SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐานทางด้านทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐานทางด้านทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่ยอมรับและนามาใช้อ้างอิง
กันอย่างแพร่หลายคือ มาตรฐานทางด้านทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของสภา
ครูคณิตศาสตร์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้นาเสนอไว้ในหนังสือหลักการและ
มาตรฐานสาหรับคณิตศาสตร์ระดับโรงเรียน ในปี ค.ศ. 2000 ว่าด้วย มาตรฐานทางด้าน
ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่ควรส่งเสริมให้นักเรียนที่เรียนในระดับโรงเรียนได้
ฝึกฝนและพัฒนาให้เกิดขึ้น ประกอบด้วยการแก้ปัญหาการให้เหตุผลและการพิสูจน์ การ
สื่อสาร การเชื่อมโยงและการนาเสนอ ดังนี้
มาตรฐานทางด้านการแก้ปัญหา : นักเรียนสามารถ
- สร้างความรู้ทางคณิตศาสตร์ใหม่ ๆ ผ่านการแก้ปัญหาได้ (Build new mathematical
knowledge through problem solving)
- แก้ปัญหาทั้งในคณิตศาสตร์และในบริบทอื่นๆ ได้ (Solve problems that arise in
mathematics and in other context)
- เลือกใช้และปรับยุทธวิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสมได้หลากหลาย (Apply and adapt a
variety of appropriate strategies to solve problems)
- ตรวจตราและสะท้อนกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ (Monitor and reflect
on the process of mathematical problem solving)
มาตรฐานทางด้านการให้เหตุผลและการพิสูจน์ : นักเรียนสามารถ
- เห็นคุณค่าของการให้เหตุผลและการพิสูจน์ในฐานะที่เป็นรากเหง้าของคณิตศาสตร์ได้
(Recognize reasoning and proof as fundamental aspects of mathematics)
- สร้างและสืบสวนข้อความคาดการณ์ทางคณิตศาสตร์ได้ (Make and investigate
mathematical conjectures)
- พัฒนาและประเมินการอ้างเหตุผลและการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ (Develop and
evaluate mathematical arguments and proofs)
- เลือกและใช้รูปแบบการให้เหตุผลและวิธีการพิสูจน์ได้อย่างหลากหลาย (Select and
use various types of reasoning and methods of proof)
มาตรฐานทางด้านการสื่อสาร : นักเรียนสามารถ
- ใช้การสื่อสารช่วยในการรวบรวมและจัดระบบความคิดทางคณิตศาสตร์ได้ (Organize
and consolidate their mathematical thinking through communication)
- สื่อสารความคิดทางคณิตศาสตร์กับเพื่อน ครู และบุคคลอื่น ๆได้อย่างเป็นเรื่องเป็น
ราวและชัดเจน (Communicate their mathematical thinking coherently and
clearly to peers, teachers, and others)
- วิเคราะห์และประเมินความคิดและยุทธวิธีทางคณิตศาสตร์ของบุคคลอื่นได้ (Analyze
and evaluate the mathematical thinking and strategies of others)
- ใช้ภาษาคณิตศาสตร์ในการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์ได้อย่างตรงประเด็น (Use
the language of mathematics to express mathematical ideas precisely)
มาตรฐานทางด้านการเชื่อมโยง : นักเรียนสามารถ
- ระลึกและใช้การเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดต่างๆทางคณิตศาสตร์ได้ (Recognize and
use connection among mathematical ideas)
- เข้าใจแนวคิดต่างๆทางคณิตศาสตร์ว่าเชื่อมโยงกันอย่างไร และสร้างแนวคิดทาง
คณิตศาสตร์ใหม่ที่สอดคล้องกับของเดิมได้ (Understand how mathematical
thinking interconnect and build on one another to produce a coherent
whole)
- ระลึกและประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในบริบทอื่นๆนอกเหนือจากคณิตศาสตร์ได้
(Recognize and apply mathematics in contexts outside of mathematics)
-
มาตรฐานทางด้านการนาเสนอ : นักเรียนสามารถ
- สร้างและใช้การนาเสนอในการรวบรวม บันทึก และสื่อสารแนวคิดทางคณิตศาสตร์ได้
(Create and use representations to organize, record, and communicate
mathematical ideas)
- เลือกใช้ ประยุกต์ และปรับเปลี่ยนการนาเสนอทางคณิตศาสตร์แบบต่างๆในการ
แก้ปัญหาได้ (Select, apply and translate among mathematical
representations to solve problems)
- ใช้การนาเสนอในการจาลองและตีความปรากฏการณ์ทางกายภาพทางสังคม และทาง
ทางคณิตศาสตร์ได้ (Use representations to model and interpret physical,
social, and mathematical phenomena)
ความสามารถทางด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : นักเรียนสามารถ
- สังเคราะห์แนวคิด สร้างแนวคิดใหม่ และระบุประสิทธิภาพของแนวคิดต่างๆได้
