SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคกลัวที่แคบ (Claustrophobia)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว ศศิดารัตน์ เจริญพรวัฒนากุล เลขที่ 30
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1 คน
1. นางสาว ศศิดารัตน์ เจริญพรวัฒนากุล เลขที่ 30
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคกลัวที่แคบ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Claustrophobia
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ศศิดารัตน์ เจริญพรวัฒนากุล เลขที่ 30
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
โรคกลัวที่แคบ มีชื่อทางการว่า Claustrophobia (ครอสโตรโฟเบีย) เป็นอาการวิตกกังวลผิดปกติเมื่อต้องอยู่
ในที่แคบๆ เหมือนถูกปิดล้อมหรือถูกกักขัง จนก่อให้เกิดอาการอึดอัด ใจสั่น เหงื่อซึม หรือบางรายอาจมีความกลัว
หนักจนเกือบเอาชีวิตไม่รอดเลยก็มี มีประชากรประมาณ 5-7 เปอร์เซ็น บนโลกที่เป็นโรคนี้และมีเพียงส่วนเดียว
เท่านั้นที่เข้ารับการรักษา การกลัวที่แคบที่กล่าวถึงมี 2 ลักษณะ 1.ชนิดแรกคือกลัวการกาหนดขอบเขต (เช่น ที่แคบ
ที่ลงกลอน ในรถ บนเครื่องบิน ในท่อหรือถ้า) ซึ่งส่วนมากไม่ได้กลัวการเจ็บปวดแต่เป็นการกลัวการถูกบังคับและ
ถูกจากัดพื้นที่ 2.อีกลักษณะคือกลัวการหายใจไม่ออกเพราะอากาศไม่พอ ผู้ที่มีอาการของโรคมักจะถอดเสื้อผ้าที่ใส่
ออกเพราะเชื่อว่าเป็นการผ่อนคลาย Phobia เป็นโรคทางจิตเวชที่จัดอยู่ในกลุ่มโรควิตกกังวล ผู้ป่วยจะมีความกลัวที่
รุนแรงเกินกว่าเหตุและเป็นความกลัวที่ไม่สมเหตุสมผลเมื่อได้เผชิญกับสิ่งของหรือสถานการณ์ซึ่งทาให้รู้สึกกลัว
Phobia มีหลากหลายชนิดที่น่าสนใจ เช่น โรคกลัวรู (Trypophobia) โรคกลัวการไว้ใจผู้อื่น (Pistanthrophobia) โรค
กลัวการตกหลุมรัก (Philophobia) เป็นต้น จากการศึกษา Phobia เบื้องต้นทาให้รู้ว่าเป็นโรคที่ผู้ป่วยจะเกิดความกลัว
3
กับสิ่งที่ไม่สมเหตุสมผล จึงทาให้คณะผู้จัดทาสนใจและคิดที่จะศึกษาอาการต่างๆของ Phobia ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึง
คิดที่จะศึกษาในเรื่องของ โรคกลัวที่แคบ (Claustrophobia) เพื่อศึกษาสาเหตุ อาการ และการรักษาต่างๆ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคกลัวที่แคบ
2.เพื่อศึกษาสาเหตุ ลักษณะอาการ และที่มาของโรคกลัวที่แคบ
3.เพื่อให้ทราบถึงสัญญาณบอกโรคและวิธีการรักษา
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ขอบเขตด้านเนื้อหา
เว็บไซต์เกี่ยวกับลักษณะอาการและ Phobia ชนิดต่างๆ
https://www.pobpad.com/phobia
https://health.kapook.com/view208259.html
เว็บไซต์เกี่ยวกับ โรคกลัวที่แคบ (Claustrophobia)
https://health.kapook.com/view136488.html
http://www.flagfrog.com/stuck-in-tight-place/
ขอบเขตด้านระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ขอบเขตด้านสถานที่
สถานที่ที่ใช้ในการดาเนินการ ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคกลัวที่แคบคือกลุ่มอาการวิตกกังวลผิดปกติจนอยู่เฉยไม่ได้ เมื่อต้องตกอยู่ในสถานการณ์ที่รู้สึกว่าหนี
