SlideShare a Scribd company logo
การบริหารงานการเงิน บัญชีและพัสดุ
นายจิระวัฒน์ วังกะ 56990032
นางสาวสวนีย์ ภิรมย์ไกรภักดิ์ 56990054
ความหมายของการบริหารงานการเงิน
นิพนธ์ กินาวงศ์ (2526 : 3) กล่าวว่า การบริหารการเงิน หมายถึง การร่วมมือกัน
ทางานของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน
พนัส หันนาคินทร์ (2529 : 5) กล่าวว่า การบริหารการเงิน หมายถึง ขบวนการที่
ผู้ดาเนินการใช ้อานาจ ตลอดจนทรัพยากรต่างๆ เช่น คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ หรือ
คาดหวังว่าจะมีการจัดการดาเนินการของหน่วยงานนั้นๆให ้ไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว ้
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2526 : 307)ได ้กล่าวว่า งานการเงินหมายถึง งาน
ที่เกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนาเงินส่ง และการตรวจสอบ
การเงินทุกประเภทของส่วนราชการตามวิธีการที่กฎหมายและระเบียบแบบแผนของ
ทางราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ (2554 : 1) กล่าวว่า การดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารการเงิน
ประกอบด ้วย การเบิกเงิน การจ่ายเงิน การยืมเงิน การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน
การนาเงินส่งคลัง และการกันเงิน
การ
บริหารงาน
การเงิน
การเบิก
เงินจาก
คลัง
การรับเงิน
การเก็บ
รักษาเงิน
การ
จ่ายเงิน
การยืมเงิน
การนาเงิน
ส่งคลัง
การกันเงิน
เหลื่อมปี
การบริหารจัดการเกี่ยวกับการเงิน
1. ประเภทงบประมาณ
2. การเบิกเงินจากคลัง
3. การรับเงิน
4. การเก็บรักษาเงิน
5. การจ่ายเงิน
6. การยืมคลัง
7. การนาเงินส่งคลัง
8. การกันเงินเหลื่อมปี
1.ประเภทงบประมาณ
เงินในงบประมาณ หมายถึง
เงินที่ส่วนราชการได ้รับตาม
พระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่าย
ประจาปี หรือเบิกจ่ายใน
รายจ่ายงบกลาง
รายจ่ายตามงบประมาณ
จาแนกออกเป็น 2
ลักษณะ คือ 1) เงิน
งบประมาณรายจ่ายของ
ส่วนราชการและ
รัฐวิสาหกิจ 2) รายจ่าย
งบกลาง
เงินนอกงบประมาณ
หมายถึง เงินที่
กฎหมายกาหนดไม่
ต ้องนาส่งเป็นเงิน
รายได ้แผ่นดิน หรือ
เงินที่ได ้รับอนุญาตให ้
เก็บไว ้ใช ้จ่ายได ้ตาม
พระราชบัญญัติ วิธีการ
งบประมาณ พ.ศ.
2502 มาตรา 24
เงินรายได ้แผ่นดิน หมายถึง
เงินรายได ้แผ่นดิน
หมายถึง เงินที่ส่วน
ราชการได ้รับไว ้เป็น
กรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย
ระเบียบและไม่มีกฎหมาย
อื่นใดกาหนดให ้ส่วน
ราชการเก็บไว ้เช่น เงิน
อุดหนุนทั่วไปที่เหลือจ่าย
เกิน 2 ปีงบประมาณ
ชลาลักษณ์ เสาร์สุวรรณ์ : คู่มือปฏิบัติงานการเงิน ,3-7)
2.การเบิกเงินจากคลัง
สถานที่เบิกเงินส่วนราชการในส่วนกลางให ้เบิกเงินกับกรมบัญชีกลาง
ส่วนราชการในภูมิภาคให ้เบิกเงินกับสานักงานคลังจังหวัดหน่วยงานสังกัด
ส่วนกลางแต่มีสานักงานอยู่ในภูมิภาค จะเบิกเงินกับสานักงานคลังจังหวัดก็ได ้
ในกรณีจาเป็นเจ ้าของงบประมาณจะขอทาความตกลงกับกระทรวงการคลัง
ขอปฏิบัติเป็นอย่างอื่นก็ได ้
2.1 ผู้เบิกเงิน
ให ้หัวหน้าส่วนราชการเป็นผู้เบิกหรือแต่งตั้งหรือมอบหมายให ้หัวหน้าหน่วย/
ข ้าราชการผู้ดารงตาแหน่งระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นแทน
2.2 วิธีการเบิกเงิน
การเบิกเงินกับกรมบัญชีกลางหรือสานักงานคลังจังหวัด ให ้กระทาได ้
เฉพาะเงินภายในงวดประจางวดที่ได ้รับอนุมัติให ้เบิกกับกรมบัญชีกลาง
หรือสานักงานคลังจังหวัด แล ้วแต่กรณียกเว ้นเงินงบประมาณรายจ่าย
และเงินงบกลาง รายการดังนี้
1) เงินเดือนและค่าจ ้างประจาเฉพาะกรณีขอเบิกกับสานักงานคลัง
จังหวัด
2) เงินงบกลาง คือเงินเบี้ยหวัด บาเหน็จบานาญ เงินช่วยเหลือ
ข ้าราชการ ลูกจ ้างและพนักงานของรัฐ เงินสารอง เงินสมทบและเงิน
ชดเชยของข ้าราชการ เงินสมทบลูกจ ้าง และค่าใช ้จ่ายในการ
รักษาพยาบาลข ้าราชการลูกจ ้างและพนักงานของรัฐ การเบิกเงินให ้
เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลัง
3.การรับเงิน ให้ถือวิธีการปฏิบัติการรับเงิน ในการ
ดาเนินการดังนี้
3.1 ให ้รับเป็นเงินสด การรับเงินเป็นเช็ค หรือดร๊าฟท์ หรือสารอย่างอื่นให ้ปฏิบัติ
ตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกาหนดว่าด ้วยการนั้น
3.2 ให ้ออกใบเสร็จชาระเงินแก่ผู้ชาระเงินทุกครั้ง ยกเว ้นการรับเงิน งบประมาณ
จากคลัง ให ้ใช ้ฎีกาเป็นหลักฐานในการรับเงิน
3.3 ให ้ใช ้ใบเสร็จรับเงิน ตามแบบที่กระทรวงการคลังกาหนด หรือตามแบบที่
ได ้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
3.4 ให ้บันทึกเงินที่ได ้รับในบัญชีเงินสด หรือบัญชีเงินฝากธนาคารแล ้วแต่กรณี
ภายในวันที่ไดรับเงินนั้น โดยให ้แสดงให ้ทราบว่าได ้รับเงินตามฎีกาหรือ
ใบเสร็จรับเงินเล่มใด เลขที่ใด และจานวนเงินเท่าใด
3.5 ในกรณีที่มีการรับเงินภายหลังกาหนดเวลาปิดบัญชี
สาหรับวันนั้นแล ้วก็ให ้บันทึกการรับเงินนั้นในบัญชีเงิน
สดหรือบัญชีเงินฝากธนาคารในวันทาการต่อไป
3.6 เงินประเภทใด มีใบเสร็จรับเงินวันหนึ่งหลายฉบับจะ
รวมเงินรับประเภทนั้นๆตามสาเนาใบเสร็จรับเงินทุก
ฉบับมาบันทึกในบัญชีรายการเดียวก็ได ้ โดยให ้แสดง
ให ้ทราบว่าเป็นเงินรับตามใบเสร็จเลขที่ใดถึงเลขที่ใด
จานวนเงินรับรวมทั้งสิ้นเท่าใด ไว ้ด ้านหลังสาเนา
ใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท ้าย
3.7 เมื่อสิ้นเวลารับเงินให ้ผู้มีหน้าที่รับชาระเงินนาเงินที่ได ้รับพร ้อม
กับสาเนาใบเสร็จรับเงินที่ออกในวันนั้นทั้งหมด ส่งต่อเจ ้าหน้าที่
การเงินของสถานศึกษา
3.8 ให ้สถานศึกษาจัดให ้มีการตรวจสอบจานวนเงินมีเจ ้าหน้าที่
จัดเก็บและนาส่งกับหลักฐานและรายการที่บันทึกไว ้ในบัญชีเงิน
สดหรอบัญชีเงินฝากธนาคารว่าถูกต ้องครบถ ้วนหรือไม่ หาก
ตรวจสอบแล ้วปรากฎว่าถูกต ้องก็ให ้ผู้ตรวจสอบแสดงยอดรวม
เงินทั้งสิ้นตามใบเสร็จรับเงินทุกฉบับที่ได ้รับในวันนั้น ในสาเนา
ใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท ้ายและลงลายมือชื่อกากับไว ้ด ้วย
4. การเก็บรักษาเงิน กระทรวงการคลังวางแนวทางปฏิบัติการเก็บ
รับเงิน โดยให ้สถานศึกษาดาเนินการดังนี้
4.1 ให ้สถานศึกษาจัดให ้มีตู้นิรภัยสาหรับการเก็บรักษาเงินของ
สถานศึกษา โดยให ้ตั้งไว ้ในที่ปลอดภัยภายในสถานศึกษา
4.2 ให ้เจ ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบทารายงานคงเหลือประจาวันตามแบบที่
กระทรวงการคลังกาหนด หากวันใดไม่มีการรับจ่ายเงิน จะไม่ทารายงาน
เงินคงเหลือประจาวันสาหรับวันนั้นก็ได ้แต่ให ้หมายเหตุในรายงานเงิน
คงเหลือประจาวันที่มีการรับจ่ายเงินถัดไปให ้ทราบด ้วย
4.3 แต่งตั้งผู้รับผิดชอบอย่างน้อย 3 คน ทาหน้าที่เป็นกรรมการเก็บรักษา
เงินของสถานศึกษา
5. การจ่ายเงิน หมายถึง เงินงบประมาณรายจ่ายปีใด ปีงบประมาณใด ส่วน
ราชการผู้ใช ้เงินงบประมาณจะเบิกจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตามงบประมาณ
รายจ่ายได ้เฉพาะปีงบประมาณนั้น ให ้ดาเนินการดังนี้
5.1 การจ่ายเงินจะจ่ายได ้เฉพาะที่มีกฎหมาย ระเบียบ ข ้อบังคับอนุญาตให ้
จ่ายได ้หรือตามที่ได ้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังหรือตามวัตถุประสงค์
ของเงินประเภทนั้นๆและผู้มีอานาจอนุมัติให ้จ่ายได ้
5.2 ให ้ผู้อานวยการสถานศึกษา หรือครูใหญ่ หรือผู้ที่รับมอบหมาย เป็นผู้
มีอานาจอนุมัติการจ่ายเงิน โดยลงลายมือชื่ออนุมัติในหลักฐานการจ่ายทุก
ฉบับ หรือในงบหน้า หลักฐานการจ่ายก็ได ้
5.3 การจ่ายเงินให ้จ่ายเป็นเช็ค การจ่ายเงินเดือน และค่าจ ้างให ้จ่ายโดยวิธีโอน
เงินเข ้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้มีสิทธิ ส่วนการจ่ายเงินสดให ้กระทาได ้ใน
กรณีจ่ายเงินให ้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากรทางการศึกษา ลูกจ ้าง หรือ
ผู้รับบานาญ สาหรับการจ่ายที่มีวงเงินไม่เกินครั้งละ 2,000 บาท
5.4 การจ่ายเงิน ต ้องมีหลักฐานการจ่ายไว ้เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ
และห ้ามมิให ้ผู้มีหน้าที่จ่ายเงินเรียกหลักฐานการจ่ายหรือให ้ผู้รับเงินสดลง
