SlideShare a Scribd company logo
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 1
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
(ก) แหล่งจ่ายแรงดันไฟตรง
แรงดัน
+ 1.5 V
เวลา
(ข) ระดับแรงดันที่จ่ายออกมา
รูปที่ 1.1 แหล่งจ่ายแรงดันไฟตรงและระดับแรงดันไฟ
ตรงที่เกิด
1. ไฟฟ้ ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) หรืออาจเรียกสั้น ๆ
ว่าไฟดีซี (DC) คือไฟฟ้ าที่มีทิศทางการไหลของ
กระแสเพียงทิศทางเดียวอย่างต่อเนื่อง เกิดจาก
แหล่งกําเนิดไฟฟ้ าที่มีขั้วแรงดันบวก (+) หรือลบ (-)
จ่ายออกมาคงที่ตายตัว ไม่มีการเปลี่ยนแปลงขั้วแรงดัน
ระดับแรงดันที่จ่ายออกมาจะคงที่ตลอดเวลา
รูปที่ 1.2 แหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
2. แหล่งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
แหล่งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงที่จ่ายให้กับวงจรไฟฟ้ า
และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีหลายรูปแบบ เช่น
แบตเตอรี่ (Battery) เซลล์ไฟฟ้ า (Electric Cell)
แหล่งจ่ายไฟตรง (DC Power Supply) เป็นต้น
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 2
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.3 เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิ ( Primary Cell)
รูปที่ 1.4 ถ่านไฟฉายชนิดประจุแรงดันใหม่ได้
และเครื่องประจุแรงดัน
2.1 เซลล์ไฟฟ้ า (Electric Cell)
เซลล์ไฟฟ้า จัดเป็นอุปกรณ์หน่วยย่อยหน่วยหนึ่งใน
แบตเตอรี่ แบ่งตามลักษณะของเซลล์ไฟฟ้าที่ผลิตมา
ใช้งานได้ 2 ชนิดคือ
1. เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิ (Primary Cell) เป็น
เซลล์ไฟฟ้ าที่เมื่อใช้งานจนหมดประจุไฟฟ้ าแล้วไม่
สามารถนําไปอัดประจุไฟฟ้ า (Charge)ใหม่แล้วนํา
กลับมาใช้ได้อีกและยังมีชื่อเรียกอีกชื่อ คือเซลล์ไฟฟ้ า
แบบแห้ง (Dry Cell) เช่น ถ่านไฟฉายที่ใช้งานทั่วไป
2. เซลไฟฟ้ าทุติยภูมิ (Secondary Cell) เป็น
เซลล์ไฟฟ้ าที่เมื่อใช้งานจนหมดประจุไฟฟ้ าแล้ว
สามารถนําไปอัดประจุไฟฟ้ า (Charge)ใหม่แล้วนํา
กลับมาใช้ได้อีก และยังมีชื่อเรียกอีกชื่อ คือเซลล์ไฟฟ้า
แบบเปียก (Wet Cell) เช่น แบตเตอรี่รถยนต์
ถ่านไฟฉายชนิดนิกเกิลแคดเมียม (NiCD) ถ่ายไฟฉาย
ชนิดนิกเกิลมิตอลไฮดรายด์ (NiMH) เป็นต้น
(ก) Cell
(ข) Battery
รูปที่ 1.5 สัญลักษณ์ Cell และ Battery
2.2 แบตเตอรี่ (Battery)
เป็นแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง แบตเตอรี่อันหนึ่ง
จะประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่หนึ่งเซลล์ขึ้นไป
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 3
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.6 แหล่งจ่ายไฟตรงแบบค่าคงที่
2.3 แหล่งจ่ายไฟตรง (DC Power Supply)
เป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง ที่ออกแบบมาเพื่อใช้
งานในด้านต่างๆ โดยการนําหลักการของวงจรแปลง
ไฟฟ้ ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ ากระแสตรงหรือที่เรียกว่า
วงจรเร็กติไฟเออร์ ( Rectifier ) มาใช้งาน มีขั้วบวก
และขั้วลบที่แน่นอน การออกแบบใช้งานมีทั้งแบบ
ค่าคงที่และปรับเปลี่ยนค่าแรงดันไฟฟ้าได้
(ก) อนุกรม
(ข) ขนาน
3. รูปแบบการต่อเซลล์ไฟฟ้ า
การต่อเซลล์ไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ
1. การต่อแบบอนุกรม (Series Cell)
เป็นการนําเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อเรียงเป็นลําดับกัน โดยนํา
ขั้วที่ต่างกันต่อเข้าด้วยกัน ส่วนขั้วที่เหลือตอนต้นและ
ตอนปลายคือขั้วที่นําไปต่อใช้งาน แบ่งได้ 2 แบบ คือ
การต่อแบบเสริมแรงดัน และการต่อแบบหักล้าง
แรงดัน
2. การต่อแบบขนาน (Parallel Cell)
เป็นการนําเซลล์ไฟฟ้ า ตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไป มาต่อเข้า
ด้วยกัน โดยนําขั้วที่เหมือนกันต่อเข้าด้วยกัน แล้วนํา
ขั้วของเซลล์ไฟฟ้าที่ต่อขนานไปใช้งาน
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 4
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
(ค) อนุกรม-ขนาน (ง) ขนาน-อนุกรม
รูปที่ 1.7 รูปแบบการต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลไฟฟ้ าแบบขนาน เซลล์ไฟฟ้ าแต่ละเซลล์
จะต้องมีค่าแรงดันไฟฟ้าเท่ากัน
3. การต่อแบบผสม (Series Cell -Parallel Cell)
การต่อเซลไฟฟ้าแบบผสม มีวิธีการต่อ 2 วิธี คือ
1. แบบอนุกรม-ขนาน
2. แบบขนาน-อนุกรม
การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสมจะทําให้กระแสไฟฟ้าและ
แรงดันไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
(ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า
(ข) สัญลักษณ์
รูปที่ 1.8 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
เสริมแรงดัน
4. การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม
4.1 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมเสริมแรงดัน
ผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมเสริมแรงดัน จะ
ทําให้แรงดันไฟฟ้ารวมเพิ่มขึ้น แต่กระแสไฟฟ้าจะไม่
เพิ่มขึ้น กระแสไฟฟ้ ารวมจะเท่ากับกระแสไฟฟ้ าของ
เซลล์ไฟฟ้าที่มีกระแสน้อยที่สุด ดังนั้นจึงไม่ควรนํา
ถ่านไฟฉายเก่ามาใช้ร่วมกับถ่านไฟฉายใหม่ เพราะ
ถ่านไฟฉายเก่าจะเป็นเหตุให้กระแสไฟในวงจรลด
น้อยลงได้
การคํานวณหาได้จากสูตร
โดยที่
ET = แรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร หน่วย V
E1 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 1 หน่วย V
E2 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 2 หน่วย V
E3 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 3 หน่วย V
ET = E1 + E2 + E3
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 5
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
(ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า
(ข) สัญลักษณ์
รูปที่ 1.9 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
หักล้างแรงดัน
4.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมหักล้างแรงดัน
จะทําให้แรงดันไฟฟ้าลดลง
การคํานวณหาได้จากสูตร
โดยที่
ET = แรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร หน่วย V
E1 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 1 หน่วย V
E2 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 2 หน่วย V
E3 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 3 หน่วย V