ไม่ได้ ถูกกักล้อมในที่แคบ ๆ หรือต้องอยู่คนเดียวในช่องเล็กๆ ทุกอย่างดูประชิดตัวเช่น เมื่อต้องอยู่ภายในลิฟต์
โดยสารที่มีคนหนาแน่น ต้องอยู่ในห้องขนาดเล็กที่ไม่มีแม้กระทั่งหน้าต่าง หรือตกอยู่ในที่นั่งด้านในสุดของ
เครื่องบิน โดยมีผู้โดยสารคนอื่น ๆ ล้อมรอบตัวอยู่ หรือผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการกลัวเกิดขึ้นได้เมื่อต้องสวมชุดที่
รัดแน่นจนเกินไป เป็นต้น
โดยจากสถิติผู้ป่วยโรคกลัวที่แคบของ NYULangone MedicalCenter บันทึกให้เห็นว่าโรคกลัวที่แคบอาจ
ไม่ใช่โรคที่เป็นมาตั้งแต่กาเนิด แต่อาจเริ่มเป็นในช่วงวัยเด็กหรือวัยรุ่นเสียส่วนใหญ่
โดยปกติแล้วโรคกลัวที่แคบมักจะมีสาเหตุจากประสบการณ์เลวร้ายอันเกี่ยวกับที่แคบที่เกิดขึ้นตอนยังเป็น
เด็ก ซึ่งฝังใจผู้ป่วยให้รู้สึกกลัวคิดว่าที่แคบนั้นมีอันตรายนับตั้งแต่เกิดเหตุการณ์จนกระทั่งกลัวฝังใจมาจนถึงตอนโต
4
เช่นเคยเกือบจมน้าในสระว่ายน้า พลัดหลงจากผู้ปกครองในสถานที่ที่มีคนแออัด หรือเล่นซนในท่อ หรือหลุมอะไร
สักอย่าง แล้วติดอยู่ในนั้นเป็นเวลาหนึ่ง เป็นต้น
ทั้งนี้ยังมีการศึกษาทางการแพทย์ที่ถูกตีพิมพ์ใน Psychiatry and Clinical Neurosciences พบว่า อาการโฟเบีย
หรืออาการกลัวต่าง ๆ อ่านมีเบื้องหลังอยู่ที่ความผิดปกติของสมอง อันได้แก่
- อมิกดาลามีขนาดเล็กเกินไป
Fumi Hayano และทีมนักวิจัยพบว่า ภายในสมองของผู้ป่วยโรคกลัวที่แคบและโรคกลัวประเภทอื่น ๆ มักจะ
มีขนาดอมิกดาลาหรือต่อมเล็กๆ ใต้สมองที่มีไว้ควบคุมเหตุผลและอารมณ์รวมถึงการแสดงออกของร่างกายกับ
ความรู้สึกแบบต่าง ๆ ที่เล็กกว่าปกติ ซึ่งปัจจัยนี้อาจทาให้ร่างกายจัดการกับอารมณ์และความรู้สึกกลัวได้ไม่เต็ม
ประสิทธิภาพมากนัก จนเกิดเป็นโรคโฟเบียต่าง ๆ ได้
- ยีนความพร้อมที่จะกลัว
การศึกษาพบว่าในบางรายมีอาการกลัวอันฝังรากลึกมาจากยีนในร่างกาย โดยเฉพาะกับกลุ่มคนที่ต้องอยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่ต้องเอาตัวรอดให้ได้ ถูกฝึกให้มีความระแวดระวังตลอดเวลา หรือเรียกง่าย ๆ ว่ามีสัญชาติญาณใน
การเอาชีวิตรอดค่อนข้างสูง ซึ่งความกลัวของคนเหล่านี้จะเกิดขึ้นเป็นช่วงเวลาหนึ่ง และอาจหายเป็นปกติได้เองเมื่อ
เวลาผ่านไป
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
งบประมาณ
_
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ✔ ศศิดารัตน์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ✔✔ ศศิดารัตน์
3 จัดทาโครงร่างงาน ✔✔ ศศิดารัตน์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ✔✔✔ ศศิดารัตน์
5
5 ปรับปรุงทดสอบ ✔✔ ศศิดารัตน์
6 การทาเอกสารรายงาน ✔✔ ✔ ศศิดารัตน์
7 ประเมินผลงาน ✔✔ ศศิดารัตน์
8 นาเสนอโครงงาน ✔✔ศศิดารัตน์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้คนรู้สาเหตุ อาการ การรักษาโรคกลัวที่แคบ และเข้าใจเกี่ยวกับ Phobia มากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
2.กลุ่มสาระสุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.pobpad.com/phobia
https://health.kapook.com/view208259.html
https://health.kapook.com/view136488.html
http://www.flagfrog.com/stuck-in-tight-place/