ลายมือชื่อรับรองในหลักฐานการจ่ายเงิน โดยที่ยังมิได ้มีการจ่ายเงินให ้
เจ ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงิน
5.5 หลักฐานการจ่ายเป็นไปตามที่กระทรวงการคลังกาหนด
5.6 ให ้บันทึกการจ่ายเงินให ้แก่ผู้รับเงินทุกรายการไว ้ในบัญชีเงินสดหรือ
บัญชีเงินฝากธนาคารแล ้วแต่กรณีในวันที่จ่ายเงินนั้น
5.7 เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงิน ให ้สถานศึกษาจัดให ้มีการตรวจสอบรายการ
จ่ายเงินที่บันทึกไว ้ในบัญชีเงินสดหรือบัญชีเงินฝากธนาคารกับหลักฐาน
การจ่ายในวันนั้นหาก ปรากฏว่า ถูกต ้องให ้ผู้ตรวจสอบลงลายมือชื่อกากับ
ยอดเงินคงเหลือในบัญชีนั้น
6. การยืมเงิน ให ้สถานศึกษาดาเนินการดังนี้
6.1 การจ่ายเงินยืมจะจ่ายได ้แต่เฉพาะที่ผู้ยืมได ้ทาสัญญาการยืมตามแบบที่
กระทรวงการคลังกาหนด และผู้มีอานาจได ้อนุมัติให ้จ่ายเงินยืมตามสัญญา
การยืมเงินนั้นแล ้วเท่านั้น
6.2 ให ้ผู้มีอานาจพิจารณาอนุมัติให ้ยืม เฉพาะเท่าที่จาเป็นเพื่อใช ้ใน
ราชการและห ้ามมิให ้อนุมัติให ้ยืมเงินรายใหม่ในเอผู้ยืมมิได ้ชาระเงินยืมราย
เก่าให ้เสร็จสิ้นไปก่อน
6.3ให ้มีการตรวจสอบสัญญายืมเงิน และติดตามให ้ผู้ยืมส่งใช ้เงินยืม
ภายในเวลาที่กาหนด หรือเรียกชดใช ้เงินยืมตามเงื่อนไขในใบยืมให ้เสร็จสิ้น
ไปโดยเร็ว อย่างช ้าไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันครบกาหนด
6.4 ให ้เก็บรักษาสัญญาการยืมเงิน ซึ่งยังมิได ้ชาระคืนเงินยืม ให ้เสร็จสิ้นใน
วันที่ปลอดภัยอย่าให ้สูญหายได ้และเมื่อผู้ยืมได ้ชาระคืนเงินยืมเสร็จสิ้นแล ้ว
ก็ให ้เก็บเช่นเดียวกับหลักฐานการจ่าย
7. การนาส่งเงิน หมายถึง การนาเงินทั้งปวงชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ ทีโรงเรียน
ได ้รับนาส่ง โดยโรงเรียนไม่สามารถนาเงินนั้นไปใช ้จ่ายได ้ทั้งที่เป็นเงินสดและ/เช็ค
ให ้นาส่งหรือนาฝากคลังภายในกาหนด
8. การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ส่วนราชการใดได ้ก่อหนี้ผูกพันไว ้ก่อนสิ้น
ปีงบประมาณ โดยสั่งซื้อ สั่งจ ้าง หรือการเช่าทรัพย์สินครั้งหนึ่งรายหนึ่งเป็นเงินตั้งแต่
ห ้าหมื่นบาทขึ้นไป ถ ้าเห็นว่าการเบิกเงินไปชาระหนี้ผูกพันนั้นไม่ทันสิ้นปี ก็ให ้ขอกัน
เงินไว ้เบิกเหลื่อมปีได ้อีกหกเดือนปฏิทินนับจากวันสิ้นปีหรือภายในระยะเวลาที่ได ้รับ
ความตกลงกับกระทรวงการคลัง
ในกรณีที่ไม่ได ้ก่อหนี้ผูกพัน แต่มีความจาเป็นจะต ้องจ่ายเงินนั้นต่อไปอีกให ้
กระรวงเจ ้าสังกัดทาความตกลงกับกระทรวงการคลัง เมื่อได ้รับอนุมัติจาก
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแล ้วก็ขอให ้เบิกเหลื่อมปีตามวรรคแรกได ้
การขอกันเงินไว ้เบิกเหลื่อมปีให ้ส่วนราชการผู้เบิกยื่นใบขอกันเงินตามแบบ
และวิธีการที่กระทรวงการคลังกาหนดต่อกรมบัญชีกลาง หรือสานักคลังจังหวัด
แล ้วแต่กรณี ก่อนสิ้นปีอย่างน้อยสามสิบวัน เว ้นแต่จะมีเหตุผลสมควร และอธิบดี
กรมบัญชีกลาง หรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมบัญชีกลางมอบหมาย สาหรับส่วนกลาง และผู้ว่า
ราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย สาหรับส่วนภูมิภาคให ้ขยายเวลา
ยื่นขอกันเงินได ้เป็นพิเศษ แต่ทั้งนี้จะต ้องไม่เกินวันทาการสุดท ้ายของปีนั้น
ความหมายของการบริหารการบัญชี
จิราวรรณ คงคล ้าย (ม.ป.ป : 124) กล่าวว่า การบัญชี หมายถึง การบันทึกรายการ
เงิน ทั้งในด ้านรายรับ รายจ่าย ตลอดจนการโอนบัญชี การแยก ประเภท การสรุปผล
และแปลความหมายของข ้อมูลดังกล่าว ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญยิ่งส่วนหนึ่งในการ
บริหารการเงินขององค์กร
สานักการปฏิรูปการศึกษา (2544 : 5) ได ้กล่าวถึงหลักการบัญชีว่า หมายถึง
แนวปฏิบัติในการรวบรวม จดบันทึก จาแนก สรุปผล และรายงานเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ
การเงินของสถานศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ (2546 : 47-48) ได ้กล่าวถึง การบริหารการบัญชีว่า มีขอบข่าย
ภารกิจ ประกอบด ้วย การจัดทาบัญชีการเงิน การจัดทารายงานทางการเงิน การจัดทา
และจัดหาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียน และรายงาน
การบริหารการบัญชี
1. การจัดทาบัญชีการเงิน
2. การจัดทารายงานการเงินและงบการเงิน
3. การจัดทาและจัดหาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียน
และรายงาน
1.1 ตั้งยอดบัญชีระหว่างปีงบประมาณทั้งการตั้งยอดภายหลังการปิดบัญชี
งบประมาณปีก่อนและการตั้งยอดก่อนปิดบัญชีงบประมาณปีก่อน
1.2 จัดทากระดาษทาการ โดยปรับปรุงบัญชีเงินงบประมาณ เมื่อสิ้น
ปีงบประมาณ โดยปรับรายการบัญชีรายได ้จากงบประมาณค ้างรับ ค่าใช ้จ่ายค ้าง
จ่าย/รับที่ได ้รับล่วงหน้า ค่าใช ้จ่ายล่วงหน้า/รายได ้ค ้างรับ วัสดุหรือสินค ้าที่ใช ้
ไประหว่างงวดบัญชี พร ้อมทั้งจัดทาใบสาคัญการลงบัญชีทั่วไปโดยใช ้
จานวนเงินตามรายการหลังการปรับปรุง
1.3 บันทึกเปิดบัญชีคงค ้าง (พึงรับพึงจ่าย) โดยบันทึกรายการด ้านเดบิตใน
บัญชีแยกประเภท(สินทรัพย์และค่าใช ้จ่าย) และบันทึกรายการด ้านเดบิตในบัญชี
แยกประเภท(หนี้สิน ทุน รายได ้)
1.การจัดทาบัญชีการเงิน มีแนวทางการปฏิบัติพอสังเขปดังนี้
1.4 บันทึกบัญชีประจาวัน ให ้ครอบคลุมการรับเงินทุกงบประมาณ
1.5 สรุปรายการบันทึกบัญชีทุกวันทาการ สรุปรายการรับหรือจ่ายเงินผ่านไป
บัญชีแยกประเภทเงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินฝากคลัง สมุดรายงานทั่วไปให ้
ผ่านรายการเข ้าบัญชีแยกประเภท ณ วันทาการสุดท ้ายของเดือน
1.6 ปิดบัญชีรายได ้และค่าใช ้จ่ายเพื่อบันทึกบัญชีรายได ้สูงกว่า(ต่ากว่า)
ค่าใช ้จ่ายใน
งวดบัญชี และปิดรายการได ้สูง(ต่า)กว่าค่าใช ้จ่ายงวดบัญชี เข ้าบัญชีรายได ้สูง(ต่า)กว่า
ใช ้
จ่ายสะสมแล ้วโอนบัญชีรายได ้แผ่นดินนาส่งคลัง เข ้าบัญชีรายได ้แผ่นดิน หากยอดเงิน
คงเหลือให ้โอนเข ้าบัญชีรายได ้แผ่นดินรอนาส่งคลัง
1.7 ตรวจสอบความถูกต ้องของตัวเงินสดและเงินฝากธนาคารตามรายงาน
คงเหลือ
ประจาวัน และงบพิสูจน์ยอดฝากธนาคาร ตลอดจนตรวจสอบความถูกต ้องของบัญชี
แยกประเภททั่วไปและการตรวจสอบความถูกต ้องของบัญชีย่อยและทะเบียน
1.8 แก ้ไขข ้อผิดพลาดจากการบันทึกรายการผิดบัญชี จากการเขียนข ้อความ
ผิดหรือตัวเลขผิดจากการบันทึกตัวเลขผิดช่อง บัญชีย่อยแต่ยอดรวมถูก โดยการ
ขีดฆ่าข ้อความหรือตัวเลขผิด ลงลายมือชื่อย่อกากับพร ้อมวันเดือนปีแล ้วเขียน
ข ้อความหรือตัวเลขที่ถูกต ้อง
2. การจัดทารายงานการเงินและงบการเงิน มีแนวทางการปฏิบัติพอสังเขปดังนี้
2.1 จัดทารายงานประจาเดือนส่งหน่วยงานต ้นสังกัด สานักงานตรวจเงิน
แผ่นดินและกรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยจัดทารายงาน
รายได ้แผ่นดิน รายงานรายได ้และค่าใช ้จ่าย รายงานเงินประจางวด
2.2 จัดทารายงานประจาปี โดยจัดทางบแสดงฐานะการเงิน จัดทางบแสดงผล
การดาเนินงานทางการเงิน งบกระแสเงินสดจัดทาโดยวิธีตรง จัดทาหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินและจัดส่งรายงานประจาปีให ้สพฐ.ผ่านเขตพื้นที่การศึกษาและจัดส่ง
สานักงานตรวจเงินแผ่นดินและกรมบัญชีกลางตามระยะเวลาที่กาหนด
3. การจัดทาและจัดหาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียน และรายงาน มีแนวทางการ
ปฏิบัติพอสังเขปดังนี้
จัดทาและจัดการแบบพิมพ์ทะเบียนและรายงานนั้น โรงเรียนสามารถ
จัดทาและจัดหาแบบพิมพ์ขึ้นเอง ตามแบบที่กระทรวงการคลัง
กาหนด คือ แบบรายงานคงเหลือประจาวันและทะเบียนคุมเงิน
ประเภทต่างๆ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
พรพิมล ก ้อนภูธร (2553) ได ้ทาการวิจัย เรื่องประสิทธิภาพการบริหารการเงิน
การคลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์(GFMIS) ผลการวิจัยพบว่า ความสัมพันธ์
ระหว่างความรู้ความสามารถทางด ้านการเงินและบัญชี และด ้านเทคโนโลยี
สารสนเทศกับประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง โดยเฉลี่ย ด ้านความถูก
ต ้องแม่นยา ด ้านความโปร่งใส ด ้านความประหยัดค่าใช ้จ่าย และด ้านความ
