SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 10
ความรู้ทั่วไปและการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ
เช็ค
เช็ค(Cheque)
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 987 บัญญัติว่า “อันว่าเช็คนั้น คือ หนังสือตราสารซึ่งมี
บุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจานวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคาสั่ง
ของบุคคลอีกคนหนึ่งอันเรียกว่า ผู้รับเงิน”
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้เช็ค
จากความหมายของเช็คจะเห็นได้ว่า ในการใช้เช็คนั้น จะมีบุคคลเข้ามาเกี่ยวข้อง 3 ฝ่าย คือ
1. ผู้สั่งจ่ายหรือผู้ออกเช็ค (Drawer) คือ ผู้เขียนเช็คสั่งจ่ายให้แก่เจ้าหนี้ของตน ในการที่
จะใช้เช็คสั่งจ่ายได้นั้น จะต้องติดต่อกับธนาคารเพื่อขอเปิดบัญชีกระแสรายวันไว้กับธนาคาร ซึ่งธนาคารจะ
มอบสมุดเช็คของธนาคารให้กิจการที่ขอเปิดบัญชี และเมื่อต้องการจะถอนเงินใช้ในกิจการหรือจ่ายชาระหนี้ให้
ใช้เช็คนั้นจ่ายตามจานวนที่ต้องการ
2. ผู้จ่ายเงิน (Drawee) คือ ธนาคารซึ่งจะต้องจ่ายเงินตามที่ผู้ทรงเช็คนาเช็คมาขึ้นเงิน
3. ผู้รับเงิน (Payee) คือ ผู้ที่มีสิทธิเรียกร้องเงินตามเช็คนั้น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 988 บัญญัติว่าเช็คนั้นต้องมีรายการ
ดังนี้
1. คาบอกชื่อว่าเป็นเช็ค
2. คาสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินจานวนแน่นอน
3. ชื่อหรือยี่ห้อและสานักงานของธนาคาร
4. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงินหรือคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ
5. สถานที่ใช้เงิน
6. วันและสถานที่ออกเช็ค
7. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย
ประเภทการฝากเงินธนาคาร
1 . เงินฝากออมทรัพย์
คือ เงินฝากประเภทที่ไม่ได้กาหนดระยะเวลาใน
การฝาก จะฝากจะถอนเมื่อใดก็ได้ ในวันและ
เวลาทาการ
3. เงินฝากประจา
คือ การเปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารใดธนาคารหนึ่ง โดยมีสัญญาว่าผู้
ฝากจะฝากเงินจานวนนี้ไว้โดยไม่ถอนเลยในช่วงเวลาที่ตกลงกันไว้
ช่วงเวลาอาจเป็น 3 6 12 24 เดือน หรือมากกว่านั้นก็ได้ โดยธนาคารจะ
จ่ายดอกเบี้ยให้ในอัตราที่ตกลงกันไว้ซึ่งสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยของเงินฝาก
ออมทรัพย์ โดยอาจมีการจ่ายทุก 6 เดือน 12 เดือน ตามข้อตกลง ยิ่ง
ฝากเป็นระยะเวลานานอัตราดอกเบี้ยยิ่งสูง เพราะธนาคารสามารถนาเงิน
ก้อนนี้ไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่า แต่ถ้าผู้ฝากถอนเงินก่อนครบสัญญาที่
ตกลงกันไว้ ธนาคารมีสิทธิ์จะไม่ให้ดอกเบี้ย หรือให้ดอกเบี้ยในอัตราที่
เท่ากับบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ก็ได้ แล้วแต่เงื่อนไข และถ้าเป็นการฝาก
ประจาแบบทั่วไป (General Fixed Deposit) จะต้องเสียภาษี 15%
จากดอกเบี้ย
2. เงินฝากแบบกระแสรายวัน
คือ เป็นบริการที่อานวยความสะดวกในการ
บริหารเงินได้อย่างคล่องตัวและปลอดภัยโดยใช้
เช็คสั่งจ่ายของธนาคารแทนการใช้เงินสด ถ้า
คุณมีธุรกิจการค้าหรือธุรกิจส่วนตัวที่มีการรับ -
จ่ายเงินหมุนเวียนอยู่เป็นประจา
การขอเปิดบัญชีกระแสรายวัน
1. กรอกรายการในใบคาขอเปิดบัญชีกระแสรายวัน ซึ่งมีรายละเอียดชื่อกิจการ ที่อยู่
หรือที่ตั้งสานักงาน ชื่อและนามสกุลผู้ขอเปิดบัญชี สถานที่ติดต่อ อาชีพ ฯลฯ
2. เซ็นชื่อในบัตรตัวอย่างลายมือชื่อ โดยปกติธนาคารให้ผู้มาเปิดบัญชีเซ็นชื่อในบัตร
ตัวอย่างลายมือชื่อไว้ 2 ชุด
01
ตัวอย่าง บัตรลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย 2 ชุดเหมือนกัน
การฝากเงินเข้าบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน
ใบฝากเงิน
การฝากเงินสด การฝากเช็คธนาคารอื่น
สมุดเช็ค
ชนิดของเช็ค
1. เช็คที่สั่งจ่ายเงินสดหรือเช็คจ่ายผู้ถือ (Bearer Cheque) คือ เช็คที่มีคาว่า เงินสด แทนชื่อผู้รับเงิน หรือเช็คที่ระบุ
ชื่อผู้รับเงินแต่ไม่ได้ขีดฆ่าคาว่า “หรือผู้ถือ” ผู้ที่มีเช็คประเภทนี้สามารถนาเช็คไปเบิกเงินสดจากธนาคารได้ทันที
ดังนั้นหากเจ้าของเช็คทาเช็คเงินสดสูญหาย ผู้ใดก็ตามที่เก็บเช็คเงินสดนั้นได้สามารถนาเช็คไปเบิกเงินสดกับธนาคารได้
เนื่องจากเช็คไม่ได้มีการขีดฆ่าคาว่า “หรือผู้ถือ”
เช็คสั่งจ่ายเงินสด เช็คจ่ายผู้ถือ
2. เช็คที่สั่งจ่ายตามคาสั่ง (Order Cheque) คือ เช็คที่ระบุให้จ่ายตามคาสั่งของผู้รับเงิน
หรือเช็คที่ระบุชื่อผู้รับเงินและขีดฆ่าคาว่าหรือผู้ถือออก ซึ่งมีความหมายว่า ผู้รับเงินคือผู้ที่ระบุชื่อในเช็ค
ฉบับนั้น ยกเว้นผู้ที่ระบุชื่อนี้ได้สลักหลังโอนเช็คให้แก่บุคคลอื่น
1. สลักหลังเฉพาะ หมายถึง การสลักหลังเช็คโดยระบุ
ชื่อผู้รับโอนไว้ด้วยพร้อมด้วยลงลายมือชื่อผู้สลักหลัง
การสลักหลังเช็ค
การสลักหลัง หมายถึง การเขียนข้อความพร้อมกับการลงลายมือชื่อหรือลงลายมือชื่ออย่างเดียวที่ด้านหลังของเช็คเพื่อ
แสดงถึงการโอนเช็คนั้นการสลักหลัง มี 2 แบบ คือ
2. สลักหลังลอย หมายถึง การสลักหลังโดยลงลายมือ
ชื่อผู้สลักเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับโอนไว้ด้วย
1. เช็คจ่ายเงินสดหรือเช็คระบุชื่อผู้รับเงินตามเช็ค คือ วิธีการเขียน ผู้เป็นเจ้าของเช็คจะเขียนคาว่า
“เงินสด” ในช่องคาว่า “จ่าย” โดยไม่ได้ขีดคาว่า “หรือผู้ถือ” ออก ถือว่าเป็นการเบิกเงินสดจาก
ธนาคาร แต่ถ้าระบุชื่อผู้รับเงินและขีดคาว่า“หรือผู้ถือ”ออกจะถือว่าธนาคารจะจ่ายเงินสดให้แก่ผู้ที่
ถูกระบุชื่อผู้รับเงิน
การเขียนเช็ค
เช็คจ่ายเงินสด เช็คจ่ายผู้รับเงิน
เช็คขีดคร่อม (Crossed Cheque)
วิธีการเขียนเช็คนี้จะเขียนเส้นคู่ขนานไว้ด้านหน้าของเช็ค โดยปกติจะนิยมเขียนไว้
ทางด้านมุมซ้ายของเช็ค ซึ่งจะถือว่าต้องนาเช็คฝากเข้าบัญชีธนาคารของผู้รับเช็คเท่านั้น การเขียนเช็ค
ขีดคร่อม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.เช็คขีดคร่อมทั่วไป (General Crossing) หมายถึง เช็คที่เขียนเส้นคู่ขนานไว้ด้านหน้า ของเช็ค
(มุมซ้าย) โดยไม่ต้องเขียนข้อความใด ๆ ลงระหว่างเส้นคู่ขนานนี้ จะถือว่าต้องนา เช็คฉบับนี้ฝากเข้า
บัญชีก่อน เมื่อธนาคารเรียกเก็บเงินตามเช็คได้แล้วจึงจะสามารถถอนเป็นเงินสดได้
1.1 ถ้าขีดคร่อมเช็ค โดยเช็คสั่งจ่ายเงินสด และขีดคาว่า “หรือผู้ถือ” ออก หมายความว่า
เช็คฉบับนี้จะเข้าบัญชีใครก็ได้
ตัวอย่าง
1.2 ถ้าขีดคร่อมเช็ค โดยเช็คสั่งจ่ายระบุชื่อผู้ถือและขีดคาว่า “หรือผู้ถือ” ออก หมายความว่า เช็ค
ฉบับนี้ต้องเข้าบัญชีผู้ที่ระบุชื่อนั้น
ตัวอย่าง
1.3 ถ้าขีดคร่อมเช็คและเขียนคาว่า “และบริษัท” หรือ “& Co.” หมายความว่า เช็คฉบับนี้ต้องเข้า
บัญชีผู้ที่ระบุชื่อนั้น แต่ถ้าจะนาเข้าบัญชีของผู้อื่นต้องเซ็นชื่อสลักหลังเช็คถือเป็นการโอนเช็คเข้าบัญชีของผู้อื่น
ตัวอย่าง
2. เช็คขีดคร่อมเฉพาะ (Special Crossing) หมายถึง เช็คที่เขียนคู่ขนานไว้ ด้านหน้าของเช็ค (มุมซ้าย) และเขียน
ข้อความระบุอย่างชัดเจนระหว่างเส้นคู่ขนานนี้ เช็คขีดคร่อมและเขียนระบุชื่อธนาคารระหว่างเส้นคู่ขนา หมายความ
ว่าเช็คฉบับนี้จะต้องฝากเข้าเฉพาะธนาคารที่ระบุเท่านั้น
ตัวอย่าง
2.1 เช็คขีดคร่อมและเขียนคาว่า “เข้าบัญชีผู้รับเงินเท่านั้น” หรือ “Account Payee Only”
หมายความว่า เช็คฉบับนี้จะต้องฝากเข้าบัญชีผู้ที่ถูกระบุชื่อในเช็ค เท่านั้น จะสลักหลังโอนต่อไม่ได้ จึงควรขีดฆ่าคา
ว่า “หรือผู้ถือ” ออก
ตัวอย่าง
2.2 เช็คขีดคร่อมและเขียนคาว่า “ห้ามเปลี่ยนมือ” หมายความว่า จะโอน หรือ สลักหลังเปลี่ยนมือ
ไม่ได้ ต้องเข้าบัญชีตามชื่อที่ระบุไว้เท่านั้น
ตัวอย่าง
ระยะเวลาการนาเช็คไปขึ้นธนาคาร
1. ถ้าเป็นเช็คที่ออกและให้ใช้เงินในจังหวัดเดียวกันกับผู้สั่งจ่ายออกเช็ค จะต้องยื่นเช็คขอขึ้นเงิน
ภายใน 1 เดือน
2. ถ้าเป็นเช็คที่ออกและให้ใช้เงินในจังหวัดอื่นที่มิใช่จังผู้สั่งจ่ายออกเช็คจะต้องยื่นเช็คขอขึ้นเงิน
ภายใน 3 เดือน
กรณีที่ธนาคารจะไม่จ่ายเงินตามเช็ค
ในกรณีต่อไปนี้ ธนาคารจะไม่จ่ายเงินให้แก่ผู้ที่นาชคมาขึ้นเงิน
1. มีคาบอกกล่าวของเจ้าของบัญชีว่าห้ามธนาคารจ่ายเงิน
2. เมื่อธนาคารรู้ว่าผู้สั่งจ่ายเสียชีวิต
3. เมื่อธนาคารรู้ว่าศาลได้มีคาสั่งให้รักษาทรัพย์ชั่วคราว หรือคาสั่งให้ผู้สั่งจ่ายตกเป็นบุคคลล้มละลาย
หรือได้มีประกาศโฆษณาคาสั่งเช่นนั้น
ทะเบียนเช็คลงวันที่ล่วงหน้า
เช็คลงวันที่ล่วงหน้า (Post – Date Check) หมายถึง รูปแบบเช็คสั่งจ่ายทั่วไปที่เรากาหนดวัน
เวลาและจานวนเงินในการขึ้นเช็คไว้บนเช็ค ซึ่งเช็คลงวันที่ล่วงหน้าจะถูกบันทึกไว้ในรายการลูกหนี้
ในงบการเงินของกิจการ