More Related Content

What's hot

2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
ssuser6e9093
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
Pattaratorn wannasri
 
46 project 1
46 project 146 project 1
46 project 1
ssuser015151
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
Akira Adulyanubhap
 
21
2121
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
jjrrwnd
 
น้องหมา
น้องหมาน้องหมา
น้องหมา
Tangmo Kanokpit
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Aom Nachanok
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
SaiparnChitsanupa
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
rungthiwa_
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
ssusera79710
 
5
55
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
guntjetnipat
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
Love Naka
 
พีม
พีมพีม
พีม
eyecosmomo
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
kedsarapan
 
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอมแบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
aomchowder
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
mint302544
 

What's hot (20)

2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
46 project 1
46 project 146 project 1
46 project 1
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
21
2121
21
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
น้องหมา
น้องหมาน้องหมา
น้องหมา
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
5
55
5
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอมแบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 

Similar to Claustrophobia

Project1
Project1Project1
Project1
pleng.mu
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
fauunutcha
 
2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida
ssuserccc094
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
BajareeSouthonnithat
 
At1
At1At1
Influenza
 Influenza Influenza
Influenza
Nutvipa
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser0065a6
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
naiizu
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
Thawanongpao
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
pawanza
 
2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)
0910797083
 
Work1 608_03
Work1 608_03Work1 608_03
Work1 608_03
Bala Beer
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
portgasjan
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
Mayureept
 
2562 final-project 33 (1)
2562 final-project  33 (1)2562 final-project  33 (1)
2562 final-project 33 (1)
kanyarataryoon
 
Project1 615-31
Project1 615-31Project1 615-31
Project1 615-31
rooneymoon
 

Similar to Claustrophobia (20)

Work1
Work1Work1
Work1
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
At1
At1At1
At1
 
Influenza
 Influenza Influenza
Influenza
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)2560 project .doc-คอม (2)
2560 project .doc-คอม (2)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Work1 608_03
Work1 608_03Work1 608_03
Work1 608_03
 
Alopecia
AlopeciaAlopecia
Alopecia
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
2562 final-project 33 (1)
2562 final-project  33 (1)2562 final-project  33 (1)
2562 final-project 33 (1)
 