รวดเร็วทันเหตุการณ์ มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ส่วนความสัมพันธ์ระหว่าง
ความรู้ความสามารถทางด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศกับประสิทธิภาพการบริหาร
การเงินการคลัง ด ้านความโปร่งใส และด ้านความประหยัดค่าใช ้จ่ายอยู่ในระดับ
น้อย
การบริหารงานขององค์กร
ความหมายและความสาคัญของการบริหาร
จัดการพัสดุ
ผลสาเร็จของงาน
การบริหารจัดการพัสดุ
ความหมายและความสาคัญของ
การบริหารจัดการพัสดุ
การบริหารจัดการพัสดุ
การ
บริหาร
ทรัพยากร
คน
งาน
พัสดุ
ความหมาย ของใช ้ทั้งปวงของทางราชการที่จาเป็นต ้องมีไว ้
เพื่อให ้สามารถปฏิบัติงานได ้อย่างมีการประสิทธิภาพและบรรลุ
วัตถุประสงค์ที่วางไว ้(เสริมสุข ชลวานิช (2538: 23) , สมนึก พิมล
เสถียร (2543: 5) ,สงวนศรี ปิยางค์สุวรรณ (2537))
ความสาคัญ เป็นปัจจัยสาคัญยิ่งในการบริหารงาน การบริหารงาน
จัดหาพัสดุที่มีประสิทธิภาพ ย่อมส่งผลถึงความสัมฤทธิผลของ
แผนงานโครงการ และในทางกลับกัน แผนงาน โครงการต่าง ๆ จะ
ดาเนินไปไม่ได ้เลย หากไม่มีพัสดุหรือไม่ได ้รับพัสดุที่มีคุณภาพ
ภายในระยะเวลาที่ต ้องการใช ้(เสริมสุข ชลวานิช (2538: 23) ,
สมนึก พิมลเสถียร (2543: 5) ,สงวนศรี ปิยางค์สุวรรณ (2537))
ด ้านบุคลากร
 จัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงานกับหน้าที่ที่มีความเหมาะสม
 ปฏิบัติงานได้ตามความรู้ความสามารถ มีความชานาญงาน ยึด
กฎ ระเบียบ ข้อบังคับฯ
 ผลงานมีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล
 มีความซื่อสัตย์เป็ นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่เอื้อหรือรับ
ผลประโยชน์จากผู้รับจ้าง
การบริหารจัดการพัสดุ
ด ้านทรัพยากร
มีการวางแผนในการใช ้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ไม่ฟุ่ มเฟื่อย
ทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ
ปฏิบัติให ้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข ้อบังคับ มติครม.ฯ
ตรวจรับสิ่งของตามที่ได ้มีการส่งมอบอย่างถูกต ้องและ
ครบถ ้วน ตามเงื่อนไขที่กาหนด เช่น ระยะเวลาของการส่ง
มอบ จานวน/ปริมาณของสินค ้า ตรงตามสเปค
การบริหารจัดการพัสดุ
วงจรบริหารจัดการพัสดุ
การวางแผน / กาหนดโครงการ
กาหนดความต ้องการ
จัดทาคาของบประมาณ / ขอตั้ง
งบประมาณ
วางแผนการจัดหาพัสดุ
ดาเนินการจัดหาตามวิธีการพัสดุ
แจกจ่ายพัสดุ
ควบคุม / บารุงรักษา
หมดความต ้องการ จาหน่ายออก
จากทะเบียน และ ดาเนินการตาม
ระเบียบพัสดุ
การบริหารจัดการพัสดุ
ผู้เกี่ยวข ้องการบริหารจัดการพัสดุ
 หัวหน้าส่วนราชการ
 หัวหน้าเจ ้าหน้าที่พัสดุ
 เจ ้าหน้าที่พัสดุ
 คณะกรรมการต่าง ๆ
- คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา จะเป็นคณะกรรมการ พิจารณาผลไม่ได ้
- คณะกรรมการพิจารณาผล จะเป็น คณะกรรมการตรวจรับพัสดุไม่ได ้
การจัดหาพัสดุ (Procurement) มีความหมายกว ้าง
คลุมไปถึงการเช่า การซ่อม การผลิตขึ้นมาเอง การ
เปลี่ยน โอน และอื่น ๆ ให ้ได ้มาซึ่งพัสดุและอุปกรณ์ที่
ต ้องการใช ้ไม่ได ้หมายถึงการซื้อเพียง อย่างเดียว
การจัดหา จะเริ่มต ้นด ้วยการกาหนดความต ้องการอย่าง
ใดอย่างหนึ่งและยุติลงด ้วยการได ้มาซึ่งความต ้องการ
นั้น หลักการจัดหาที่ดีจะต ้องมีกระบวนการดาเนินการ
และการพิจารณา
การบริหารจัดการพัสดุ
การกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Spec) หรือราคา
กลางการจัดซื้อ
1.ต ้องไม่กีดกันสินค ้าที่ผลิตในประเทศไทย และกิจการ คนไทย
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด ้วยการพัสดุพ.ศ.2535และ
แก ้ไขเพิ่มเติม ตามข ้อ 16
2.ไม่กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะใกล ้เคียงกับ ข ้อใด
ยี่ห ้อหนึ่งเป็นการเฉพาะ และไม่ระบุยี่ห ้อของพัสดุที่ต ้องการซื้อ
3.ไม่นารายละเอียดของพัสดุยี่ห ้อใดยี่ห ้อหนึ่งมาคัดลอก เพื่อเอื้อ
ประโยชน์ให ้กับผู้เสนอราคาเพียงรายเดียว
การบริหารจัดการพัสดุ
สิ่งที่ควร
พิจารณา
การกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะจะต ้องกาหนดใน
ลักษณะกลาง ๆ และมีผู้เข ้ามาเสนอราคาได ้มากกว่า 2-3 ราย
ขึ้นไป เพื่อให ้เกิดการแข่งขัน
กาหนดราคากลางจะต ้องไม่สูงกว่าราคาในท ้องตลาดตาม
สภาพข ้อเท็จจริงที่ปรากฏ โดยแสดงรายละเอียดให ้ชัดเจน
การบริหารจัดการพัสดุ
คุณสมบัติผู้เสนอราคา
1.ผู้เสนอราคาต้องเป็นผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้าง
2.ผู้เสนอราคา ( ตาม มติคณะรัฐมนตรี กาหนดว่าด้วยงานจ้างก่อสร้างที่มีวงเงินตั้งแต่
1 ล้านบาทขึ้นไปจะต้องเป็นนิติบุคคล )
3.ผลงานของผู้เสนอราคา ให้อยู่ในดุลยพินิจของส่วนราชการที่จะกาหนดได้ตาม
เหตุผลและความจาเป็น คือ กาหนดได้ไม่เกิน 50% ของวงเงินงบประมาณที่จะใช้ใน
การดาเนินการครั้งนั้น
4.ไม่เป็นผู้ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานของทางราชการ
5.ต้องไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้เสนอราคารายอื่น
6.ผู้เสนอราคาต้องไม่เป็นผู้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน
การบริหารจัดการพัสดุ
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา มีหน้าที่
1. ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา
2. พิจารณาคัดเลือกสิ่งของหรืองานจ ้าง
3. รายงานผลการพิจารณาและความเห็น
4. ในกรณีที่มีผู้เสนอราคาเพียงรายเดียว
5. ในกรณีที่ไม่มีผู้เสนอราคา
การบริหารจัดการพัสดุ
การบริหารจัดการพัสดุ
อานาจในการอนุมัติ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
1.อานาจดาเนินการ ให ้ความเห็นชอบในการซื้อหรือจ ้าง มิได ้นาวงเงินที่จะใช ้ใน
การจัดจ ้างหรือวิธีการมาเป็นตัวกาหนด
2.อานาจสั่งซื้อสั่งจ ้าง ตามระเบียบพัสดุข ้อ 65 ให ้เป็นอานาจของผู้ดารงตาแหน่ง
และภายในวงเงิน
3.อานาจลงนามในสัญญา ตามระเบียบพัสดุข ้อ 132 การลงนามในสัญญาเป็น
อานาจของหัวหน้าส่วนราชการเท่านั้น แบบของสัญญาให ้เป็น ไปตามที่
คณะกรรมการว่าด ้วยการพัสดุ(กวพ.)
วัชรี แสนสิงห์ชัย (2541) ได ้ทาการศึกษาเรื่อง การ
บริหารพัสดุของสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษาใน
จังหวัดเชียงราย พบว่า การบริหารพัสดุของสถานศึกษา
สังกัดกรมอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงราย มีการจัดระบบการ
บริหารพัสดุ การจัดหา ใช ้วิธีการที่กาหนดไว ้ในระเบียบ
สานักนายกรัฐมนตรีว่าด ้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 โดย
คานึงถึงงบประมาณ การแจกจ่ายพัสดุพิจารณาจาก
แผนงานและโครงการของสถานศึกษา การควบคุมพัสดุมี
การควบคุมจัดหาและมีการควบคุมบัญชีการบารุงรักษาพัสดุ
โดยการกาหนดบุคลากรรับผิดชอบ การจาหน่ายพัสดุใช ้
การจาหน่ายโดยการขายมากที่สุด
กฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข ้อง
1.ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลัง
พ.ศ. 2551
2.คู่มือแนวปฏิบัติทางบัญชีตามเกณฑ์คงค ้างสาหรับหน่วยงานภาครัฐ
พ.ศ. 2546
3.หลักการนโยบายบัญชีสาหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2
4. กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ข ้อบังคับ คาสั่ง ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
5. ระเบียบว่าด ้วยการบริหารงบประมาณ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2555
6. หลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ (ฉบับปรับปรุง)
5. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด ้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก ้ไขเพิ่มเติม
เอกสารอ้างอิง
1.คู่มือการปฏิบัติงานข ้าราชการครู กระทรวงศึกษาธิการ (2552)
2.คู่มือการปฏิบัติงานการเงินและการบันทึกรายการควบคุมเงินของสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นการศึกษาเชียงราย เขต 1 (2553)
3.คู่มือการปฏิบัติงานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กลุ่มบริหารการเงินและสินทรัพย์
กระทรวงศึกษาธิการ(2554)
4.คู่มือการปฏิบัติงานการคลังและสินทรัพย์ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
(2554)