(Synthesize ideas, generate new ideas and determine their effectiveness)
- ตัดสินใจและสร้างผลิตผลขึ้นมาใหม่ได้ (Make decisions and generate new end
products)
สาระที่ 6 : ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแก้ปัญหา
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6
1. ใช้วิธีการที่
หลากหลายแก้ปัญหา
ได้
2. ใช้ความรู้ทาง
คณิตศาสตร์แก้ปัญหา
ในสถานการณ์จริงได้
1. ใช้วิธีการที่
หลากหลายแก้ปัญหา
ได้
2. ใช้ความรู้ทาง
คณิตศาสตร์และ
เทคโนโลยีแก้ปัญหาใน
สถานการณ์จริงได้
1. ใช้วิธีการที่
หลากหลายแก้ปัญหา
ได้
2. ใช้ความรู้ ทักษะ
กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ และ
เทคโนโลยีในการ
แก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่างๆได้
อย่างเหมาะสม
1. ใช้วิธีการที่
หลากหลายแก้ปัญหา
ได้
2. แก้ปัญหาใน
สถานการณ์จริงโดยใช้
ความรู้ทางคณิตศาสตร์
ได้
3. ใช้ความรู้ ทักษะ
กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ และ
เทคโนโลยีในการ
แก้ปัญหาได้อย่าง
เหมาะสม
มาตรฐาน ค 6.2 : มีความสามารถในการให้เหตุผล
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6
1. ให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
1. ให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
1. สามารถแสดง
เหตุผลโดยการอ้างอิง
ความรู้ข้อมูลหรือ
ข้อเท็จจริง หรือสร้าง
แผนภาพ
1. นาวิธีการให้เหตุผล
แบบอุปนัยและนิรนัย
มาช่วยในการค้นหา
ความจริงหรือข้อสรุป
และช่วยในการ
ตัดสินใจบางอย่างได้
มาตรฐาน ค 6.3 : มีความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนาเสนอ
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6
1. ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย
และนาเสนอได้อย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม
1. ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย
และนาเสนอได้อย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม
1. ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย
และนาเสนอได้อย่าง
ถูกต้อง ชัดเจนและ
รัดกุม
1. ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย
และนาเสนอได้อย่าง
ถูกต้อง ชัดเจนและ
รัดกุม
มาตรฐาน ค 6.4 : มีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์ และ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆได้
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6
1. นาความรู้ทาง
คณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงในการเรียนรู้
เนื้อหาต่างๆในวิชา
คณิตศาสตร์และ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์
กับวิชาอื่นได้
1. นาความรู้ทาง
คณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงในการเรียนรู้
เนื้อหาต่างๆในวิชา
คณิตศาสตร์และ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์
กับวิชาอื่นได้
2. นาความรู้และทักษะ
จากการเรียน
คณิตศาสตร์ไป
ประยุกต์ในการเรียนรู้
สิ่งต่างๆและในชีวิตจริง
ได้
1. เชื่อมโยงความรู้
เนื้อหาต่างๆใน
คณิตศาสตร์และนา
ความรู้ หลักการ
กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์
อื่นๆ
2. นาความรู้และทักษะ
ที่ได้จากการเรียน
คณิตศาสตร์ไป
ประยุกต์ในการเรียนรู้
สิ่งต่างๆและในการ
ดารงชีวิต
1. เชื่อมโยงความคิด
รวบยอด หลักการ
และวิธีการทาง
คณิตศาสตร์และ
ศาสตร์อื่นๆ เพื่อ
อธิบายข้อสรุปหรือ
เรื่องราวต่างๆได้
2. นาความรู้และทักษะ
ที่ได้จากการเรียน
คณิตศาสตร์ไป
ประยุกต์ในการเรียนรู้
งานและในการ
ดารงชีวิต
มาตรฐาน ค 6.5 : มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6
1. มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ในการ
ทางาน
1. มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ในการ
ทางาน
1. มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ในการ
ทางาน
1. มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ในการ
ทางาน
เอกสารอ้างอิง
National Council of Teachers of Mathematics. (2000). Principles and Standards
for School Mathematics. Reston, Virginia : National Council of Teachers of
Mathematics.
Krulik, S. & Rudnick, J. A. (1999). Innovative tasks to improve critical and
creative thinking skill. In Lee V. Stiff & Frances R. Curcio (Eds.)
Development Mathematics Reasoning in Grade K-12 : 1999 Yearbook.
Reston, Virginia : National Council of Teachers of Mathematics
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