Project1 615-31
Project1 615-31Project1 615-31
Project1 615-31
 

Claustrophobia

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคกลัวที่แคบ (Claustrophobia) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว ศศิดารัตน์ เจริญพรวัฒนากุล เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 คน 1. นางสาว ศศิดารัตน์ เจริญพรวัฒนากุล เลขที่ 30 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคกลัวที่แคบ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Claustrophobia ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ศศิดารัตน์ เจริญพรวัฒนากุล เลขที่ 30 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) โรคกลัวที่แคบ มีชื่อทางการว่า Claustrophobia (ครอสโตรโฟเบีย) เป็นอาการวิตกกังวลผิดปกติเมื่อต้องอยู่ ในที่แคบๆ เหมือนถูกปิดล้อมหรือถูกกักขัง จนก่อให้เกิดอาการอึดอัด ใจสั่น เหงื่อซึม หรือบางรายอาจมีความกลัว หนักจนเกือบเอาชีวิตไม่รอดเลยก็มี มีประชากรประมาณ 5-7 เปอร์เซ็น บนโลกที่เป็นโรคนี้และมีเพียงส่วนเดียว เท่านั้นที่เข้ารับการรักษา การกลัวที่แคบที่กล่าวถึงมี 2 ลักษณะ 1.ชนิดแรกคือกลัวการกาหนดขอบเขต (เช่น ที่แคบ ที่ลงกลอน ในรถ บนเครื่องบิน ในท่อหรือถ้า) ซึ่งส่วนมากไม่ได้กลัวการเจ็บปวดแต่เป็นการกลัวการถูกบังคับและ ถูกจากัดพื้นที่ 2.อีกลักษณะคือกลัวการหายใจไม่ออกเพราะอากาศไม่พอ ผู้ที่มีอาการของโรคมักจะถอดเสื้อผ้าที่ใส่ ออกเพราะเชื่อว่าเป็นการผ่อนคลาย Phobia เป็นโรคทางจิตเวชที่จัดอยู่ในกลุ่มโรควิตกกังวล ผู้ป่วยจะมีความกลัวที่ รุนแรงเกินกว่าเหตุและเป็นความกลัวที่ไม่สมเหตุสมผลเมื่อได้เผชิญกับสิ่งของหรือสถานการณ์ซึ่งทาให้รู้สึกกลัว Phobia มีหลากหลายชนิดที่น่าสนใจ เช่น โรคกลัวรู (Trypophobia) โรคกลัวการไว้ใจผู้อื่น (Pistanthrophobia) โรค กลัวการตกหลุมรัก (Philophobia) เป็นต้น จากการศึกษา Phobia เบื้องต้นทาให้รู้ว่าเป็นโรคที่ผู้ป่วยจะเกิดความกลัว
  • 3. 3 กับสิ่งที่ไม่สมเหตุสมผล จึงทาให้คณะผู้จัดทาสนใจและคิดที่จะศึกษาอาการต่างๆของ Phobia ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึง คิดที่จะศึกษาในเรื่องของ โรคกลัวที่แคบ (Claustrophobia) เพื่อศึกษาสาเหตุ อาการ และการรักษาต่างๆ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคกลัวที่แคบ 2.เพื่อศึกษาสาเหตุ ลักษณะอาการ และที่มาของโรคกลัวที่แคบ 3.เพื่อให้ทราบถึงสัญญาณบอกโรคและวิธีการรักษา ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ขอบเขตด้านเนื้อหา เว็บไซต์เกี่ยวกับลักษณะอาการและ Phobia ชนิดต่างๆ https://www.pobpad.com/phobia https://health.kapook.com/view208259.html เว็บไซต์เกี่ยวกับ โรคกลัวที่แคบ (Claustrophobia) https://health.kapook.com/view136488.html http://www.flagfrog.com/stuck-in-tight-place/ ขอบเขตด้านระยะเวลา ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ขอบเขตด้านสถานที่ สถานที่ที่ใช้ในการดาเนินการ ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคกลัวที่แคบคือกลุ่มอาการวิตกกังวลผิดปกติจนอยู่เฉยไม่ได้ เมื่อต้องตกอยู่ในสถานการณ์ที่รู้สึกว่าหนี