รูปที่ 1.10 ตัวอย่างที่ 1.1 การคํานวณการต่อ
เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
4.3 ตัวอย่างการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบ
อนุกรม
ตัวอย่างที่ 1.1 หากนําเอาถ่านไฟฉาย 1.5 V 2 A ต่อ
อนุกรมกัน 4 ก้อน จงหาค่าแรงดันไฟฟ้าและ
กระแสไฟฟ้า
วิธีทํา
จากสูตร ET = E1 + E2 + E3 + E4
แทนค่า ET = 1.5 + 1.5 + 1.5 + 1.5
 ET = 6 V และ IT = 2 A ตอบ
ET = E1 + E2 - E3
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 6
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.11 ตัวอย่างที่ 1.2 การคํานวณการต่อเซลล์
แบบอนุกรม
ตัวอย่างที่ 1.2 จากวงจรในรูปที่ 1.11 จงหาค่า ET และ
IT ของวงจร
วิธีทํา
จากสูตร ET = E1 + E2 + E3
แทนค่า ET = 1.5 + 1.5 + 9
 ET = 12 V และ IT = 0.5 A ตอบ
ค่ากระแสไฟฟ้าของวงจรมีค่าเท่ากับค่ากระแสไฟฟ้า
ตํ่าสุดของเซลล์ไฟฟ้า
รูปที่ 1.12 ตัวอย่างที่ 1.3 การคํานวณการต่อเซลล์
แบบอนุกรม
ตัวอย่างที่ 1.3 จากวงจรในรูปที่ 1.12 จงหาค่า ET และ
IT ของวงจร
วิธีทํา
จากสูตร ET = E1 + E2 + E3
แทนค่า ET = 1.5 + 1.5 + 1.5
 ET = 4.5 V และ IT = 1 A ตอบ
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 7
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
1.5V
1A
1.5V
1A
1.5V
1A
ET=1.5V
IT=3A
(ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า
(ข) สัญลักษณ์
รูปที่ 1.13 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน
5. การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน
ผลของการต่อเซลไฟฟ้ าแบบขนานจะทําให้
แรงดันไฟฟ้ารวมเท่าเดิม หรือเท่ากับแรงดันไฟฟ้าของ
เซลล์ที่ตํ่าที่สุด แต่กระแสไฟฟ้ ารวมจะเพิ่มขึ้นเท่ากับ
กระแสของทุกเซลล์รวมกัน ในกรณีที่ขั้วของ
เซลล์ไฟฟ้ามีทิศทางเดียวกัน หากขั้วของเซลล์ไฟฟ้ามี
ทิศทางตรงกันข้ามกันกระแสไฟฟ้าจะลดลง
การคํานวณหาได้จากสูตร
โดยที่
ET = แรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร หน่วย V
E1 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 1 หน่วย V
E2 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 2 หน่วย V
E3 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 3 หน่วย V
และ
โดยที่
IT = กระแสไฟฟ้ารวมของวงจร หน่วย A
I1 = กระแสไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 1 หน่วย A
I2 = กระแสไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 2 หน่วย A
I3 = กระแสไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 3 หน่วย A
ET = E1 = E2 = E3
IT = I1 + I2 + I3
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 8
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.14 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน
ขั้วของเซลล์ไฟฟ้ามีทิศทางเดียวกัน
5.1 ตัวอย่างการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน
ตัวอย่างที่ 1.4 จากวงจรในรูปที่ 1.14 จงหาค่า ET
และ IT ของวงจร
วิธีทํา
จากสูตร ET = E1 = E2 = E3
แทนค่า ET = 1.5 V
IT = 0.5 + 0.5 + 0.5
 IT = 1.5 A ตอบ
รูปที่ 1.15 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน ขั้วของ
เซลล์ไฟฟ้ามีทิศทางตรงข้ามกัน
ตัวอย่างที่ 1.5 จากวงจรในรูปที่ 1.15 จงคํานวณหาค่า
กระแสไฟฟ้ารวมของวงจร
วิธีทํา
IT = I1 + I2 - I3
IT = 1 + 1 - 0.5
 IT = 1.5 A ตอบ
รูปที่ 1.16 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน
ตัวอย่างที่ 1.6 จากวงจรในรูปที่ 1.16 จงคํานวณหาค่า
แรงดันไฟฟ้ารวมและกระแสไฟฟ้ารวมของวงจร
วิธีทํา
ET = E1 = E2
 ET = 3 V
IT = I1 + I2 + I3
IT = 0.5 + 0.5 + 0.5
 IT = 1.5 A ตอบ
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 9
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
(ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า
(ข) สัญลักษณ์
รูปที่ 1.17 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้า
อนุกรม-ขนาน
6. การคํานวณการต่อเซลไฟฟ้ าแบบผสม
ถ้าเซลล์ไฟฟ้าต่อแบบอนุกรม คํานวณแบบอนุกรม ถ้า
เซลล์ไฟฟ้าต่อแบบขนาน คํานวณแบบขนาน
6.1 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าอนุกรม-ขนาน
ตัวอย่างที่ 1.7 จากวงจรในรูปที่ 1.17 จงคํานวณหาค่า
แรงดันไฟฟ้ารวมและกระแสไฟฟ้ารวมของวงจร
วิธีทํา
ET1 = E1 + E2
แทนค่า = 1.5 + 1.5 = 3 V
ET2 = E3 + E4
= 1.5 + 1.5 = 3 V
 ET = ET1 = ET2 = 3 V
IT = I1+I2
 IT = 2 + 0.5 = 2.5 A ตอบ
(ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า
(ข) สัญลักษณ์
รูปที่ 1.18 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้า
ขนาน-อนุกรม
6.2 ตัวอย่างการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ า
ขนาน-อนุกรม
ตัวอย่างที่ 1.8 จากวงจรในรูปที่ 1.18 จงหาค่า ET และ
IT ของวงจร
วิธีทํา
แรงดันที่จุด AB = E1 = E2 = 1.5 V
กระแสที่จุด AB = 2 A + 2 A = 4 A
แรงดันที่จุด BC = E3 = E4 = 1.5 V
กระแสที่จุด BC = 0.5 A + 0.5 A = 1 A
 ET = แรงดันที่จุด AB + แรงดันที่จุด BC
= 1.5 V + 1.5 V = 3 V
 IT = กระแสของแบตเตอรี่ที่ตํ่าสุดระหว่างจุด AB
จุด BC = 1 A ตอบ
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 10
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.19 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
7. วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม แบบขนาน
และแบบผสม
7.1 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม
7.1.1 เตรียมอุปกรณ์
อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและทดสอบ
แหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วย
1. รางถ่านพร้อมสายคีบ
2. ถ่านไฟฉาย AA
3. มัลติมิเตอร์
7.1.2 อ่านแบบจากวงจร
7.1.3 นําถ่านไฟฉาย AA ใส่ลงในรางถ่าน จํานวน
3 ชุด
7.1.4 นําขั้วที่ต่างกันต่อเข้าด้วยกัน ขั้วที่เหลือ
ตอนต้นและตอนปลายต่อใช้
1 2 3
7.1.1
7.1.2
7.1.3
7.1.4
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 11
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.20 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน
7.2 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน
7.2.1 เตรียมอุปกรณ์
อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและทดสอบ
แหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วย
1. รางถ่านพร้อมสายคีบถ่านไฟฉาย AA