More Related Content

What's hot

ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรPawaputanon Mahasarakham
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3ยินดี ครูคณิตสงขลา
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ยApirak Potpipit
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการJirathorn Buenglee
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

What's hot (20)

ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการ
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 

Similar to การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนNDuangkaew
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงินพหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงินDolonk
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการArm Watcharin
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบkrupawit
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการPichayaporn Phaengkoat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8dump0507
 

Similar to การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (20)

วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียน
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงินพหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
111111
111111111111
111111
 
960447
960447960447
960447
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
Educational model 2019
Educational model 2019Educational model 2019
Educational model 2019
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 

More from Jintana Kujapan (20)

สีม่วง13
สีม่วง13สีม่วง13
สีม่วง13
 
สีม่วง11
สีม่วง11สีม่วง11
สีม่วง11
 
สีม่วง9
สีม่วง9สีม่วง9
สีม่วง9
 
สีม่วง7
สีม่วง7สีม่วง7
สีม่วง7
 
สีม่วง5
สีม่วง5สีม่วง5
สีม่วง5
 
สีม่วง3
สีม่วง3สีม่วง3
สีม่วง3
 
สีม่วง1
สีม่วง1สีม่วง1
สีม่วง1
 
ข15
ข15ข15
ข15
 
ข14
ข14ข14
ข14
 
ข13
ข13ข13
ข13
 
ข12
ข12ข12
ข12
 
ข4
ข4ข4
ข4
 
ข11
ข11ข11
ข11
 
ข10
ข10ข10
ข10
 
ข9
ข9ข9
ข9
 
ข8
ข8ข8
ข8
 
ข7
ข7ข7
ข7
 
ข6
ข6ข6
ข6
 
ข5
ข5ข5
ข5
 
ข3
ข3ข3
ข3
 

การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

  • 1. การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐานทางด้านทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐานทางด้านทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่ยอมรับและนามาใช้อ้างอิง กันอย่างแพร่หลายคือ มาตรฐานทางด้านทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของสภา ครูคณิตศาสตร์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้นาเสนอไว้ในหนังสือหลักการและ มาตรฐานสาหรับคณิตศาสตร์ระดับโรงเรียน ในปี ค.ศ. 2000 ว่าด้วย มาตรฐานทางด้าน ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่ควรส่งเสริมให้นักเรียนที่เรียนในระดับโรงเรียนได้ ฝึกฝนและพัฒนาให้เกิดขึ้น ประกอบด้วยการแก้ปัญหาการให้เหตุผลและการพิสูจน์ การ สื่อสาร การเชื่อมโยงและการนาเสนอ ดังนี้ มาตรฐานทางด้านการแก้ปัญหา : นักเรียนสามารถ - สร้างความรู้ทางคณิตศาสตร์ใหม่ ๆ ผ่านการแก้ปัญหาได้ (Build new mathematical knowledge through problem solving) - แก้ปัญหาทั้งในคณิตศาสตร์และในบริบทอื่นๆ ได้ (Solve problems that arise in mathematics and in other context) - เลือกใช้และปรับยุทธวิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสมได้หลากหลาย (Apply and adapt a variety of appropriate strategies to solve problems) - ตรวจตราและสะท้อนกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้ (Monitor and reflect on the process of mathematical problem solving) มาตรฐานทางด้านการให้เหตุผลและการพิสูจน์ : นักเรียนสามารถ - เห็นคุณค่าของการให้เหตุผลและการพิสูจน์ในฐานะที่เป็นรากเหง้าของคณิตศาสตร์ได้ (Recognize reasoning and proof as fundamental aspects of mathematics) - สร้างและสืบสวนข้อความคาดการณ์ทางคณิตศาสตร์ได้ (Make and investigate mathematical conjectures)