ไม่ได้ ถูกกักล้อมในที่แคบ ๆ หรือต้องอยู่คนเดียวในช่องเล็กๆ ทุกอย่างดูประชิดตัวเช่น เมื่อต้องอยู่ภายในลิฟต์ โดยสารที่มีคนหนาแน่น ต้องอยู่ในห้องขนาดเล็กที่ไม่มีแม้กระทั่งหน้าต่าง หรือตกอยู่ในที่นั่งด้านในสุดของ เครื่องบิน โดยมีผู้โดยสารคนอื่น ๆ ล้อมรอบตัวอยู่ หรือผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการกลัวเกิดขึ้นได้เมื่อต้องสวมชุดที่ รัดแน่นจนเกินไป เป็นต้น โดยจากสถิติผู้ป่วยโรคกลัวที่แคบของ NYULangone MedicalCenter บันทึกให้เห็นว่าโรคกลัวที่แคบอาจ ไม่ใช่โรคที่เป็นมาตั้งแต่กาเนิด แต่อาจเริ่มเป็นในช่วงวัยเด็กหรือวัยรุ่นเสียส่วนใหญ่ โดยปกติแล้วโรคกลัวที่แคบมักจะมีสาเหตุจากประสบการณ์เลวร้ายอันเกี่ยวกับที่แคบที่เกิดขึ้นตอนยังเป็น เด็ก ซึ่งฝังใจผู้ป่วยให้รู้สึกกลัวคิดว่าที่แคบนั้นมีอันตรายนับตั้งแต่เกิดเหตุการณ์จนกระทั่งกลัวฝังใจมาจนถึงตอนโต
  • 4. 4 เช่นเคยเกือบจมน้าในสระว่ายน้า พลัดหลงจากผู้ปกครองในสถานที่ที่มีคนแออัด หรือเล่นซนในท่อ หรือหลุมอะไร สักอย่าง แล้วติดอยู่ในนั้นเป็นเวลาหนึ่ง เป็นต้น ทั้งนี้ยังมีการศึกษาทางการแพทย์ที่ถูกตีพิมพ์ใน Psychiatry and Clinical Neurosciences พบว่า อาการโฟเบีย หรืออาการกลัวต่าง ๆ อ่านมีเบื้องหลังอยู่ที่ความผิดปกติของสมอง อันได้แก่ - อมิกดาลามีขนาดเล็กเกินไป Fumi Hayano และทีมนักวิจัยพบว่า ภายในสมองของผู้ป่วยโรคกลัวที่แคบและโรคกลัวประเภทอื่น ๆ มักจะ มีขนาดอมิกดาลาหรือต่อมเล็กๆ ใต้สมองที่มีไว้ควบคุมเหตุผลและอารมณ์รวมถึงการแสดงออกของร่างกายกับ ความรู้สึกแบบต่าง ๆ ที่เล็กกว่าปกติ ซึ่งปัจจัยนี้อาจทาให้ร่างกายจัดการกับอารมณ์และความรู้สึกกลัวได้ไม่เต็ม ประสิทธิภาพมากนัก จนเกิดเป็นโรคโฟเบียต่าง ๆ ได้ - ยีนความพร้อมที่จะกลัว การศึกษาพบว่าในบางรายมีอาการกลัวอันฝังรากลึกมาจากยีนในร่างกาย โดยเฉพาะกับกลุ่มคนที่ต้องอยู่ใน สภาพแวดล้อมที่ต้องเอาตัวรอดให้ได้ ถูกฝึกให้มีความระแวดระวังตลอดเวลา หรือเรียกง่าย ๆ ว่ามีสัญชาติญาณใน การเอาชีวิตรอดค่อนข้างสูง ซึ่งความกลัวของคนเหล่านี้จะเกิดขึ้นเป็นช่วงเวลาหนึ่ง และอาจหายเป็นปกติได้เองเมื่อ เวลาผ่านไป วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต งบประมาณ _ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ✔ ศศิดารัตน์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ✔✔ ศศิดารัตน์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ✔✔ ศศิดารัตน์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ✔✔✔ ศศิดารัตน์
  • 5. 5 5 ปรับปรุงทดสอบ ✔✔ ศศิดารัตน์ 6 การทาเอกสารรายงาน ✔✔ ✔ ศศิดารัตน์ 7 ประเมินผลงาน ✔✔ ศศิดารัตน์ 8 นาเสนอโครงงาน ✔✔ศศิดารัตน์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้คนรู้สาเหตุ อาการ การรักษาโรคกลัวที่แคบ และเข้าใจเกี่ยวกับ Phobia มากขึ้น สถานที่ดาเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 2.กลุ่มสาระสุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.pobpad.com/phobia https://health.kapook.com/view208259.html https://health.kapook.com/view136488.html http://www.flagfrog.com/stuck-in-tight-place/