2. ถ่านไฟฉาย AA
3. มัลติมิเตอร์
7.2.2 อ่านแบบจากวงจร
7.2.3 นําถ่านไฟฉาย AA ใส่ลงในรางถ่าน จํานวน
3 ชุด
7.2.4 นําขั้วที่เหมือนกันต่อเข้าด้วยกัน ขั้วของ
เซลล์ไฟฟ้าที่ขนานกันนําไปใช้งาน
1 2 3
7.2.1
7.2.2
7.2.3
7.2.4
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 12
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.21 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม
7.3 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม
7.3.1 เตรียมอุปกรณ์
อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและทดสอบ
แหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วย
1. รางถ่านพร้อมสายคีบ
2. ถ่านไฟฉาย AA
3. สายต่อวงจรไฟฟ้า
4. มัลติมิเตอร์
7.3.2 อ่านแบบจากวงจร
7.3.3 นําถ่านไฟฉาย AA ใส่ลงในรางถ่าน
จํานวน 4 ชุด
7.3.4 นําขั้วที่ต่างกันต่อเข้าด้วยกัน 2 ชุด แล้วนํา
ขั้วที่เหมือนกันของชุดที่ 1 และชุดที่ 2 ต่อเข้าด้วยกัน
7.3.1
1 2 3
7.3.2
7.3.3
7.3.4
4
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 13
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.22 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบ
การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
8. วิธีการวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ า
กระแสตรง
8.1 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบการต่อ
เซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม
8.1.1 ต่อวงจรตามแบบ
8.1.2 ตั้งมัลติมิเตอร์ที่ย่านการวัด 10 DCV หรือตั้ง
ที่ย่านการวัด DCV สูงๆ เมื่อวัดไม่ขึ้นให้ลดย่านการวัด
8.1.3 ใช้มัลติมิเตอร์วัดคร่อมจุดที่ต้องการวัด โดย
ใช้สายสีแดงของมิเตอร์วัดที่สายสีแดงของรางถ่าน ชุด
ที่ 1 สายสีดําวัดที่สายสีดําของรางถ่านไฟฉาย ชุดที่ 1
และวัดชุดที่ 2 และ 3 ตามลําดับ จะได้แรงดันตกคร่อม
แหล่งจ่ายแต่ละตัวในวงจร (E1,E2 และE3)
8.1.4 ใช้สายสีแดงของมัลติมิเตอร์วัดที่สายสีแดง
ของรางถ่าน ชุดที่ 1 และสายสีดําของมิเตอร์วัดที่สายสี
ดําของรางถ่าน ชุดที่ 3 เพื่อวัดหาค่าแรงดันไฟฟ้ารวม
ของวงจร (ET)
8.1.1
8.1.2
12
3 8.1.4
8.1.3
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 14
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.23 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบ
การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน
8.2 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบการต่อ
เซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน
8.2.1 ต่อวงจรตามแบบ
8.2.2 ตั้งมัลติมิเตอร์ที่ย่านการวัด 10 DCV หรือตั้ง
ที่ย่านการวัด DCV สูงๆ เมื่อวัดไม่ขึ้นให้ลดย่านการวัด
8.2.3 ใช้มัลติมิเตอร์วัดคร่อมจุดที่ต้องการวัด โดย
ใช้สายสีแดงของมิเตอร์วัดที่สายสีแดงของรางถ่าน ชุด
ที่ 1 สายสีดําวัดที่สายสีดําของรางถ่านไฟฉาย ชุดที่ 1
และวัดชุดที่ 2 และ 3 ตามลําดับ จะได้แรงดันตกคร่อม
แหล่งจ่ายแต่ละตัวในวงจรและได้แรงดันไฟฟ้ารวม
ของวงจร (E1, E2 , E3และ ET )
8.2.1
8.2.2
8.2.3
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 15
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.24 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบ
การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม
8.3 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบการต่อ
เซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม
8.3.1 ต่อวงจรตามแบบ
8.3.2 ตั้งมัลติมิเตอร์ที่ย่านการวัด 10 DCV หรือตั้ง
ที่ย่านการวัด DCV สูงๆ เมื่อวัดไม่ขึ้นให้ลดย่านการวัด
8.3.3 ใช้มัลติมิเตอร์วัดคร่อมจุดที่ต้องการวัด โดย
ใช้สายสีแดงของมิเตอร์วัดที่สายสีแดงของรางถ่าน ชุด
ที่ 1 สายสีดําวัดที่สายสีดําของรางถ่าน ชุดที่ 1 และวัด
ชุดที่ 2, 3 และ 4 ตามลําดับ จะได้แรงดันตกคร่อม
แหล่งจ่ายแต่ละตัวในวงจร (E1, E2 , E3และ E4 )
8.3.4 ใช้มัลติมิเตอร์วัดที่จุดวัดค่าแรงดันไฟฟ้า
รวมของวงจร (ET) โดยสายสีแดงวัดทางด้านขั้วบวก
และสายสีดําวัดทางด้านขั้วลบ
8.3.1
ET
8.3.2
8.3.4
8.3.3
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 16
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.25 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบ
แหล่งจ่ายไฟตรง
8.4 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบแหล่งจ่ายไฟตรง
8.4.1 เตรียมแหล่งจ่ายไฟตรง ปรับแรงดันไฟฟ้า
ของแหล่งจ่ายไว้ที่ 12 V
8.4.2 ตั้งมัลติมิเตอร์ที่ย่านการวัด 50 DCV หรือตั้ง
ที่ย่านการวัด DCV สูงๆ เมื่อวัดไม่ขึ้นให้ลดย่านการวัด
8.4.3 ใช้มัลติมิเตอร์วัดคร่อมจุดที่ต้องการวัด โดย
ใช้สายสีแดงของมิเตอร์วัดที่ขั้วสีแดงของแหล่งจ่าย
สายสีดําของมิเตอร์วัดที่ขั้วสีดําของแหล่งจ่าย
ตามลําดับ จะได้แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายออกมา
8.4.1
8.4.2
8.4.3
วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์
ใบเนื้อหา
(Information Sheet)
หน้าที่ : 17
หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
รูปที่ 1.26 การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
9. การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน
สิ่งที่ต้องทําการบันทึกได้แก่
9.1 ผลการวัดการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
9.2 ผลการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
9.3 ผลการวัดการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน
9.4 ผลการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน
9.5 ผลการวัดการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม
9.6 ผลการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม
9.7 สรุปผลการปฏิบัติงาน
10. ความเป็นระเบียบ ความรอบคอบ และความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
10.1 ความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
10.1.1 ตรวจสอบอุปกรณ์ และเครื่องมือก่อนทําการปฏิบัติงานหากพบสิ่งผิดปกติแจ้งครูที่ควบคุม
10.1.2 ไม่เล่นหรือหยอกล้อกันขณะปฏิบัติงาน
10.1.3 ไม่ส่งเสียงดังขณะปฏิบัติงาน
10.2 การรักษาสิ่งแวดล้อมหลังปฏิบัติงาน
10.2.1 หลังปฏิบัติงานต้องเก็บอุปกรณ์ และเครื่องมือให้เรียบร้อย
10.2.2 ทําความสะอาดบริเวณปฏิบัติงานและบริเวณห้องปฏิบัติงาน
10.2.3 ปิดไฟ ปิดเครื่องปรับอากาศ ให้เรียบร้อย
Dc

More Related Content

What's hot

แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
Chakkrawut Mueangkhon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
Nalai Rinrith
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
Weerachat Martluplao
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
Wijitta DevilTeacher
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
Chanthawan Suwanhitathorn
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินOrawan Sripho
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
wiriya kosit
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
ssuser2feafc1
 

What's hot (20)

แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหิน
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 

Viewers also liked

Finished pr pp
Finished pr ppFinished pr pp
Finished pr pp
Roseann Tomko
 
1 10 ejemploplanempresa
1 10 ejemploplanempresa1 10 ejemploplanempresa
1 10 ejemploplanempresa
Efrain Perez Melendez
 
Summarizing the future of work
Summarizing the future of workSummarizing the future of work
Summarizing the future of work
Flexing It
 
COPPA Compliance
COPPA ComplianceCOPPA Compliance
COPPA Compliance
Kegan Blumenthal
 
Meniscos y ligamentos de rodilla
Meniscos y ligamentos de rodilla Meniscos y ligamentos de rodilla
Meniscos y ligamentos de rodilla
Andruco Tapia
 
COPPA for Newbies
COPPA for NewbiesCOPPA for Newbies
COPPA for Newbies
Kegan Blumenthal
 
10 Step Guide to COPPA Compliance
10 Step Guide to COPPA Compliance10 Step Guide to COPPA Compliance
10 Step Guide to COPPA Compliance
Kegan Blumenthal
 
Sibesh Resume for SEO Job,hundred percent white-hat SEO Expert virtual assist...
Sibesh Resume for SEO Job,hundred percent white-hat SEO Expert virtual assist...Sibesh Resume for SEO Job,hundred percent white-hat SEO Expert virtual assist...
Sibesh Resume for SEO Job,hundred percent white-hat SEO Expert virtual assist...
Sibesh Chakraborty
 
Hobby
HobbyHobby
مدخل لدراسة القانون
مدخل لدراسة القانونمدخل لدراسة القانون
مدخل لدراسة القانونkenodid1990
 

Viewers also liked (12)

Finished pr pp
Finished pr ppFinished pr pp
Finished pr pp
 
1 10 ejemploplanempresa
1 10 ejemploplanempresa1 10 ejemploplanempresa
1 10 ejemploplanempresa
 
Summarizing the future of work
Summarizing the future of workSummarizing the future of work
Summarizing the future of work
 
COPPA Compliance
COPPA ComplianceCOPPA Compliance
COPPA Compliance
 
Meniscos y ligamentos de rodilla
Meniscos y ligamentos de rodilla Meniscos y ligamentos de rodilla
Meniscos y ligamentos de rodilla
 
تراث
تراثتراث
تراث
 
COPPA for Newbies
COPPA for NewbiesCOPPA for Newbies
COPPA for Newbies
 
Neverending Story
Neverending StoryNeverending Story
Neverending Story
 
10 Step Guide to COPPA Compliance
10 Step Guide to COPPA Compliance10 Step Guide to COPPA Compliance
10 Step Guide to COPPA Compliance
 
Sibesh Resume for SEO Job,hundred percent white-hat SEO Expert virtual assist...
Sibesh Resume for SEO Job,hundred percent white-hat SEO Expert virtual assist...Sibesh Resume for SEO Job,hundred percent white-hat SEO Expert virtual assist...
Sibesh Resume for SEO Job,hundred percent white-hat SEO Expert virtual assist...
 
Hobby
HobbyHobby
Hobby
 
مدخل لدراسة القانون
مدخل لدراسة القانونمدخل لدراسة القانون
مدخل لدراسة القانون
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

Dc

  • 1. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 1 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (ก) แหล่งจ่ายแรงดันไฟตรง แรงดัน + 1.5 V เวลา (ข) ระดับแรงดันที่จ่ายออกมา รูปที่ 1.1 แหล่งจ่ายแรงดันไฟตรงและระดับแรงดันไฟ ตรงที่เกิด 1. ไฟฟ้ ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) หรืออาจเรียกสั้น ๆ ว่าไฟดีซี (DC) คือไฟฟ้ าที่มีทิศทางการไหลของ กระแสเพียงทิศทางเดียวอย่างต่อเนื่อง เกิดจาก แหล่งกําเนิดไฟฟ้ าที่มีขั้วแรงดันบวก (+) หรือลบ (-) จ่ายออกมาคงที่ตายตัว ไม่มีการเปลี่ยนแปลงขั้วแรงดัน ระดับแรงดันที่จ่ายออกมาจะคงที่ตลอดเวลา รูปที่ 1.2 แหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 2. แหล่งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง แหล่งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงที่จ่ายให้กับวงจรไฟฟ้ า และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีหลายรูปแบบ เช่น แบตเตอรี่ (Battery) เซลล์ไฟฟ้ า (Electric Cell) แหล่งจ่ายไฟตรง (DC Power Supply) เป็นต้น
  • 2. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 2 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.3 เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิ ( Primary Cell) รูปที่ 1.4 ถ่านไฟฉายชนิดประจุแรงดันใหม่ได้ และเครื่องประจุแรงดัน 2.1 เซลล์ไฟฟ้ า (Electric Cell) เซลล์ไฟฟ้า จัดเป็นอุปกรณ์หน่วยย่อยหน่วยหนึ่งใน แบตเตอรี่ แบ่งตามลักษณะของเซลล์ไฟฟ้าที่ผลิตมา ใช้งานได้ 2 ชนิดคือ 1. เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิ (Primary Cell) เป็น เซลล์ไฟฟ้ าที่เมื่อใช้งานจนหมดประจุไฟฟ้ าแล้วไม่ สามารถนําไปอัดประจุไฟฟ้ า (Charge)ใหม่แล้วนํา กลับมาใช้ได้อีกและยังมีชื่อเรียกอีกชื่อ คือเซลล์ไฟฟ้ า แบบแห้ง (Dry Cell) เช่น ถ่านไฟฉายที่ใช้งานทั่วไป 2. เซลไฟฟ้ าทุติยภูมิ (Secondary Cell) เป็น เซลล์ไฟฟ้ าที่เมื่อใช้งานจนหมดประจุไฟฟ้ าแล้ว สามารถนําไปอัดประจุไฟฟ้ า (Charge)ใหม่แล้วนํา กลับมาใช้ได้อีก และยังมีชื่อเรียกอีกชื่อ คือเซลล์ไฟฟ้า แบบเปียก (Wet Cell) เช่น แบตเตอรี่รถยนต์ ถ่านไฟฉายชนิดนิกเกิลแคดเมียม (NiCD) ถ่ายไฟฉาย ชนิดนิกเกิลมิตอลไฮดรายด์ (NiMH) เป็นต้น (ก) Cell (ข) Battery รูปที่ 1.5 สัญลักษณ์ Cell และ Battery 2.2 แบตเตอรี่ (Battery) เป็นแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง แบตเตอรี่อันหนึ่ง จะประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่หนึ่งเซลล์ขึ้นไป
  • 3. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 3 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.6 แหล่งจ่ายไฟตรงแบบค่าคงที่ 2.3 แหล่งจ่ายไฟตรง (DC Power Supply) เป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง ที่ออกแบบมาเพื่อใช้ งานในด้านต่างๆ โดยการนําหลักการของวงจรแปลง ไฟฟ้ ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ ากระแสตรงหรือที่เรียกว่า วงจรเร็กติไฟเออร์ ( Rectifier ) มาใช้งาน มีขั้วบวก และขั้วลบที่แน่นอน การออกแบบใช้งานมีทั้งแบบ ค่าคงที่และปรับเปลี่ยนค่าแรงดันไฟฟ้าได้ (ก) อนุกรม (ข) ขนาน 3. รูปแบบการต่อเซลล์ไฟฟ้ า การต่อเซลล์ไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ 1. การต่อแบบอนุกรม (Series Cell) เป็นการนําเซลล์ไฟฟ้ ามาต่อเรียงเป็นลําดับกัน โดยนํา ขั้วที่ต่างกันต่อเข้าด้วยกัน ส่วนขั้วที่เหลือตอนต้นและ ตอนปลายคือขั้วที่นําไปต่อใช้งาน แบ่งได้ 2 แบบ คือ การต่อแบบเสริมแรงดัน และการต่อแบบหักล้าง แรงดัน 2. การต่อแบบขนาน (Parallel Cell) เป็นการนําเซลล์ไฟฟ้ า ตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไป มาต่อเข้า ด้วยกัน โดยนําขั้วที่เหมือนกันต่อเข้าด้วยกัน แล้วนํา ขั้วของเซลล์ไฟฟ้าที่ต่อขนานไปใช้งาน
  • 4. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 4 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (ค) อนุกรม-ขนาน (ง) ขนาน-อนุกรม รูปที่ 1.7 รูปแบบการต่อเซลล์ไฟฟ้า การต่อเซลไฟฟ้ าแบบขนาน เซลล์ไฟฟ้ าแต่ละเซลล์ จะต้องมีค่าแรงดันไฟฟ้าเท่ากัน 3. การต่อแบบผสม (Series Cell -Parallel Cell) การต่อเซลไฟฟ้าแบบผสม มีวิธีการต่อ 2 วิธี คือ 1. แบบอนุกรม-ขนาน 2. แบบขนาน-อนุกรม การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสมจะทําให้กระแสไฟฟ้าและ แรงดันไฟฟ้าเพิ่มขึ้น (ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า (ข) สัญลักษณ์ รูปที่ 1.8 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม เสริมแรงดัน 4. การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม 4.1 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมเสริมแรงดัน ผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมเสริมแรงดัน จะ ทําให้แรงดันไฟฟ้ารวมเพิ่มขึ้น แต่กระแสไฟฟ้าจะไม่ เพิ่มขึ้น กระแสไฟฟ้ ารวมจะเท่ากับกระแสไฟฟ้ าของ เซลล์ไฟฟ้าที่มีกระแสน้อยที่สุด ดังนั้นจึงไม่ควรนํา ถ่านไฟฉายเก่ามาใช้ร่วมกับถ่านไฟฉายใหม่ เพราะ ถ่านไฟฉายเก่าจะเป็นเหตุให้กระแสไฟในวงจรลด น้อยลงได้ การคํานวณหาได้จากสูตร โดยที่ ET = แรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร หน่วย V E1 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 1 หน่วย V E2 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 2 หน่วย V E3 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 3 หน่วย V ET = E1 + E2 + E3
  • 5. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 5 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า (ข) สัญลักษณ์ รูปที่ 1.9 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม หักล้างแรงดัน 4.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรมหักล้างแรงดัน จะทําให้แรงดันไฟฟ้าลดลง การคํานวณหาได้จากสูตร โดยที่ ET = แรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร หน่วย V E1 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 1 หน่วย V E2 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 2 หน่วย V E3 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 3 หน่วย V รูปที่ 1.10 ตัวอย่างที่ 1.1 การคํานวณการต่อ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม 4.3 ตัวอย่างการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบ อนุกรม ตัวอย่างที่ 1.1 หากนําเอาถ่านไฟฉาย 1.5 V 2 A ต่อ อนุกรมกัน 4 ก้อน จงหาค่าแรงดันไฟฟ้าและ กระแสไฟฟ้า วิธีทํา จากสูตร ET = E1 + E2 + E3 + E4 แทนค่า ET = 1.5 + 1.5 + 1.5 + 1.5  ET = 6 V และ IT = 2 A ตอบ ET = E1 + E2 - E3