  • 2. - พัฒนาและประเมินการอ้างเหตุผลและการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ได้ (Develop and evaluate mathematical arguments and proofs) - เลือกและใช้รูปแบบการให้เหตุผลและวิธีการพิสูจน์ได้อย่างหลากหลาย (Select and use various types of reasoning and methods of proof) มาตรฐานทางด้านการสื่อสาร : นักเรียนสามารถ - ใช้การสื่อสารช่วยในการรวบรวมและจัดระบบความคิดทางคณิตศาสตร์ได้ (Organize and consolidate their mathematical thinking through communication) - สื่อสารความคิดทางคณิตศาสตร์กับเพื่อน ครู และบุคคลอื่น ๆได้อย่างเป็นเรื่องเป็น ราวและชัดเจน (Communicate their mathematical thinking coherently and clearly to peers, teachers, and others) - วิเคราะห์และประเมินความคิดและยุทธวิธีทางคณิตศาสตร์ของบุคคลอื่นได้ (Analyze and evaluate the mathematical thinking and strategies of others) - ใช้ภาษาคณิตศาสตร์ในการแสดงแนวคิดทางคณิตศาสตร์ได้อย่างตรงประเด็น (Use the language of mathematics to express mathematical ideas precisely) มาตรฐานทางด้านการเชื่อมโยง : นักเรียนสามารถ - ระลึกและใช้การเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดต่างๆทางคณิตศาสตร์ได้ (Recognize and use connection among mathematical ideas) - เข้าใจแนวคิดต่างๆทางคณิตศาสตร์ว่าเชื่อมโยงกันอย่างไร และสร้างแนวคิดทาง คณิตศาสตร์ใหม่ที่สอดคล้องกับของเดิมได้ (Understand how mathematical thinking interconnect and build on one another to produce a coherent whole) - ระลึกและประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในบริบทอื่นๆนอกเหนือจากคณิตศาสตร์ได้ (Recognize and apply mathematics in contexts outside of mathematics) -
  • 3. มาตรฐานทางด้านการนาเสนอ : นักเรียนสามารถ - สร้างและใช้การนาเสนอในการรวบรวม บันทึก และสื่อสารแนวคิดทางคณิตศาสตร์ได้ (Create and use representations to organize, record, and communicate mathematical ideas) - เลือกใช้ ประยุกต์ และปรับเปลี่ยนการนาเสนอทางคณิตศาสตร์แบบต่างๆในการ แก้ปัญหาได้ (Select, apply and translate among mathematical representations to solve problems) - ใช้การนาเสนอในการจาลองและตีความปรากฏการณ์ทางกายภาพทางสังคม และทาง ทางคณิตศาสตร์ได้ (Use representations to model and interpret physical, social, and mathematical phenomena) ความสามารถทางด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : นักเรียนสามารถ - สังเคราะห์แนวคิด สร้างแนวคิดใหม่ และระบุประสิทธิภาพของแนวคิดต่างๆได้ (Synthesize ideas, generate new ideas and determine their effectiveness) - ตัดสินใจและสร้างผลิตผลขึ้นมาใหม่ได้ (Make decisions and generate new end products)
