม ที่เป็ น จุดเด่น จุดดี หรื อเป็ นประโยชน์ของหัวข้อโครงงานของเพื่อน
1 คาแนะนา หรื อเพิ่มเติมที่คิดว่าช่วยให้หวข้อโครงงาน ของเพื่อนดีข้ ึน
                                             ั

More Related Content

What's hot

การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้skiats
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
Intangible Mz
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
pyopyo
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 

What's hot (8)

123
123123
123
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
ใบงาน 14
ใบงาน 14ใบงาน 14
ใบงาน 14
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 

Similar to ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc

จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
korakate
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
แผนFamous people
แผนFamous peopleแผนFamous people
แผนFamous people
Ict Krutao
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
Pat1803
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
นำเสนอพัฒนาทักษะการคิด
นำเสนอพัฒนาทักษะการคิดนำเสนอพัฒนาทักษะการคิด
นำเสนอพัฒนาทักษะการคิดkrusunny
 
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรมใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
kornchawanyooyued
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
คุณน้อง แสนเทพ
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
pingkung
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 

Similar to ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc (20)

จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
123
123123
123
 
แผนFamous people
แผนFamous peopleแผนFamous people
แผนFamous people
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
นำเสนอพัฒนาทักษะการคิด
นำเสนอพัฒนาทักษะการคิดนำเสนอพัฒนาทักษะการคิด
นำเสนอพัฒนาทักษะการคิด
 
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรมใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 

ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง เทคนิคการหาหัวข้ อโครงงาน การเลือกหัวข้ อทีจะทาโครงงาน ่ 1. ต้องเป็ นเรื่ องที่นกเรี ยนสนใจจริ ง ๆ จะเป็ นเรื่ องอะไรก็ได้ในท้องถิ่นหรื อชุมชนที่นกเรี ยน ั ั สนใจ อยากศึกษาค้นคว้าเพื่อหาคาตอบ ในสิ่ งที่ตนเองสงสัยเพราะการทางานที่ตนเองให้ความสนใจเป็ น พิเศษจะทาให้งานสาเร็ จลุล่วงไปได้ดี 2. พิจารณาข้อมูลต่าง ๆ ประกอบให้ครอบคลุมเสี ยก่อนว่าเพียงพอหรื อไม่ในการทางานนั้น ๆ เมื่อได้เลือกหัวข้อที่จะทาโครงงานตามความสนใจแล้ว ครู ที่ปรึ กษาจะทาหน้าที่คอยแนะนาเพิ่มเติมในส่ วน ่ ที่ขาดเท่านั้น ถ้าเลือกหัวข้อดังกล่าวจะหาข้อมูลได้จากแหล่งใดบ้าง ทาอย่างไร จะยุงยากเกินความสามารถ หรื อไม่ การเลือกหัวข้ อเพือทาโครงงาน ่ ่ นักเรี ยนอาจพิจารณาจากประเด็น ดังนี้ ศึกษาข้อมูลจากเรื่ องที่สนใจ ที่มีอยูในท้องถิ่นหรื อสิ่ งสาคัญ ่ ที่อยูในท้องถิ่นที่สูญหายไปตัวอย่าง เช่น - ความเชื่อเรื่ องปู่ ตา - ความสัมพันธ์ของปู่ ตากับชุ มชน - ลักษณะของความเชื่อ - สถานที่สาคัญ เช่น บือบ้าน สถานที่ศกดิ์สิทธิ์ โบราณถานต่างๆ ั - อื่น ๆ การตั้งคาถามโครงงานประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น 1. การตั้งคาถามนักเรี ยนควรใช้คาถามอย่างง่ายเป็ นเรื่ องใกล้ตวเสี ยก่อน เช่น ในท้องถิ่นมี ั สถานที่ใดหรื อประเพณี สาคัญ ที่หายไป หายไปเพราะเหตุใด ปั ญหาหรื อต้นเหตุที่ทาให้หายเกิดจากใคร หากจะฟื้ นฟูจะทาอย่างไร ทาไมสถานที่สาคัญเช่น ดอนปู่ ตาคนถึงไม่ไปตัดต้นไม้ สาเหตุน่าจะเกิดจาก อะไร นักเรี ยนจะหาคาตอบได้อย่างไร สอบถามผูรู้ ค้นหาข้อมูลจากอินเตอร์ เน็ต ้ จากการถามคาถามที่เกี่ยวข้องในชุมชนนาไปสู่ คาถามที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์กบสิ่ งที่เกี่ยวข้อง เช่น ั ประเพณี น้ ีมีใครเข้าร่ วมบ้าง การบวงสรวงในแต่ละยุคใช้ อะไรบ้าง เช่น ดอกไม้ วัสดุอุปกรณ์ มีใครเข้าร่ วม พิธีบาง ฯลฯ จากคาถามดังกล่าวบางคาถามสามารถตอบได้เลยแต่บางคาถามต้องใช้เวลาในการค้นหา ้ คาตอบ 2. การคิด เป็ นกระบวนการที่มีความต่อเนื่องมาจากการสังเกต หลังจากที่สังเกตแล้ว นักเรี ยน ่ ต้องประมวลสิ่ งที่สังเกตได้บวกกับประสบการณ์เดิมที่มีอยูแล้ว ทาให้เกิดข้อสงสัยอันเป็ นจุดเริ่ มต้นของการ ค้นหา การแก้ปัญหา การสารวจ การตั้งคาถามเกียวกับสิ่ งเร้ าหรือความสนใจ ่
  • 2. คาถามทีถามถึงลักษณะทางกายภาพมักมีข้อความ“อะไร” “ก็” ่ เช่น “ อะไรที่ทาให้มนเป็ นแบบนี้ ” “ ก็ ” ั คาถามทีถามถึงวิธีการ ทีมามักมีข้อความ “อย่างไร” “ที่ไหน” ่ ่ เช่น“ ทาอย่างไร ” “ ทาที่ไหน ” คาถามทีถามถึงสาเหตุ เหตุผล มักมีข้อความ “ทาไม” ่ เช่น “ ทาไมต้องเอาไก่เสี่ ยงทาย ” คาถามทีถามถึงความสั มพันธ์ เปรียบเทียบ มักเป็ นประโยค .. “ กว่า……………….หรือไม่ ” ่ เช่น “ ถ้าเอาสัตว์อื่นเสี่ ยงทายจะเหมือนกันหรื อแตกต่างกัน ” คาถามทีมีจินตนาการเข้ าไปประกอบมักเป็ นประโยค “ถ้ าจะ...หรือไม่ ” “ถ้ า….จะเป็ นอย่างไร” ่ เช่น “ ถ้าเราไม่ใช้สิ่งเหล่านี้ในการประกอบพิธีกรรม มันจะเป็ นอย่างไร ” กติกา 3-2-1 3 คาถามที่เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน 2 คาชม ที่เป็ น จุดเด่น จุดดี หรื อเป็ นประโยชน์ของหัวข้อโครงงานของเพื่อน 1 คาแนะนา หรื อเพิ่มเติมที่คิดว่าช่วยให้หวข้อโครงงาน ของเพื่อนดีข้ ึน ั