  • 6. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 6 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.11 ตัวอย่างที่ 1.2 การคํานวณการต่อเซลล์ แบบอนุกรม ตัวอย่างที่ 1.2 จากวงจรในรูปที่ 1.11 จงหาค่า ET และ IT ของวงจร วิธีทํา จากสูตร ET = E1 + E2 + E3 แทนค่า ET = 1.5 + 1.5 + 9  ET = 12 V และ IT = 0.5 A ตอบ ค่ากระแสไฟฟ้าของวงจรมีค่าเท่ากับค่ากระแสไฟฟ้า ตํ่าสุดของเซลล์ไฟฟ้า รูปที่ 1.12 ตัวอย่างที่ 1.3 การคํานวณการต่อเซลล์ แบบอนุกรม ตัวอย่างที่ 1.3 จากวงจรในรูปที่ 1.12 จงหาค่า ET และ IT ของวงจร วิธีทํา จากสูตร ET = E1 + E2 + E3 แทนค่า ET = 1.5 + 1.5 + 1.5  ET = 4.5 V และ IT = 1 A ตอบ
  • 7. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 7 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 1.5V 1A 1.5V 1A 1.5V 1A ET=1.5V IT=3A (ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า (ข) สัญลักษณ์ รูปที่ 1.13 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน 5. การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน ผลของการต่อเซลไฟฟ้ าแบบขนานจะทําให้ แรงดันไฟฟ้ารวมเท่าเดิม หรือเท่ากับแรงดันไฟฟ้าของ เซลล์ที่ตํ่าที่สุด แต่กระแสไฟฟ้ ารวมจะเพิ่มขึ้นเท่ากับ กระแสของทุกเซลล์รวมกัน ในกรณีที่ขั้วของ เซลล์ไฟฟ้ามีทิศทางเดียวกัน หากขั้วของเซลล์ไฟฟ้ามี ทิศทางตรงกันข้ามกันกระแสไฟฟ้าจะลดลง การคํานวณหาได้จากสูตร โดยที่ ET = แรงดันไฟฟ้ารวมของวงจร หน่วย V E1 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 1 หน่วย V E2 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 2 หน่วย V E3 = แรงดันไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 3 หน่วย V และ โดยที่ IT = กระแสไฟฟ้ารวมของวงจร หน่วย A I1 = กระแสไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 1 หน่วย A I2 = กระแสไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 2 หน่วย A I3 = กระแสไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้าก้อนที่ 3 หน่วย A ET = E1 = E2 = E3 IT = I1 + I2 + I3
  • 8. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 8 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.14 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน ขั้วของเซลล์ไฟฟ้ามีทิศทางเดียวกัน 5.1 ตัวอย่างการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน ตัวอย่างที่ 1.4 จากวงจรในรูปที่ 1.14 จงหาค่า ET และ IT ของวงจร วิธีทํา จากสูตร ET = E1 = E2 = E3 แทนค่า ET = 1.5 V IT = 0.5 + 0.5 + 0.5  IT = 1.5 A ตอบ รูปที่ 1.15 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน ขั้วของ เซลล์ไฟฟ้ามีทิศทางตรงข้ามกัน ตัวอย่างที่ 1.5 จากวงจรในรูปที่ 1.15 จงคํานวณหาค่า กระแสไฟฟ้ารวมของวงจร วิธีทํา IT = I1 + I2 - I3 IT = 1 + 1 - 0.5  IT = 1.5 A ตอบ รูปที่ 1.16 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน ตัวอย่างที่ 1.6 จากวงจรในรูปที่ 1.16 จงคํานวณหาค่า แรงดันไฟฟ้ารวมและกระแสไฟฟ้ารวมของวงจร วิธีทํา ET = E1 = E2  ET = 3 V IT = I1 + I2 + I3 IT = 0.5 + 0.5 + 0.5  IT = 1.5 A ตอบ
  • 9. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 9 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า (ข) สัญลักษณ์ รูปที่ 1.17 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้า อนุกรม-ขนาน 6. การคํานวณการต่อเซลไฟฟ้ าแบบผสม ถ้าเซลล์ไฟฟ้าต่อแบบอนุกรม คํานวณแบบอนุกรม ถ้า เซลล์ไฟฟ้าต่อแบบขนาน คํานวณแบบขนาน 6.1 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ าอนุกรม-ขนาน ตัวอย่างที่ 1.7 จากวงจรในรูปที่ 1.17 จงคํานวณหาค่า แรงดันไฟฟ้ารวมและกระแสไฟฟ้ารวมของวงจร วิธีทํา ET1 = E1 + E2 แทนค่า = 1.5 + 1.5 = 3 V ET2 = E3 + E4 = 1.5 + 1.5 = 3 V  ET = ET1 = ET2 = 3 V IT = I1+I2  IT = 2 + 0.5 = 2.5 A ตอบ (ก) รูปการต่อเซลล์ไฟฟ้า (ข) สัญลักษณ์ รูปที่ 1.18 การคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้า ขนาน-อนุกรม 6.2 ตัวอย่างการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้ า ขนาน-อนุกรม ตัวอย่างที่ 1.8 จากวงจรในรูปที่ 1.18 จงหาค่า ET และ IT ของวงจร วิธีทํา แรงดันที่จุด AB = E1 = E2 = 1.5 V กระแสที่จุด AB = 2 A + 2 A = 4 A แรงดันที่จุด BC = E3 = E4 = 1.5 V กระแสที่จุด BC = 0.5 A + 0.5 A = 1 A  ET = แรงดันที่จุด AB + แรงดันที่จุด BC = 1.5 V + 1.5 V = 3 V  IT = กระแสของแบตเตอรี่ที่ตํ่าสุดระหว่างจุด AB จุด BC = 1 A ตอบ
  • 10. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 10 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.19 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม 7. วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสม 7.1 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม 7.1.1 เตรียมอุปกรณ์ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและทดสอบ แหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วย 1. รางถ่านพร้อมสายคีบ 2. ถ่านไฟฉาย AA 3. มัลติมิเตอร์ 7.1.2 อ่านแบบจากวงจร 7.1.3 นําถ่านไฟฉาย AA ใส่ลงในรางถ่าน จํานวน 3 ชุด 7.1.4 นําขั้วที่ต่างกันต่อเข้าด้วยกัน ขั้วที่เหลือ ตอนต้นและตอนปลายต่อใช้ 1 2 3 7.1.1 7.1.2 7.1.3 7.1.4
  • 11. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 11 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.20 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน 7.2 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน 7.2.1 เตรียมอุปกรณ์ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและทดสอบ แหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วย 1. รางถ่านพร้อมสายคีบถ่านไฟฉาย AA 2. ถ่านไฟฉาย AA 3. มัลติมิเตอร์ 7.2.2 อ่านแบบจากวงจร 7.2.3 นําถ่านไฟฉาย AA ใส่ลงในรางถ่าน จํานวน 3 ชุด 7.2.4 นําขั้วที่เหมือนกันต่อเข้าด้วยกัน ขั้วของ เซลล์ไฟฟ้าที่ขนานกันนําไปใช้งาน 1 2 3 7.2.1 7.2.2 7.2.3 7.2.4