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเช็ค
1. นาเงินฝากธนาคาร Dr.เงินฝากธนาคาร xx
เงินสด xx
บันทึกการนาเงินสดฝากธนาคาร
3. จ่ายเช็คเพื่อซื้อสินค้า
Dr.เงินสด xx
Cr. เงินฝากธนาคาร xx
บันทึกถอนเงินจากธนาคาร
2. ถอนเงินธนาคาร
Dr. ซื้อสินค้า xx
ภาษีซื้อ xx
Cr. เงินฝากธนาคาร - กระแสรายวัน xx
บันทึกถอนเงินจากธนาคาร
4. รับเช็คจากการขายสินค้า Dr. เงินฝากธนาคาร - กระแสรายวัน xx
Dr. ขายสินค้า xx
บันทึกการนาเงินสดฝากธนาคาร
5. โอนเงินจากบัญชีออมทรัพย์มายังบัญชีกระแสรายวัน
Dr. เงินฝากธนาคาร - กระแสรายวัน xx
Dr. เงินฝากธนาคาร - ออมทรัพย์ xx
บันทึกการนาเงินสดฝากธนาคาร
ตัวอย่าง ต่อไปนี้เป็นรายการค้าบางส่วนของกิจการแห่งหนึ่ง
2557
พ.ศ. 2 นางน้อย นาเงินสดมาลงทุน 2,000,000
3 นาฝากธนาคาร ประเภทกระแสรายวัน 1,500,000 บาท ประเภทออมทรัพย์
5,000,000
7 จ่ายเช็คเลขที่ 1222345 ชาระค่าเช่าเดือน เม.ย 6,000 บาท
8 จ่ายเช็คเลขที่ 1222346 ชาระค่าตกแต่งร้าน 15,000 บาท
Check

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
Beerza Kub
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารple2516
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ DdpmPongsatorn Sirisakorn
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
Pa'rig Prig
 
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุรายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
Jaturapad Pratoom
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
kingkarn somchit
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.Maya NNcuhmmy
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
pop Jaturong
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
Aor's Sometime
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
Lhin Za
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Denpong Soodphakdee
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
มิชิโกะ จังโกะ
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
Teetut Tresirichod
 
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)i_cavalry
 

What's hot (20)

Accout
AccoutAccout
Accout
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะและกระบวนการทำงาน
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุรายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.สังคมศึกษา โควต้า มช.
สังคมศึกษา โควต้า มช.
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy Conservation
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
 
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
ตย.ฎีกาเบิกเงิน(กง.10)
 

Check