More Related Content

What's hot

แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมNutsara Mukda
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
นราพร ผิวขำ
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
 
4 160303102036-161109130549
4 160303102036-1611091305494 160303102036-161109130549
4 160303102036-161109130549
TuochKhim
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
Drsek Sai
 
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญแบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
Pitchayaporn Sukrarassamee
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
Jirathorn Buenglee
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
Wichai Likitponrak
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1watdang
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนIct Krutao
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
TupPee Zhouyongfang
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
wisheskerdsilp
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
niralai
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คAttaporn Ninsuwan
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
Sunisa Khaisaeng
 

What's hot (20)

แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
4 160303102036-161109130549
4 160303102036-1611091305494 160303102036-161109130549
4 160303102036-161109130549
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญแบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 

More from Jaturapad Pratoom

ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ขประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
Jaturapad Pratoom
 
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
Jaturapad Pratoom
 
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
Jaturapad Pratoom
 
เอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเองเอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเอง
Jaturapad Pratoom
 
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
Jaturapad Pratoom
 
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
Jaturapad Pratoom
 
Roiet Technology Innovator
Roiet Technology InnovatorRoiet Technology Innovator
Roiet Technology Innovator
Jaturapad Pratoom
 
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
Jaturapad Pratoom
 
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดินจตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
Jaturapad Pratoom
 
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
Jaturapad Pratoom
 
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอนใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
Jaturapad Pratoom
 
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
Jaturapad Pratoom
 
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
Jaturapad Pratoom
 
Thailand Innovative Teachers 2014 - Guide
Thailand Innovative Teachers 2014 - GuideThailand Innovative Teachers 2014 - Guide
Thailand Innovative Teachers 2014 - Guide
Jaturapad Pratoom
 
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ขประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
Jaturapad Pratoom
 
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
Jaturapad Pratoom
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
Jaturapad Pratoom
 
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชารายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
Jaturapad Pratoom
 
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษารายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
Jaturapad Pratoom
 
งานวิทยานิพนธ์ 2551
งานวิทยานิพนธ์ 2551งานวิทยานิพนธ์ 2551
งานวิทยานิพนธ์ 2551
Jaturapad Pratoom
 

More from Jaturapad Pratoom (20)

ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ขประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘) - เล่ม ๑๓๓ ตอนที่ ๑๔ ข
 
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
 
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
การลงกิจกรรมชุมนุม online-Patwit Club Online
 
เอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเองเอกสารแนะนำตนเอง
เอกสารแนะนำตนเอง
 
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
ว19/2557 หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคล-ดำรงตำแหน่ง รอง ผอ. และ ผอ. (สพฐ)
 
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
ครูจตุรภัทร ประทุม ได้รับรางวัล Bronze โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
 
Roiet Technology Innovator
Roiet Technology InnovatorRoiet Technology Innovator
Roiet Technology Innovator
 
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้เข้าประกวด โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนฯ
 
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดินจตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
จตุรภัทร ประทุม - ถวายสัตย์ปฎิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน
 
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
 
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอนใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
ใบสมัครการส่งผลงาน เกมการศึกษาประกอบการเรียนการสอน
 
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
 
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
 
Thailand Innovative Teachers 2014 - Guide
Thailand Innovative Teachers 2014 - GuideThailand Innovative Teachers 2014 - Guide
Thailand Innovative Teachers 2014 - Guide
 
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ขประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ ๘ ๑) - เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๔ ข
 
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง  ...
บทความวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ...
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
 
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชารายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
รายงานเรื่อง พลังอำนาจและการบังคับบัญชา
 
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษารายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
รายงานเรื่อง บทบาทของผู้บริหารการศึกษา
 
งานวิทยานิพนธ์ 2551
งานวิทยานิพนธ์ 2551งานวิทยานิพนธ์ 2551
งานวิทยานิพนธ์ 2551
 

รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ

  • 1. การบริหารงานการเงิน บัญชีและพัสดุ นายจิระวัฒน์ วังกะ 56990032 นางสาวสวนีย์ ภิรมย์ไกรภักดิ์ 56990054
  • 2. ความหมายของการบริหารงานการเงิน นิพนธ์ กินาวงศ์ (2526 : 3) กล่าวว่า การบริหารการเงิน หมายถึง การร่วมมือกัน ทางานของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน พนัส หันนาคินทร์ (2529 : 5) กล่าวว่า การบริหารการเงิน หมายถึง ขบวนการที่ ผู้ดาเนินการใช ้อานาจ ตลอดจนทรัพยากรต่างๆ เช่น คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ หรือ คาดหวังว่าจะมีการจัดการดาเนินการของหน่วยงานนั้นๆให ้ไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว ้ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2526 : 307)ได ้กล่าวว่า งานการเงินหมายถึง งาน ที่เกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนาเงินส่ง และการตรวจสอบ การเงินทุกประเภทของส่วนราชการตามวิธีการที่กฎหมายและระเบียบแบบแผนของ ทางราชการ
  • 3. กระทรวงศึกษาธิการ (2554 : 1) กล่าวว่า การดาเนินงานเกี่ยวกับการบริหารการเงิน ประกอบด ้วย การเบิกเงิน การจ่ายเงิน การยืมเงิน การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การนาเงินส่งคลัง และการกันเงิน การ บริหารงาน การเงิน การเบิก เงินจาก คลัง การรับเงิน การเก็บ รักษาเงิน การ จ่ายเงิน การยืมเงิน การนาเงิน ส่งคลัง การกันเงิน เหลื่อมปี
  • 4. การบริหารจัดการเกี่ยวกับการเงิน 1. ประเภทงบประมาณ 2. การเบิกเงินจากคลัง 3. การรับเงิน 4. การเก็บรักษาเงิน 5. การจ่ายเงิน 6. การยืมคลัง 7. การนาเงินส่งคลัง 8. การกันเงินเหลื่อมปี
  • 5. 1.ประเภทงบประมาณ เงินในงบประมาณ หมายถึง เงินที่ส่วนราชการได ้รับตาม พระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่าย ประจาปี หรือเบิกจ่ายใน รายจ่ายงบกลาง รายจ่ายตามงบประมาณ จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) เงิน งบประมาณรายจ่ายของ ส่วนราชการและ รัฐวิสาหกิจ 2) รายจ่าย งบกลาง เงินนอกงบประมาณ หมายถึง เงินที่ กฎหมายกาหนดไม่ ต ้องนาส่งเป็นเงิน รายได ้แผ่นดิน หรือ เงินที่ได ้รับอนุญาตให ้ เก็บไว ้ใช ้จ่ายได ้ตาม พระราชบัญญัติ วิธีการ งบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24 เงินรายได ้แผ่นดิน หมายถึง เงินรายได ้แผ่นดิน หมายถึง เงินที่ส่วน ราชการได ้รับไว ้เป็น กรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบและไม่มีกฎหมาย อื่นใดกาหนดให ้ส่วน ราชการเก็บไว ้เช่น เงิน อุดหนุนทั่วไปที่เหลือจ่าย เกิน 2 ปีงบประมาณ ชลาลักษณ์ เสาร์สุวรรณ์ : คู่มือปฏิบัติงานการเงิน ,3-7)
  • 6. 2.การเบิกเงินจากคลัง สถานที่เบิกเงินส่วนราชการในส่วนกลางให ้เบิกเงินกับกรมบัญชีกลาง ส่วนราชการในภูมิภาคให ้เบิกเงินกับสานักงานคลังจังหวัดหน่วยงานสังกัด ส่วนกลางแต่มีสานักงานอยู่ในภูมิภาค จะเบิกเงินกับสานักงานคลังจังหวัดก็ได ้ ในกรณีจาเป็นเจ ้าของงบประมาณจะขอทาความตกลงกับกระทรวงการคลัง ขอปฏิบัติเป็นอย่างอื่นก็ได ้ 2.1 ผู้เบิกเงิน ให ้หัวหน้าส่วนราชการเป็นผู้เบิกหรือแต่งตั้งหรือมอบหมายให ้หัวหน้าหน่วย/ ข ้าราชการผู้ดารงตาแหน่งระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นแทน
  • 7. 2.2 วิธีการเบิกเงิน การเบิกเงินกับกรมบัญชีกลางหรือสานักงานคลังจังหวัด ให ้กระทาได ้ เฉพาะเงินภายในงวดประจางวดที่ได ้รับอนุมัติให ้เบิกกับกรมบัญชีกลาง หรือสานักงานคลังจังหวัด แล ้วแต่กรณียกเว ้นเงินงบประมาณรายจ่าย และเงินงบกลาง รายการดังนี้ 1) เงินเดือนและค่าจ ้างประจาเฉพาะกรณีขอเบิกกับสานักงานคลัง จังหวัด 2) เงินงบกลาง คือเงินเบี้ยหวัด บาเหน็จบานาญ เงินช่วยเหลือ ข ้าราชการ ลูกจ ้างและพนักงานของรัฐ เงินสารอง เงินสมทบและเงิน ชดเชยของข ้าราชการ เงินสมทบลูกจ ้าง และค่าใช ้จ่ายในการ รักษาพยาบาลข ้าราชการลูกจ ้างและพนักงานของรัฐ การเบิกเงินให ้ เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลัง
  • 8. 3.การรับเงิน ให้ถือวิธีการปฏิบัติการรับเงิน ในการ ดาเนินการดังนี้ 3.1 ให ้รับเป็นเงินสด การรับเงินเป็นเช็ค หรือดร๊าฟท์ หรือสารอย่างอื่นให ้ปฏิบัติ ตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกาหนดว่าด ้วยการนั้น 3.2 ให ้ออกใบเสร็จชาระเงินแก่ผู้ชาระเงินทุกครั้ง ยกเว ้นการรับเงิน งบประมาณ จากคลัง ให ้ใช ้ฎีกาเป็นหลักฐานในการรับเงิน 3.3 ให ้ใช ้ใบเสร็จรับเงิน ตามแบบที่กระทรวงการคลังกาหนด หรือตามแบบที่ ได ้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง 3.4 ให ้บันทึกเงินที่ได ้รับในบัญชีเงินสด หรือบัญชีเงินฝากธนาคารแล ้วแต่กรณี ภายในวันที่ไดรับเงินนั้น โดยให ้แสดงให ้ทราบว่าได ้รับเงินตามฎีกาหรือ ใบเสร็จรับเงินเล่มใด เลขที่ใด และจานวนเงินเท่าใด
  • 9. 3.5 ในกรณีที่มีการรับเงินภายหลังกาหนดเวลาปิดบัญชี สาหรับวันนั้นแล ้วก็ให ้บันทึกการรับเงินนั้นในบัญชีเงิน สดหรือบัญชีเงินฝากธนาคารในวันทาการต่อไป 3.6 เงินประเภทใด มีใบเสร็จรับเงินวันหนึ่งหลายฉบับจะ รวมเงินรับประเภทนั้นๆตามสาเนาใบเสร็จรับเงินทุก ฉบับมาบันทึกในบัญชีรายการเดียวก็ได ้ โดยให ้แสดง ให ้ทราบว่าเป็นเงินรับตามใบเสร็จเลขที่ใดถึงเลขที่ใด จานวนเงินรับรวมทั้งสิ้นเท่าใด ไว ้ด ้านหลังสาเนา ใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท ้าย
  • 10. 3.7 เมื่อสิ้นเวลารับเงินให ้ผู้มีหน้าที่รับชาระเงินนาเงินที่ได ้รับพร ้อม กับสาเนาใบเสร็จรับเงินที่ออกในวันนั้นทั้งหมด ส่งต่อเจ ้าหน้าที่ การเงินของสถานศึกษา 3.8 ให ้สถานศึกษาจัดให ้มีการตรวจสอบจานวนเงินมีเจ ้าหน้าที่ จัดเก็บและนาส่งกับหลักฐานและรายการที่บันทึกไว ้ในบัญชีเงิน สดหรอบัญชีเงินฝากธนาคารว่าถูกต ้องครบถ ้วนหรือไม่ หาก ตรวจสอบแล ้วปรากฎว่าถูกต ้องก็ให ้ผู้ตรวจสอบแสดงยอดรวม เงินทั้งสิ้นตามใบเสร็จรับเงินทุกฉบับที่ได ้รับในวันนั้น ในสาเนา ใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท ้ายและลงลายมือชื่อกากับไว ้ด ้วย
  • 11. 4. การเก็บรักษาเงิน กระทรวงการคลังวางแนวทางปฏิบัติการเก็บ รับเงิน โดยให ้สถานศึกษาดาเนินการดังนี้ 4.1 ให ้สถานศึกษาจัดให ้มีตู้นิรภัยสาหรับการเก็บรักษาเงินของ สถานศึกษา โดยให ้ตั้งไว ้ในที่ปลอดภัยภายในสถานศึกษา 4.2 ให ้เจ ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบทารายงานคงเหลือประจาวันตามแบบที่ กระทรวงการคลังกาหนด หากวันใดไม่มีการรับจ่ายเงิน จะไม่ทารายงาน เงินคงเหลือประจาวันสาหรับวันนั้นก็ได ้แต่ให ้หมายเหตุในรายงานเงิน คงเหลือประจาวันที่มีการรับจ่ายเงินถัดไปให ้ทราบด ้วย 4.3 แต่งตั้งผู้รับผิดชอบอย่างน้อย 3 คน ทาหน้าที่เป็นกรรมการเก็บรักษา เงินของสถานศึกษา
  • 12. 5. การจ่ายเงิน หมายถึง เงินงบประมาณรายจ่ายปีใด ปีงบประมาณใด ส่วน ราชการผู้ใช ้เงินงบประมาณจะเบิกจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตามงบประมาณ รายจ่ายได ้เฉพาะปีงบประมาณนั้น ให ้ดาเนินการดังนี้ 5.1 การจ่ายเงินจะจ่ายได ้เฉพาะที่มีกฎหมาย ระเบียบ ข ้อบังคับอนุญาตให ้ จ่ายได ้หรือตามที่ได ้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังหรือตามวัตถุประสงค์ ของเงินประเภทนั้นๆและผู้มีอานาจอนุมัติให ้จ่ายได ้ 5.2 ให ้ผู้อานวยการสถานศึกษา หรือครูใหญ่ หรือผู้ที่รับมอบหมาย เป็นผู้ มีอานาจอนุมัติการจ่ายเงิน โดยลงลายมือชื่ออนุมัติในหลักฐานการจ่ายทุก ฉบับ หรือในงบหน้า หลักฐานการจ่ายก็ได ้
  • 13. 5.3 การจ่ายเงินให ้จ่ายเป็นเช็ค การจ่ายเงินเดือน และค่าจ ้างให ้จ่ายโดยวิธีโอน เงินเข ้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้มีสิทธิ ส่วนการจ่ายเงินสดให ้กระทาได ้ใน กรณีจ่ายเงินให ้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากรทางการศึกษา ลูกจ ้าง หรือ ผู้รับบานาญ สาหรับการจ่ายที่มีวงเงินไม่เกินครั้งละ 2,000 บาท 5.4 การจ่ายเงิน ต ้องมีหลักฐานการจ่ายไว ้เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ และห ้ามมิให ้ผู้มีหน้าที่จ่ายเงินเรียกหลักฐานการจ่ายหรือให ้ผู้รับเงินสดลง ลายมือชื่อรับรองในหลักฐานการจ่ายเงิน โดยที่ยังมิได ้มีการจ่ายเงินให ้ เจ ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงิน
  • 14. 5.5 หลักฐานการจ่ายเป็นไปตามที่กระทรวงการคลังกาหนด 5.6 ให ้บันทึกการจ่ายเงินให ้แก่ผู้รับเงินทุกรายการไว ้ในบัญชีเงินสดหรือ บัญชีเงินฝากธนาคารแล ้วแต่กรณีในวันที่จ่ายเงินนั้น 5.7 เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงิน ให ้สถานศึกษาจัดให ้มีการตรวจสอบรายการ จ่ายเงินที่บันทึกไว ้ในบัญชีเงินสดหรือบัญชีเงินฝากธนาคารกับหลักฐาน การจ่ายในวันนั้นหาก ปรากฏว่า ถูกต ้องให ้ผู้ตรวจสอบลงลายมือชื่อกากับ ยอดเงินคงเหลือในบัญชีนั้น
  • 15. 6. การยืมเงิน ให ้สถานศึกษาดาเนินการดังนี้ 6.1 การจ่ายเงินยืมจะจ่ายได ้แต่เฉพาะที่ผู้ยืมได ้ทาสัญญาการยืมตามแบบที่ กระทรวงการคลังกาหนด และผู้มีอานาจได ้อนุมัติให ้จ่ายเงินยืมตามสัญญา การยืมเงินนั้นแล ้วเท่านั้น 6.2 ให ้ผู้มีอานาจพิจารณาอนุมัติให ้ยืม เฉพาะเท่าที่จาเป็นเพื่อใช ้ใน ราชการและห ้ามมิให ้อนุมัติให ้ยืมเงินรายใหม่ในเอผู้ยืมมิได ้ชาระเงินยืมราย เก่าให ้เสร็จสิ้นไปก่อน 6.3ให ้มีการตรวจสอบสัญญายืมเงิน และติดตามให ้ผู้ยืมส่งใช ้เงินยืม ภายในเวลาที่กาหนด หรือเรียกชดใช ้เงินยืมตามเงื่อนไขในใบยืมให ้เสร็จสิ้น ไปโดยเร็ว อย่างช ้าไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันครบกาหนด
  • 16. 6.4 ให ้เก็บรักษาสัญญาการยืมเงิน ซึ่งยังมิได ้ชาระคืนเงินยืม ให ้เสร็จสิ้นใน วันที่ปลอดภัยอย่าให ้สูญหายได ้และเมื่อผู้ยืมได ้ชาระคืนเงินยืมเสร็จสิ้นแล ้ว ก็ให ้เก็บเช่นเดียวกับหลักฐานการจ่าย 7. การนาส่งเงิน หมายถึง การนาเงินทั้งปวงชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ ทีโรงเรียน ได ้รับนาส่ง โดยโรงเรียนไม่สามารถนาเงินนั้นไปใช ้จ่ายได ้ทั้งที่เป็นเงินสดและ/เช็ค ให ้นาส่งหรือนาฝากคลังภายในกาหนด 8. การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ส่วนราชการใดได ้ก่อหนี้ผูกพันไว ้ก่อนสิ้น ปีงบประมาณ โดยสั่งซื้อ สั่งจ ้าง หรือการเช่าทรัพย์สินครั้งหนึ่งรายหนึ่งเป็นเงินตั้งแต่ ห ้าหมื่นบาทขึ้นไป ถ ้าเห็นว่าการเบิกเงินไปชาระหนี้ผูกพันนั้นไม่ทันสิ้นปี ก็ให ้ขอกัน เงินไว ้เบิกเหลื่อมปีได ้อีกหกเดือนปฏิทินนับจากวันสิ้นปีหรือภายในระยะเวลาที่ได ้รับ ความตกลงกับกระทรวงการคลัง
  • 17. ในกรณีที่ไม่ได ้ก่อหนี้ผูกพัน แต่มีความจาเป็นจะต ้องจ่ายเงินนั้นต่อไปอีกให ้ กระรวงเจ ้าสังกัดทาความตกลงกับกระทรวงการคลัง เมื่อได ้รับอนุมัติจาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแล ้วก็ขอให ้เบิกเหลื่อมปีตามวรรคแรกได ้ การขอกันเงินไว ้เบิกเหลื่อมปีให ้ส่วนราชการผู้เบิกยื่นใบขอกันเงินตามแบบ และวิธีการที่กระทรวงการคลังกาหนดต่อกรมบัญชีกลาง หรือสานักคลังจังหวัด แล ้วแต่กรณี ก่อนสิ้นปีอย่างน้อยสามสิบวัน เว ้นแต่จะมีเหตุผลสมควร และอธิบดี กรมบัญชีกลาง หรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมบัญชีกลางมอบหมาย สาหรับส่วนกลาง และผู้ว่า ราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย สาหรับส่วนภูมิภาคให ้ขยายเวลา ยื่นขอกันเงินได ้เป็นพิเศษ แต่ทั้งนี้จะต ้องไม่เกินวันทาการสุดท ้ายของปีนั้น
  • 18. ความหมายของการบริหารการบัญชี จิราวรรณ คงคล ้าย (ม.ป.ป : 124) กล่าวว่า การบัญชี หมายถึง การบันทึกรายการ เงิน ทั้งในด ้านรายรับ รายจ่าย ตลอดจนการโอนบัญชี การแยก ประเภท การสรุปผล และแปลความหมายของข ้อมูลดังกล่าว ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญยิ่งส่วนหนึ่งในการ บริหารการเงินขององค์กร สานักการปฏิรูปการศึกษา (2544 : 5) ได ้กล่าวถึงหลักการบัญชีว่า หมายถึง แนวปฏิบัติในการรวบรวม จดบันทึก จาแนก สรุปผล และรายงานเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ การเงินของสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2546 : 47-48) ได ้กล่าวถึง การบริหารการบัญชีว่า มีขอบข่าย ภารกิจ ประกอบด ้วย การจัดทาบัญชีการเงิน การจัดทารายงานทางการเงิน การจัดทา และจัดหาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียน และรายงาน
  • 20. 1.1 ตั้งยอดบัญชีระหว่างปีงบประมาณทั้งการตั้งยอดภายหลังการปิดบัญชี งบประมาณปีก่อนและการตั้งยอดก่อนปิดบัญชีงบประมาณปีก่อน 1.2 จัดทากระดาษทาการ โดยปรับปรุงบัญชีเงินงบประมาณ เมื่อสิ้น ปีงบประมาณ โดยปรับรายการบัญชีรายได ้จากงบประมาณค ้างรับ ค่าใช ้จ่ายค ้าง จ่าย/รับที่ได ้รับล่วงหน้า ค่าใช ้จ่ายล่วงหน้า/รายได ้ค ้างรับ วัสดุหรือสินค ้าที่ใช ้ ไประหว่างงวดบัญชี พร ้อมทั้งจัดทาใบสาคัญการลงบัญชีทั่วไปโดยใช ้ จานวนเงินตามรายการหลังการปรับปรุง 1.3 บันทึกเปิดบัญชีคงค ้าง (พึงรับพึงจ่าย) โดยบันทึกรายการด ้านเดบิตใน บัญชีแยกประเภท(สินทรัพย์และค่าใช ้จ่าย) และบันทึกรายการด ้านเดบิตในบัญชี แยกประเภท(หนี้สิน ทุน รายได ้) 1.การจัดทาบัญชีการเงิน มีแนวทางการปฏิบัติพอสังเขปดังนี้
  • 21. 1.4 บันทึกบัญชีประจาวัน ให ้ครอบคลุมการรับเงินทุกงบประมาณ 1.5 สรุปรายการบันทึกบัญชีทุกวันทาการ สรุปรายการรับหรือจ่ายเงินผ่านไป บัญชีแยกประเภทเงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินฝากคลัง สมุดรายงานทั่วไปให ้ ผ่านรายการเข ้าบัญชีแยกประเภท ณ วันทาการสุดท ้ายของเดือน 1.6 ปิดบัญชีรายได ้และค่าใช ้จ่ายเพื่อบันทึกบัญชีรายได ้สูงกว่า(ต่ากว่า) ค่าใช ้จ่ายใน งวดบัญชี และปิดรายการได ้สูง(ต่า)กว่าค่าใช ้จ่ายงวดบัญชี เข ้าบัญชีรายได ้สูง(ต่า)กว่า ใช ้ จ่ายสะสมแล ้วโอนบัญชีรายได ้แผ่นดินนาส่งคลัง เข ้าบัญชีรายได ้แผ่นดิน หากยอดเงิน คงเหลือให ้โอนเข ้าบัญชีรายได ้แผ่นดินรอนาส่งคลัง 1.7 ตรวจสอบความถูกต ้องของตัวเงินสดและเงินฝากธนาคารตามรายงาน คงเหลือ ประจาวัน และงบพิสูจน์ยอดฝากธนาคาร ตลอดจนตรวจสอบความถูกต ้องของบัญชี แยกประเภททั่วไปและการตรวจสอบความถูกต ้องของบัญชีย่อยและทะเบียน
  • 22. 1.8 แก ้ไขข ้อผิดพลาดจากการบันทึกรายการผิดบัญชี จากการเขียนข ้อความ ผิดหรือตัวเลขผิดจากการบันทึกตัวเลขผิดช่อง บัญชีย่อยแต่ยอดรวมถูก โดยการ ขีดฆ่าข ้อความหรือตัวเลขผิด ลงลายมือชื่อย่อกากับพร ้อมวันเดือนปีแล ้วเขียน ข ้อความหรือตัวเลขที่ถูกต ้อง 2. การจัดทารายงานการเงินและงบการเงิน มีแนวทางการปฏิบัติพอสังเขปดังนี้ 2.1 จัดทารายงานประจาเดือนส่งหน่วยงานต ้นสังกัด สานักงานตรวจเงิน แผ่นดินและกรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยจัดทารายงาน รายได ้แผ่นดิน รายงานรายได ้และค่าใช ้จ่าย รายงานเงินประจางวด 2.2 จัดทารายงานประจาปี โดยจัดทางบแสดงฐานะการเงิน จัดทางบแสดงผล การดาเนินงานทางการเงิน งบกระแสเงินสดจัดทาโดยวิธีตรง จัดทาหมายเหตุ ประกอบงบการเงินและจัดส่งรายงานประจาปีให ้สพฐ.ผ่านเขตพื้นที่การศึกษาและจัดส่ง สานักงานตรวจเงินแผ่นดินและกรมบัญชีกลางตามระยะเวลาที่กาหนด
  • 23. 3. การจัดทาและจัดหาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียน และรายงาน มีแนวทางการ ปฏิบัติพอสังเขปดังนี้ จัดทาและจัดการแบบพิมพ์ทะเบียนและรายงานนั้น โรงเรียนสามารถ จัดทาและจัดหาแบบพิมพ์ขึ้นเอง ตามแบบที่กระทรวงการคลัง กาหนด คือ แบบรายงานคงเหลือประจาวันและทะเบียนคุมเงิน ประเภทต่างๆ
  • 24. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พรพิมล ก ้อนภูธร (2553) ได ้ทาการวิจัย เรื่องประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์(GFMIS) ผลการวิจัยพบว่า ความสัมพันธ์ ระหว่างความรู้ความสามารถทางด ้านการเงินและบัญชี และด ้านเทคโนโลยี สารสนเทศกับประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง โดยเฉลี่ย ด ้านความถูก ต ้องแม่นยา ด ้านความโปร่งใส ด ้านความประหยัดค่าใช ้จ่าย และด ้านความ รวดเร็วทันเหตุการณ์ มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ส่วนความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ความสามารถทางด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศกับประสิทธิภาพการบริหาร การเงินการคลัง ด ้านความโปร่งใส และด ้านความประหยัดค่าใช ้จ่ายอยู่ในระดับ น้อย
  • 27. ความหมาย ของใช ้ทั้งปวงของทางราชการที่จาเป็นต ้องมีไว ้ เพื่อให ้สามารถปฏิบัติงานได ้อย่างมีการประสิทธิภาพและบรรลุ วัตถุประสงค์ที่วางไว ้(เสริมสุข ชลวานิช (2538: 23) , สมนึก พิมล เสถียร (2543: 5) ,สงวนศรี ปิยางค์สุวรรณ (2537)) ความสาคัญ เป็นปัจจัยสาคัญยิ่งในการบริหารงาน การบริหารงาน จัดหาพัสดุที่มีประสิทธิภาพ ย่อมส่งผลถึงความสัมฤทธิผลของ แผนงานโครงการ และในทางกลับกัน แผนงาน โครงการต่าง ๆ จะ ดาเนินไปไม่ได ้เลย หากไม่มีพัสดุหรือไม่ได ้รับพัสดุที่มีคุณภาพ ภายในระยะเวลาที่ต ้องการใช ้(เสริมสุข ชลวานิช (2538: 23) , สมนึก พิมลเสถียร (2543: 5) ,สงวนศรี ปิยางค์สุวรรณ (2537))
  • 28. ด ้านบุคลากร  จัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงานกับหน้าที่ที่มีความเหมาะสม  ปฏิบัติงานได้ตามความรู้ความสามารถ มีความชานาญงาน ยึด กฎ ระเบียบ ข้อบังคับฯ  ผลงานมีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล  มีความซื่อสัตย์เป็ นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่เอื้อหรือรับ ผลประโยชน์จากผู้รับจ้าง การบริหารจัดการพัสดุ
  • 29. ด ้านทรัพยากร มีการวางแผนในการใช ้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ไม่ฟุ่ มเฟื่อย ทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ ปฏิบัติให ้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข ้อบังคับ มติครม.ฯ ตรวจรับสิ่งของตามที่ได ้มีการส่งมอบอย่างถูกต ้องและ ครบถ ้วน ตามเงื่อนไขที่กาหนด เช่น ระยะเวลาของการส่ง มอบ จานวน/ปริมาณของสินค ้า ตรงตามสเปค การบริหารจัดการพัสดุ
  • 30. วงจรบริหารจัดการพัสดุ การวางแผน / กาหนดโครงการ กาหนดความต ้องการ จัดทาคาของบประมาณ / ขอตั้ง งบประมาณ วางแผนการจัดหาพัสดุ ดาเนินการจัดหาตามวิธีการพัสดุ แจกจ่ายพัสดุ ควบคุม / บารุงรักษา หมดความต ้องการ จาหน่ายออก จากทะเบียน และ ดาเนินการตาม ระเบียบพัสดุ การบริหารจัดการพัสดุ
  • 31. ผู้เกี่ยวข ้องการบริหารจัดการพัสดุ  หัวหน้าส่วนราชการ  หัวหน้าเจ ้าหน้าที่พัสดุ  เจ ้าหน้าที่พัสดุ  คณะกรรมการต่าง ๆ - คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา จะเป็นคณะกรรมการ พิจารณาผลไม่ได ้ - คณะกรรมการพิจารณาผล จะเป็น คณะกรรมการตรวจรับพัสดุไม่ได ้
  • 32. การจัดหาพัสดุ (Procurement) มีความหมายกว ้าง คลุมไปถึงการเช่า การซ่อม การผลิตขึ้นมาเอง การ เปลี่ยน โอน และอื่น ๆ ให ้ได ้มาซึ่งพัสดุและอุปกรณ์ที่ ต ้องการใช ้ไม่ได ้หมายถึงการซื้อเพียง อย่างเดียว การจัดหา จะเริ่มต ้นด ้วยการกาหนดความต ้องการอย่าง ใดอย่างหนึ่งและยุติลงด ้วยการได ้มาซึ่งความต ้องการ นั้น หลักการจัดหาที่ดีจะต ้องมีกระบวนการดาเนินการ และการพิจารณา การบริหารจัดการพัสดุ
  • 33. การกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Spec) หรือราคา กลางการจัดซื้อ 1.ต ้องไม่กีดกันสินค ้าที่ผลิตในประเทศไทย และกิจการ คนไทย ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด ้วยการพัสดุพ.ศ.2535และ แก ้ไขเพิ่มเติม ตามข ้อ 16 2.ไม่กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะใกล ้เคียงกับ ข ้อใด ยี่ห ้อหนึ่งเป็นการเฉพาะ และไม่ระบุยี่ห ้อของพัสดุที่ต ้องการซื้อ 3.ไม่นารายละเอียดของพัสดุยี่ห ้อใดยี่ห ้อหนึ่งมาคัดลอก เพื่อเอื้อ ประโยชน์ให ้กับผู้เสนอราคาเพียงรายเดียว การบริหารจัดการพัสดุ
  • 34. สิ่งที่ควร พิจารณา การกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะจะต ้องกาหนดใน ลักษณะกลาง ๆ และมีผู้เข ้ามาเสนอราคาได ้มากกว่า 2-3 ราย ขึ้นไป เพื่อให ้เกิดการแข่งขัน กาหนดราคากลางจะต ้องไม่สูงกว่าราคาในท ้องตลาดตาม สภาพข ้อเท็จจริงที่ปรากฏ โดยแสดงรายละเอียดให ้ชัดเจน การบริหารจัดการพัสดุ
  • 35. คุณสมบัติผู้เสนอราคา 1.ผู้เสนอราคาต้องเป็นผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้าง 2.ผู้เสนอราคา ( ตาม มติคณะรัฐมนตรี กาหนดว่าด้วยงานจ้างก่อสร้างที่มีวงเงินตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไปจะต้องเป็นนิติบุคคล ) 3.ผลงานของผู้เสนอราคา ให้อยู่ในดุลยพินิจของส่วนราชการที่จะกาหนดได้ตาม เหตุผลและความจาเป็น คือ กาหนดได้ไม่เกิน 50% ของวงเงินงบประมาณที่จะใช้ใน การดาเนินการครั้งนั้น 4.ไม่เป็นผู้ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานของทางราชการ 5.ต้องไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้เสนอราคารายอื่น 6.ผู้เสนอราคาต้องไม่เป็นผู้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน การบริหารจัดการพัสดุ
  • 36. คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา มีหน้าที่ 1. ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา 2. พิจารณาคัดเลือกสิ่งของหรืองานจ ้าง 3. รายงานผลการพิจารณาและความเห็น 4. ในกรณีที่มีผู้เสนอราคาเพียงรายเดียว 5. ในกรณีที่ไม่มีผู้เสนอราคา การบริหารจัดการพัสดุ
  • 37. การบริหารจัดการพัสดุ อานาจในการอนุมัติ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท 1.อานาจดาเนินการ ให ้ความเห็นชอบในการซื้อหรือจ ้าง มิได ้นาวงเงินที่จะใช ้ใน การจัดจ ้างหรือวิธีการมาเป็นตัวกาหนด 2.อานาจสั่งซื้อสั่งจ ้าง ตามระเบียบพัสดุข ้อ 65 ให ้เป็นอานาจของผู้ดารงตาแหน่ง และภายในวงเงิน 3.อานาจลงนามในสัญญา ตามระเบียบพัสดุข ้อ 132 การลงนามในสัญญาเป็น อานาจของหัวหน้าส่วนราชการเท่านั้น แบบของสัญญาให ้เป็น ไปตามที่ คณะกรรมการว่าด ้วยการพัสดุ(กวพ.)
  • 38. วัชรี แสนสิงห์ชัย (2541) ได ้ทาการศึกษาเรื่อง การ บริหารพัสดุของสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษาใน จังหวัดเชียงราย พบว่า การบริหารพัสดุของสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงราย มีการจัดระบบการ บริหารพัสดุ การจัดหา ใช ้วิธีการที่กาหนดไว ้ในระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรีว่าด ้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 โดย คานึงถึงงบประมาณ การแจกจ่ายพัสดุพิจารณาจาก แผนงานและโครงการของสถานศึกษา การควบคุมพัสดุมี การควบคุมจัดหาและมีการควบคุมบัญชีการบารุงรักษาพัสดุ โดยการกาหนดบุคลากรรับผิดชอบ การจาหน่ายพัสดุใช ้ การจาหน่ายโดยการขายมากที่สุด
  • 39. กฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข ้อง 1.ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 2.คู่มือแนวปฏิบัติทางบัญชีตามเกณฑ์คงค ้างสาหรับหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ. 2546 3.หลักการนโยบายบัญชีสาหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 4. กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ข ้อบังคับ คาสั่ง ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน 5. ระเบียบว่าด ้วยการบริหารงบประมาณ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2555 6. หลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ (ฉบับปรับปรุง) 5. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด ้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก ้ไขเพิ่มเติม
  • 40. เอกสารอ้างอิง 1.คู่มือการปฏิบัติงานข ้าราชการครู กระทรวงศึกษาธิการ (2552) 2.คู่มือการปฏิบัติงานการเงินและการบันทึกรายการควบคุมเงินของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นการศึกษาเชียงราย เขต 1 (2553) 3.คู่มือการปฏิบัติงานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กลุ่มบริหารการเงินและสินทรัพย์ กระทรวงศึกษาธิการ(2554) 4.คู่มือการปฏิบัติงานการคลังและสินทรัพย์ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2554)