  • 12. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 12 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.21 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม 7.3 วิธีการต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม 7.3.1 เตรียมอุปกรณ์ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและทดสอบ แหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วย 1. รางถ่านพร้อมสายคีบ 2. ถ่านไฟฉาย AA 3. สายต่อวงจรไฟฟ้า 4. มัลติมิเตอร์ 7.3.2 อ่านแบบจากวงจร 7.3.3 นําถ่านไฟฉาย AA ใส่ลงในรางถ่าน จํานวน 4 ชุด 7.3.4 นําขั้วที่ต่างกันต่อเข้าด้วยกัน 2 ชุด แล้วนํา ขั้วที่เหมือนกันของชุดที่ 1 และชุดที่ 2 ต่อเข้าด้วยกัน 7.3.1 1 2 3 7.3.2 7.3.3 7.3.4 4
  • 13. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 13 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.22 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบ การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม 8. วิธีการวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ า กระแสตรง 8.1 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบการต่อ เซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม 8.1.1 ต่อวงจรตามแบบ 8.1.2 ตั้งมัลติมิเตอร์ที่ย่านการวัด 10 DCV หรือตั้ง ที่ย่านการวัด DCV สูงๆ เมื่อวัดไม่ขึ้นให้ลดย่านการวัด 8.1.3 ใช้มัลติมิเตอร์วัดคร่อมจุดที่ต้องการวัด โดย ใช้สายสีแดงของมิเตอร์วัดที่สายสีแดงของรางถ่าน ชุด ที่ 1 สายสีดําวัดที่สายสีดําของรางถ่านไฟฉาย ชุดที่ 1 และวัดชุดที่ 2 และ 3 ตามลําดับ จะได้แรงดันตกคร่อม แหล่งจ่ายแต่ละตัวในวงจร (E1,E2 และE3) 8.1.4 ใช้สายสีแดงของมัลติมิเตอร์วัดที่สายสีแดง ของรางถ่าน ชุดที่ 1 และสายสีดําของมิเตอร์วัดที่สายสี ดําของรางถ่าน ชุดที่ 3 เพื่อวัดหาค่าแรงดันไฟฟ้ารวม ของวงจร (ET) 8.1.1 8.1.2 12 3 8.1.4 8.1.3
  • 14. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 14 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.23 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบ การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน 8.2 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบการต่อ เซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน 8.2.1 ต่อวงจรตามแบบ 8.2.2 ตั้งมัลติมิเตอร์ที่ย่านการวัด 10 DCV หรือตั้ง ที่ย่านการวัด DCV สูงๆ เมื่อวัดไม่ขึ้นให้ลดย่านการวัด 8.2.3 ใช้มัลติมิเตอร์วัดคร่อมจุดที่ต้องการวัด โดย ใช้สายสีแดงของมิเตอร์วัดที่สายสีแดงของรางถ่าน ชุด ที่ 1 สายสีดําวัดที่สายสีดําของรางถ่านไฟฉาย ชุดที่ 1 และวัดชุดที่ 2 และ 3 ตามลําดับ จะได้แรงดันตกคร่อม แหล่งจ่ายแต่ละตัวในวงจรและได้แรงดันไฟฟ้ารวม ของวงจร (E1, E2 , E3และ ET ) 8.2.1 8.2.2 8.2.3
  • 15. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 15 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.24 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบ การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม 8.3 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบการต่อ เซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม 8.3.1 ต่อวงจรตามแบบ 8.3.2 ตั้งมัลติมิเตอร์ที่ย่านการวัด 10 DCV หรือตั้ง ที่ย่านการวัด DCV สูงๆ เมื่อวัดไม่ขึ้นให้ลดย่านการวัด 8.3.3 ใช้มัลติมิเตอร์วัดคร่อมจุดที่ต้องการวัด โดย ใช้สายสีแดงของมิเตอร์วัดที่สายสีแดงของรางถ่าน ชุด ที่ 1 สายสีดําวัดที่สายสีดําของรางถ่าน ชุดที่ 1 และวัด ชุดที่ 2, 3 และ 4 ตามลําดับ จะได้แรงดันตกคร่อม แหล่งจ่ายแต่ละตัวในวงจร (E1, E2 , E3และ E4 ) 8.3.4 ใช้มัลติมิเตอร์วัดที่จุดวัดค่าแรงดันไฟฟ้า รวมของวงจร (ET) โดยสายสีแดงวัดทางด้านขั้วบวก และสายสีดําวัดทางด้านขั้วลบ 8.3.1 ET 8.3.2 8.3.4 8.3.3
  • 16. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 16 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.25 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบ แหล่งจ่ายไฟตรง 8.4 การใช้มัลติมิเตอร์วัดและทดสอบแหล่งจ่ายไฟตรง 8.4.1 เตรียมแหล่งจ่ายไฟตรง ปรับแรงดันไฟฟ้า ของแหล่งจ่ายไว้ที่ 12 V 8.4.2 ตั้งมัลติมิเตอร์ที่ย่านการวัด 50 DCV หรือตั้ง ที่ย่านการวัด DCV สูงๆ เมื่อวัดไม่ขึ้นให้ลดย่านการวัด 8.4.3 ใช้มัลติมิเตอร์วัดคร่อมจุดที่ต้องการวัด โดย ใช้สายสีแดงของมิเตอร์วัดที่ขั้วสีแดงของแหล่งจ่าย สายสีดําของมิเตอร์วัดที่ขั้วสีดําของแหล่งจ่าย ตามลําดับ จะได้แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายออกมา 8.4.1 8.4.2 8.4.3
  • 17. วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ ใบเนื้อหา (Information Sheet) หน้าที่ : 17 หน่วยที่ 1 : งานวัดและทดสอบแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รูปที่ 1.26 การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 9. การบันทึกรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน สิ่งที่ต้องทําการบันทึกได้แก่ 9.1 ผลการวัดการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม 9.2 ผลการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม 9.3 ผลการวัดการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน 9.4 ผลการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน 9.5 ผลการวัดการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม 9.6 ผลการคํานวณการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม 9.7 สรุปผลการปฏิบัติงาน 10. ความเป็นระเบียบ ความรอบคอบ และความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 10.1 ความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน 10.1.1 ตรวจสอบอุปกรณ์ และเครื่องมือก่อนทําการปฏิบัติงานหากพบสิ่งผิดปกติแจ้งครูที่ควบคุม 10.1.2 ไม่เล่นหรือหยอกล้อกันขณะปฏิบัติงาน 10.1.3 ไม่ส่งเสียงดังขณะปฏิบัติงาน 10.2 การรักษาสิ่งแวดล้อมหลังปฏิบัติงาน 10.2.1 หลังปฏิบัติงานต้องเก็บอุปกรณ์ และเครื่องมือให้เรียบร้อย 10.2.2 ทําความสะอาดบริเวณปฏิบัติงานและบริเวณห้องปฏิบัติงาน 10.2.3 ปิดไฟ ปิดเครื่องปรับอากาศ ให้เรียบร้อย