  • 4. สาระที่ 6 : ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแก้ปัญหา มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6 1. ใช้วิธีการที่ หลากหลายแก้ปัญหา ได้ 2. ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์แก้ปัญหา ในสถานการณ์จริงได้ 1. ใช้วิธีการที่ หลากหลายแก้ปัญหา ได้ 2. ใช้ความรู้ทาง คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยีแก้ปัญหาใน สถานการณ์จริงได้ 1. ใช้วิธีการที่ หลากหลายแก้ปัญหา ได้ 2. ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีในการ แก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่างๆได้ อย่างเหมาะสม 1. ใช้วิธีการที่ หลากหลายแก้ปัญหา ได้ 2. แก้ปัญหาใน สถานการณ์จริงโดยใช้ ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ได้ 3. ใช้ความรู้ ทักษะ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีในการ แก้ปัญหาได้อย่าง เหมาะสม มาตรฐาน ค 6.2 : มีความสามารถในการให้เหตุผล มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6 1. ให้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม 1. ให้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม 1. สามารถแสดง เหตุผลโดยการอ้างอิง ความรู้ข้อมูลหรือ ข้อเท็จจริง หรือสร้าง แผนภาพ 1. นาวิธีการให้เหตุผล แบบอุปนัยและนิรนัย มาช่วยในการค้นหา ความจริงหรือข้อสรุป และช่วยในการ ตัดสินใจบางอย่างได้
  • 5. มาตรฐาน ค 6.3 : มีความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6 1. ใช้ภาษาและ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม 1. ใช้ภาษาและ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม 1. ใช้ภาษาและ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจนและ รัดกุม 1. ใช้ภาษาและ สัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการ สื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจนและ รัดกุม มาตรฐาน ค 6.4 : มีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์ และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆได้ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6 1. นาความรู้ทาง คณิตศาสตร์ไป เชื่อมโยงในการเรียนรู้ เนื้อหาต่างๆในวิชา คณิตศาสตร์และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์ กับวิชาอื่นได้ 1. นาความรู้ทาง คณิตศาสตร์ไป เชื่อมโยงในการเรียนรู้ เนื้อหาต่างๆในวิชา คณิตศาสตร์และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์ กับวิชาอื่นได้ 2. นาความรู้และทักษะ จากการเรียน คณิตศาสตร์ไป ประยุกต์ในการเรียนรู้ สิ่งต่างๆและในชีวิตจริง ได้ 1. เชื่อมโยงความรู้ เนื้อหาต่างๆใน คณิตศาสตร์และนา ความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไป เชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่นๆ 2. นาความรู้และทักษะ ที่ได้จากการเรียน คณิตศาสตร์ไป ประยุกต์ในการเรียนรู้ สิ่งต่างๆและในการ ดารงชีวิต 1. เชื่อมโยงความคิด รวบยอด หลักการ และวิธีการทาง คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อื่นๆ เพื่อ อธิบายข้อสรุปหรือ เรื่องราวต่างๆได้ 2. นาความรู้และทักษะ ที่ได้จากการเรียน คณิตศาสตร์ไป ประยุกต์ในการเรียนรู้ งานและในการ ดารงชีวิต
  • 6. มาตรฐาน ค 6.5 : มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ป. 1-3 ป. 4-6 ม. 1-3 ม. 4-6 1. มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการ ทางาน 1. มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการ ทางาน 1. มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการ ทางาน 1. มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการ ทางาน
  • 7. เอกสารอ้างอิง National Council of Teachers of Mathematics. (2000). Principles and Standards for School Mathematics. Reston, Virginia : National Council of Teachers of Mathematics. Krulik, S. & Rudnick, J. A. (1999). Innovative tasks to improve critical and creative thinking skill. In Lee V. Stiff & Frances R. Curcio (Eds.) Development Mathematics Reasoning in Grade K-12 : 1999 Yearbook. Reston, Virginia : National Council of Teachers of Mathematics กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว